การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อ ปี 2558 จังหวัดศรีสะเกษ การดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อ ปี 2558 จังหวัดศรีสะเกษ นางมะลิ สุปัตติ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
ระบบงาน NCD ศรีสะเกษ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และเพื่อน โรคไตในผู้ป่วยเบาหวาน โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ โรคหัวใจในเด็กนักเรียน โรคมะเร็งตับ / ท่อน้ำดี COPD / Asthma
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
เรื่องที่พูดคุย ผลการดำเนินงานปี 2557 ตัวชี้วัด ปี 2558 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2558
ผลการดำเนินงานจังหวัด งบประมาณ 2557 คัดกรองตาม Ranking DM ร้อยละ 83.21 HT ร้อยละ 80.74 ตาม DATA Center DM ร้อยละ 46.14 HT ร้อยละ 46.17
ผลการสุ่มการคัดกรอง DM HT ในประชาชน จังหวัดศรีสะเกษ Ranking รอบที่ 2 ผลงาน (ร้อยละ) DM 86.67 HT 85.15
สรุปปัญหาภาพรวมของประเทศ กลุ่มโรคเอ็นซีดี (NCDs) ปัญหาอันดับหนึ่ง : ร้อยละ 73 (3 ใน 4) ของการเสียชีวิตของคนไทยในปี 2552 (จำนวน 314,340 ราย) สูญเสียทางเศรษฐกิจ 198,152 ล้านบาท (2.2% GDP) หรือ 3,128 บาทต่อหัวประชากร ปี 53-56 อัตราตายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
สรุปสภาพปัญหาที่คงอยู่ที่สำคัญและแนวทางแก้ปัญหา งาน NCD การดำเนินงานคลินิก NCDคุณภาพ ยังขาดความเข้าใจในทิศทาง วางแผน ดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพและติดตามกำกับ โดยเฉพาะระบบการสนับสนุนการจัดการตนเองซึ่งเป็นหัวใจหลักของคลินิก NCD คุณภาพ Capacity Building แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามประเมินผล โดย สคร. การใช้เครื่องมือประเมินและจัดการลดเสี่ยง CVD Risk ยังไม่เกิดเป็นรูปธรรมในบางพื้นที่ ส่งเสริมการใช้ CVD Risk และพัฒนาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเฉพาะกลุ่ม
ปัญหาที่พบในปี 2557 เป้าหมายประชากร ไม่แน่นอน ผลการคัดกรองไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย คัดกรองเสร็จแล้ว ทำอะไร เป้าหมายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่แน่นอน การติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่ครบตามเกณฑ์ ไม่มีข้อมูล
ปัญหาที่พบในปี 2557 การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง ในผู้ป่วย ไม่ครอบคลุม การบันทึกข้อมูลใน Jhcis Himpro ไม่ครอบคลุม
ปี 2558 ทำอะไร ???????
ผู้ที่มีส่วนในการทำงาน NCD ในกระทรวง กรมควบคุมโรค กรมอนามัย กรมการแพทย์ กรมสนับสนุนบริการ องค์การอาหารและยา นอกกระทรวง สปสช. NCD Net สสส
เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
9 เป้าหมาย NCDs สำหรับ ปี 2568 ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80%
ตำบลจัดการสุขภาพ คลินิก NCD คุณภาพ ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 10 % ลดการบริโภคยาสูบ 30 % ลดภาวะความดันโลหิตสูง 25 % ผู้ที่เสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับยาและคำปรึกษา 50% ลดตายก่อนวัยอันควรจากโรค NCDs 25% ยาและเทคโนโลยีที่จำเป็นครอบคลุม 80% ลดการขาดกิจกรรม ทางกาย 10 % ลดการบริโภคเกลือ/โซเดียม 30% ภาวะเบาหวานและอ้วนไม่ให้เพิ่ม สร้างเสริมสุขภาพ และวิถีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ป้องกันการเกิดโรค ในกลุ่มเสี่ยงสูง ป้องกันและชะลอการดำเนินโรค สู่ภาวะแทรกซ้อนและการเป็นซ้ำ ตำบลจัดการสุขภาพ คลินิก NCD คุณภาพ DHS + system manager ระดับจังหวัด/อำเภอ
