ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
Advertisements

Inkjet Printer. Inkjet โดย 1. นางสาววิจิตรา ขจร นางสาววิภาพรรณ คิดหมาย นางสาวศรัญญา มิตรเจริญ พันธ์
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
(Information Retrieval : IR)
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
ความหมายและยุคของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การใช้งาน Microsoft Excel
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
BC320 Introduction to Computer Programming
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ 2 รายชื่อสมาชิก
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ประวัติคอมพิวเตอร์    วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์เริ่มจากผลการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคำนวณมาแต่โบราณเริ่มจากเครื่องมือในการคำนวณเครื่องแรกคือ "ลูกคิด"
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ขดลวดพยุงสายยาง.
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
การวางแผนกำลังการผลิต
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ Introduction to Computer

ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ (Computer) หมายถึง เครื่องมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่รับข้อมูล จัดเก็บ และประมวลผลข้อมูลสารสนเทศต่างๆ

ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ รับข้อมูล ประมวลผล แสดงผลลัพธ์ จัดเก็บข้อมูล สื่อสารข้อมูล Process Input Output Storage

ข้อดีของคอมพิวเตอร์ ความเร็ว (Speed) ความเชื่อถือได้ (Reliable) ความถูกต้องแม่นยำ (Accurate) เก็บข้อมูลจำนวนมาก (Store massive mounts of information) ย้ายข้อมูลได้รวดเร็ว (Move information)

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ลูกคิด (Abacus) เป็นเครื่องคำนวณเครื่องแรก ที่มนุษย์ได้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา โดยชาวจีน และยังมีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน มีลักษณะต่างๆ ออกไป ลักษณะลูกคิดของจีน ซึ่งมีตัวนับรางบน สองแถว แท่งเนเปียร์ (Napier's rod) เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วยแท่งไม้ตีเส้นเป็นตารางคำนวณหลาย ๆ แท่ง เอาไว้ใช้สำหรับคำนวณ แต่ละแท่งจะมีตัวเลขเขียนกำกับไว้ เมื่อต้องการผลลัพธ์ก็หยิบแท่งที่ใช้ระบุตัวเลขแต่ละหลักมาอ่านกับแท่งดรรชนี (index) ที่มีตัวเลข 0-9 จะได้คำตอบ

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ไม้บรรทัดคำนวณ (Slide Rule) คิดค้นโดย วิลเลี่ยม ออทเตรด โดยนำอัลกอริทึมของเนเปียร์มาเขียนเป็นสเกลบนแท่งไม้ เพื่อใช้ในการคำนวณ เครื่องคำนวณของปาสคาล (Pascal's Pascaline Calculator) คิดค้นโดยเบลส ปาสคาล ถือว่าเป็นเครื่องคำนวณใช้เฟืองเครื่องแรก

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ เครื่องคำนวณของไลปนิซ (The Leibniz Wheel) คิดค้นโดย กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิช (Gottfried Wilhelm Leibniz) ได้ทำการปรับปรุงเครื่องคำนวณของปาสคาลให้มีประสิทธิภาพดีกว่าเดิม โดยมีการปรับฟันเฟืองใหม่ ให้มีความสามารถคูณและหารได้ (แต่เดิมทำได้เฉพาะการบวกและลบเลขเท่านั้น)

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ เครื่องผลต่างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine) คิดค้นโดย ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage) เป็นเครื่องคำนวณที่มีฟันเฟืองจำนวนมาก และสามารถคำนวณค่าของตารางได้อัตโนมัติ แล้วส่งผลลัพธ์ไปตอกลงบนแป้นพิมพ์

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ เครื่องวิเคราะห์ของแบบเบจ (Babbage's Analytical Engine) ต่อมาได้พัฒนาเครื่องวิเคราะห์ ซึ่งจะประกอบด้วย หน่วยความจำ ซึ่งก็คือ ฟันเฟือง หน่วยคำนวณ ที่สามารถบวกลบคูณหารได้ บัตรปฏิบัติ คล้าย ๆ บัตรเจาะรู้ใช้เป็นตัวเลือก ว่าจะคำนวณอะไร บัตรตัวแปร ใช้เลือกว่าจะใช้ข้อมูลจาก หน่วยความจำใด ส่วนแสดงผล คือ เครื่องพิมพ์ หรือเครื่อง เจาะบัตร บุคคลที่นำแนวคิดของแบบเบจมาสร้างเครื่อง ก็คือ ลูกชายของแบบเบจ ชื่อ เฮนรี่ (Henry) ในปี 1910