Approach DHS Individual Population ปกติ 3 อ. 2 ส. เสี่ยง ป่วย WHO 9 เป้าหมาย สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย โครงการสนองน้ำพระราชหฤทัย ปิงปอง 7 สี Approach Individual Population Hospital (คลินิก NCD คุณภาพ) Community (อปท./สถานที่ทำงาน) ปกติ 3 อ. 2 ส. เสี่ยง DPAC ป่วย NCD clinic ป่วย + complication คัดกรอง ตา ไต เท้า CVD risk ass. Information ทะเบียน Registry Pop-Screening (DM,HT) DHS NCD Board/กรรมการ Service plan -------------------------------- HR: System manager/ Case manager --------------------------------- Value Chain บูรณาการทุกกรม
คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน บูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ปีงบประมาณ 2558 ผลลัพธ์ : ลดป่วย ลดตาย จากโรคNCDs โรคจากการประกอบอาชีพ ลดบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน - พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพในสถานบริการสาธารณสุข ทุกระดับ - ระบบสุขภาพอำเภอ--จัดระบบข้อมูลข่าวสาร: 43 แฟ้ม IS - M&E - ตำบลจัดการสุขภาพ/ Healthy workplace - บังคับใช้กฎหมาย 1.ขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ /Healthy Workplace 2 บังคับใช้กฎหมายสุรา-ยาสูบ 3. พัฒนาการดำเนินงานด้านอุบัติเหตุจราจร - สอบสวนอุบัติเหตุ - บูรณาการทุกหน่วยงานในระดับจังหวัด Population Approach Individual Approach 1.การควบคุม DM HT - พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ -มุ่งเน้น Behavior Change 2.พัฒนาการจัดการความเสี่ยง CVD -พัฒนา/เร่งรัดการใช้ CVD Risk assessment -จัดการ Specific group Behavior Change 1.มาตรการ ลดพฤติกรรม/ปัจจัยเสี่ยง ในประชากร 2. มาตรการ พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค มาตรการสนับสนุน คู่มือบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน การพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงาน M&E
คุณลักษณะของตำบลจัดการสุขภาพ กิจกรรมที่ 1 การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ กับการจัดการค่ากลาง กิจกรรมที่ 2 การปรับปรุงแผนงาน/โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล/ชุมชน กิจกรรมที่ 3 การจัดการสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ กิจกรรมที่ 4 การกำหนดมาตรการทางสังคมหรือข้อตกลงร่วม กิจกรรมที่ 5 การเฝ้าระวัง /การคัดกรอง กิจกรรมที่ 6 การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ กิจกรรม ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ 3. การจัดการสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 1. มีสถานที่ออกกำลังกาย/ชมรมออกกำลังกาย /ชมรมผู้สูงอายุ 2. มีศูนย์แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน 3. มีอุปกรณ์ในการติดตามพฤติกรรมสุขภาพตนเอง เช่นเครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องชั่งน้ำหนัก ที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย 4. +/-มีแปลงสาธิตในการปลูกผักปลอดสารพิษ / ส่งเสริมให้มีตลาดผักปลอดสารพิษ 5. ส่งเสริมศาสนกิจในชุมชน (หมู่บ้านศีล5) 6. มีการแก้ไขจุดเสี่ยง/จุดอันตราย/จุดที่เกิดอุบัติเหตุบ่อย 4. การกำหนดมาตรการทางสังคมหรือข้อตกลงร่วม 1. กำหนดข้อตกลงร่วมกันของชุมชน ตำบล ในการลดพฤติกรรมเสี่ยง ลดการบริโภคน้ำปลา เกลือ เครื่องปรุงรสในครัวเรือน ใช้พืช/สมุนไพรแทนเครื่องปรุงรสในครัวเรือน เช่น หญ้าหวาน ผักหวาน ใบย่านางฯ งดเหล้า/ ลดอาหารหวาน มัน เค็ม /งดชากาแฟ ในงานศพและงานบุญ สวมหมวกนิรภัย / เมาไม่ขับ / ไม่ขับรถเร็ว 2. ให้รางวัลบุคคลที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน
ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ กิจกรรม ตัวอย่าง การบูรณาการดำเนินงานในตำบลจัดการสุขภาพ 5. การเฝ้าระวัง /การคัดกรอง 1. มีการเฝ้าระวังด้วยตนเอง : รอบเอว น้ำหนัก อ้วน ความดันโลหิต การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร 2. การเฝ้าระวัง/คัดกรองเชิงรุก การมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย สนับสนุนแกนนำชุมชน อสม.ดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง การตั้งด่านชุมชนในการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนอย่างต่อเนื่องและโดยเฉพาะในช่วงเทศกาล การคัดกรองบุคคลกลุ่มเสี่ยง เช่น กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มที่เมาแล้วขับ อสม. เฝ้าติดตามอย่างต่อเนื่อง 6. การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 1. มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพประชาชนในตำบล : อ้วน บุหรี่ สุรา การออกกำลังกาย อาหาร (หวาน มัน เค็ม) การสวมหมวกนิรภัย เมาแล้วขับ 2. มีการรณรงค์และสื่อสารความรู้สุขภาพ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 3. แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3อ 2ส) โดย จนท. สธ./อสม./ นักจัดการสุขภาพ : การออกกำลังกายรับประทานอาหาร (ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักผลไม้) อารมณ์(ดี) ไม่สูบบุหรี่-ดื่มสุรา การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 4. สนับสนุนระบบพี่เลี้ยง/เพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 5. มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 6. ผลักดันให้มีบุคคลต้นแบบ ชุมชนต้นแบบ 7. มีการติดตามความรับรู้ ความตระหนัก / ความตั้งใจที่จะปรับเปลี่ยน พฺฤติกรรม 8. มีการติดตามพฤติกรรมสุขภาพ/บริโภค: สูบบุหรี่ ดื่มสุรา พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการขับขี่ : การสวมหมวกนิรภัย / เมาไม่ขับ / ขับรถเร็ว
ผู้ป่วยตื่น รู้ ทีมงาน พร้อม รุก 02.2.2 CCM PL.ppt ผู้ป่วยตื่น รู้ ทีมงาน พร้อม รุก Module 3- Intro to ICIC Model
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง KPI กระทรวง กลุ่มวัย ประชาชน อายุ 35 – 59 , 60 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง > 90 DM control > 50 % HT control > 60 % HT DM มีภาวะแทรกซ้อน ส่งต่อ 100 KPI สปสช. (QOF) ด้านที่ 2 DM Admit HT Admit DM ตรวจ Fundus camera อย่างน้อย 1 ครั้ง / ปี HT DM ส่งต่อรับรักษา รพ.สต.
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง KPI กระทรวง ระบบบริการ สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอก DM/HT ได้รับการรักษา รพ.สต > 50 % NCD คุณภาพ > 70 % HT DM มีภาวะแทรกซ้อน ส่งต่อ 100 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ - กลุ่มเสี่ยง HT DM ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม > 50 % KPI MedResNet DM เจาะ Hba1c , Hba1c< 7, LDL , Micro albumin , Fundus camera , ตรวจเท้า , มีแผลที่เท้า HT เจาะ LDL , ค่า Bp < 140/90
การตรวจสุขภาพประชาชน 1. เป้าหมาย ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรอง > 95 % - อายุ 35 – 59 ปี ใช้แบบคัดกรอง - อายุ 60 ปีขึ้นไป เจาะเลือดทุกราย คัดกรองเบาหวาน คัดกรองความดันโลหิตสูง คัดกรอง CVD Risk