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ จากการคำนวณด้วยเครื่องวิเคราะห์นี้มีลักษณะใกล้เคียงกับส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จึงทำให้ ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage) ได้รับการ ยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งคอมพิวเตอร์” Charles Babbage Babbage's Analytical Engine

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ABC เครื่องคำนวณขนาดเล็กที่ใช้หลอดสูญญากาศ ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบดิจิตอลเครื่องแรก จอห์น วินเซนต์ คลิฟฟอร์ด เบอรี

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ Mark I เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ของไอบีเอ็ม โธมัส เจ. วัตสัน

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ENIAC เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก คิดค้นโดย ดร. จอห์น ดับบลิว มอชลี่ (John W. Mauchly) และจอห์น เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (Jonh Presper Eckert)

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (ยุคหลอดสูญญากาศ) ใช้เทคโนโลยีหลอดสูญญากาศ (Vacuum tube technology) ในยุคนี้เริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1951 – 1958 “ตัวเครื่องใหญ่ ใช้กำลังไฟสูง เกิดความร้อนสูง” หลอดสูญญากาศ

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2 (ยุคทรานซิสเตอร์) เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ (Transistors technology) - มีขนาดเล็กกว่าหลอดสูญญากาศ - มีความจำที่สูงกว่า - ไม่เสียเวลาในการวอร์มอัพ - ใช้พลังงานต่ำ ทรานซิสเตอร์

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3 (ยุควงจรรวม) มีการพัฒนาเป็นแผงวงจรรวม (Integrated Circuits : IC) เป็นวงจรไมโครอิเล็กทรอนิกส์ มีขนาดเล็กและบาง น่าเชื่อถือมากกว่าความเร็วสูงขึ้น และทำให้ขนาดของ คอมพิวเตอร์เล็กลง Integrated Circuits : IC

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4 (ยุควีแอลเอสไอ) เป็นยุคของวงจร (Large-Scale Integration: LSI) เป็นวงจรรวมประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์หลายพันวงจรไว้บนแผงซิลิกอนซึ่งเป็นชิปขนาดเล็ก และถูกนำมาใช้เป็นชิปหน่วยความจำ Large-Scale Integration: LSI

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5 (ยุคเครือข่าย) - การพัฒนาวงจรวีแอลเอสไอ มีความต่อเนื่องและรวดเร็ว - สามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ลงบนแผ่นซิลิคอนขนาดเล็ก - คอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว - ยุคนี้จะมีความพยายามในการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์กับงานหลายประเภท

ประเภทของคอมพิวเตอร์     จำแนกออกได้เป็น 5 ชนิด โดยพิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บ ข้อมูล และ ความเร็วในการประมวลผล เป็นหลัก ดังนี้ Super Computer Mainframe Computer Mini Computer Workstation Micro Computer or Personal Computer

ประเภทของคอมพิวเตอร์ 1. Super Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง เหมาะสำหรับการรับและแสดงผลจำนวนมาก ใช้ในงานวิเคราะห์ และคำนวณด้าน วิทยาศาตร์

ประเภทของคอมพิวเตอร์ 2. Mainframe Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ราคาสูง มักอยู่ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์หลักขององค์กร และต้องอยู่ในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเป็นอย่างดี

ประเภทของคอมพิวเตอร์ 3. Mini Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง นิยมใช้ในส่วนของธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น ระบบการจองห้องพักในโรงแรมขนาดใหญ่ การควบคุมเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม

ประเภทของคอมพิวเตอร์ 4. Workstation ลักษณะคล้าย computer PC แต่แตกต่างที่สมรรถนะ Workstation จะประมวลผลเร็วกว่าบางทีถูกเรียกว่า ซุปเปอร์ไมโครคอมพิวเตอร์ งานส่วนใหญ่ใช้เกี่ยวกับตัวเลขทางสถิติระดับสูง งานด้านกราฟฟิก หรือใช้เป็นเครื่อง Server สำหรับเก็บข้อมูล

ประเภทของคอมพิวเตอร์ 5. Micro Computer เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานทั่วๆ ไป จะเรียกว่า“เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล Personal Computer (PC)” ซึ่งเรียกรวมทั้งเครื่อง Desktop, Notebook หรือ Laptop และ PDA

แบบฝึกหัดครั้งที่ 1 1. ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบาย 2. ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็น บิดาของคอมพิวเตอร์ คือใคร เหตุใดจึงได้รับยกย่องเช่นนั้น 3. จงบอกรุ่นของคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันที่นักศึกษารู้จักหรือที่มีจำหน่าย เช่น Notebook, Tablet, PC พร้อมยกตัวอย่าง