การตรวจสุขภาพประชาชน 2. กลุ่มเสี่ยง HT DM ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 100 %
การตรวจสุขภาพประชาชน 3. อัตราป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มเสี่ยง < 5 % 4. อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเสี่ยง < 10 %
การรักษาผู้ป่วย ผู้ป่วย ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน 100 % ผู้ป่วยได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง อย่างน้อย 1 ครั้ง 100 % (เน้น ตา) ผู้ป่วยได้รับการตรวจ Lab ชุด อย่างน้อย 1 ครั้ง/ ปี (Hba1c , LDL , CBC , ฟัน TB ส่งรักษาต่อ รพ.สต. > 50 %
คุณภาพบริการ ค่า Hba1c < 7 % ใน DM > 50 % ค่า LDL < 100 ใน HT DM > 50 % DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ > 50 % HT ควบคุมระดับความดัน ได้ > 60 % Clinic NCD คุณภาพ > 70 %
ตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานปฐมภูมิ ปี 2557 สปสช ตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานปฐมภูมิ ปี 2557 สปสช งบประมาณ เพิ่มเติม งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพ PP …………. บาท /ประชากร
องค์ประกอบตัวชี้วัดคุณภาพ และผลงานปฐมภูมิ 4 ด้าน 1.คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ 2. คุณภาพและผลงานการจัดบริการ 3. คุณภาพและผลงานการพัฒนาองค์กร ระบบส่งต่อ การบริหารระบบ 4. คุณภาพและผลงานการบริการที่จำเป็นตอบสนองต่อปัญหา สุขภาพในพื้นที่
องค์ประกอบตัวชี้วัดคุณภาพ และผลงานปฐมภูมิ 2 ระดับ ตัวชี้วัดกลาง ตัวชี้วัดพื้นที่
ตัวชี้วัดผลงานและคุณภาพปฐมภูมิ 2557 1. ด้านที่ 1 ANCคุณภาพ 12 week CA cervix 400 2. ด้านที่ 2 สัดส่วน OP ปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ , Admit โรคหืด Admit HT DM 300 3. ด้านที่ 3 หมอใกล้บ้านใกล้ใจ , NP/รพ.สต ปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ 200 4. ด้านที่ 4 โรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ 100
เกณฑ์คุณภาพและผลงานการจัดบริการ PP 1. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับ ANC 86I4kr 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแล 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ 3. เด็กพัฒนาการสมวัย 4. เด็ก 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 5. เด็กปฐมวันมีปัญหาฟันผุ 6. อัตราการคลอด แม่อายุ 15-19 7. อายุ 35 ปี คัดกรอง HT DM 8. ผป.ซึมเศร้า เข้าถึงบริการ
เกณฑ์คุณภาพและผลงานการจัดบริการ 1. การตรวจ Hba 1 c อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 2. ค่า Hba 1 c น้อยกว่า 7 3. DM ตรวจ Fundus อย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี 4. ผป. HT ควบคุมระดับความดันได้ < 140/90 เพิ่มขึ้น 5. ผป. HT DM controll ได้ ลงทะเบียนที่ รพ.สต.เทียบกับ รพ.ตัดออก 6. ผป. HT DM controll ได้ ลงทะเบียนที่ รพ.สต. เพิ่มขึ้น
แนวทางการจัดการวัดผลงาน ใช้ผลงาน 4 ไตรมาส - ............................. 2. ใช้ข้อมูลที่มีเป็นหลัก 43 แฟ้ม op-ind
ปี 2558 ทำอะไร การตรวจสุขภาพประชาชน การพัฒนาคลินิกบริการ การดำเนินงานชุมชนลดเสี่ยงลดโรค การลดแออัดในสถานบริการ
การตรวจสุขภาพ 1. เป้าหมาย – ปชช อายุ 35 ปีขึ้น (สถานะ 1,3) - ผู้ประกันตน - พระภิกษุ สามเณร แบบคัดกรองโรคเบาหวาน ความดัน ตาม Jhcis จำแนก ปิงปอง 7 สี คัดกรอง CVD Risk ตาม colour chart
การตรวจสุขภาพ 3. การบันทึกข้อมูล - Jhcis หน้าจอ NCD Screen - Himpro 4. ระยะเวลา (คัด+ กรอก) ภายใน ไตรมาส 2 1 ตุลาคม 2557 - 31 มีนาคม 2558
ขั้นตอนการคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงโรค HT> 35 ปีขึ้นไป
ขั้นตอนการคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงโรค DM 35 ปีขึ้นไป
การคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงโรค CVD Risk > 35 ปีขึ้นไป
การพัฒนาคลินิกบริการ NCD คุณภาพ การรักษา ตามมาตรฐาน การคัดกรอง ตา ไต เท้า หลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง การตรวจ Lab (Hba 1 c) ( ไตรมาส 3 , 4 ปี 2557 , ไตรมาส 1-2 ปี 2558)
ชุมชนลดเสี่ยงลดโรค เพิ่มเติม 1 หมู่ ชุมชน ในปี 54 55 56 57 58 สรุปผล พัฒนาเป็นหมู่บ้านต้นแบบ รพ.สต.ละ 1 หมู่
การลดแออัด 1. HT DM Control ส่งลง รพ.สต. 2. รพสต. ขึ้นทะเบียนใน Jhcis 3. รักษาตามมาตรฐาน 4. คัดกรองภาวะแทรกซ้อน 5. เยี่ยมบ้าน
การประเมิน NCD คุณภาพ
เป้าหมายการประเมิน NCD คุณภาพ ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 รพ.ศรีสะเกษ รพ.ไพรบึง บึงบูรพ์ รพ.กันทรารมย์ รพ.ยางชุมน้อย ภูสิงห์ รพ.กันทรลักษ์ ขุนหาญ รพ.ขุขันธ์ น้ำเกลี้ยง รพ.ราษีไศล วังหิน รพ. อุทุมพรพิสัย รพ.โพธิ์ศรีสุวรรณ รพ. โนนคูณ รพ.ศิลาลาด รพ.ห้วยทับทัน รพ.พยุห์
ผลการประเมิน ปี 2557 ศรีสะเกษ จำนวน 8 แห่ง ศรีสะเกษ จำนวน 8 แห่ง ผ่านเกณฑ์ ระดับ ดีมาก 8 แห่ง ระดับเขต ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก 14 แห่ง (ศรีสะเกษ 8 แห่ง)
เกณฑ์การประเมิน NCD คุณภาพ ทิศทาง นโยบาย มีระบบสารสนเทศ มีการปรับระบบและกระบวนการบริการ มีระบบสนับสนุนการจัดการตนเอง มีระบบการสนับสนุนการตัดสินใจ การจัดบริการเชื่อมโยง ชุมชน
CKD Clinic
การป้องกันไตวายในผู้ป่วย HT DM การจัดตั้ง CKD Clinic ในโรงพยาบาล การพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงาน
โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป้าหมาย - ผู้ป่วย HT DM - ประชาชน 40 ปี Stroke alert เป้าหมาย - ผู้ป่วย HT DM - ประชาชน 40 ปี
Stroke alert 2. พูดลำบาก พูดไม่ได้ ไม่เข้าใจคำพูด 1. มีอาการชาหรืออ่อนแรงแขนขาข้างใดข้างหนึ่ง 2. พูดลำบาก พูดไม่ได้ ไม่เข้าใจคำพูด 3. มีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง โดยไม่มีสาเหตุชัดเจน 4. มีอาการมึนงงหรือเดินไม่มั่นคงเสียศูนย์ 5.ตามองเห็นภาพซ้อน หรือมืดมัวข้างใดข้างหนึ่ง ทันที
โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ส่ง รพ.ทันที
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ KPI คัดกรองประชาชน 35 ปี > 90 % กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อ 100 % บันทึกข้อมูลลง Jhcis Hosxp Himpro 100 %
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ เป้าหมาย ประชาชน 35 ปี ขึ้นไป วิธีการคัดกรอง - แบบสัมภาษณ์ บูรณาการกับ คัดกรอง HT DM - พบกลุ่มเสี่ยง ตรวจ Urine Strip - + 10 ขึ้นไป ส่ง รพช. - รพช. ดำเนินการ ตรวจ Bun Cr Ultrasound - ผิดปกติ ส่ง รพ.ศก. (นำ Bun Cr Ultrasound มาด้วย)
แบบสัมภาษณ์ มี 4 ข้อ ใช่ ไม่ใช่ อาการ 1. อาการปวดแสบปวดร้อนในขณะถ่ายปัสสาวะ 2. อยากปัสสาวะบ่อย ๆ แต่มักจะปัสสาวะไม่ออก 3. ปัสสาวะมีกลิ่นฉุน สีขุ่น อาจมีเลือดหรือหนองปน 4. มีอาการเจ็บเมื่อกดตรงบริเวณหัวเหน่า
การคัดกรองโรคหัวใจในเด็กนักเรียน เป้าหมาย- นักเรียน ป. 1 ปีการศึกษา 2557 100 % วิธีการ 1. แบบสัมภาษณ์ 13 ข้อ 2. กลุ่มเสี่ยง ส่งต่อ รพ.ไพรบึง 3. รพ. นัดพบแพทย์ ตรวจ เพิ่มเติม (EKG) 4. กลุ่มสงสัยป่วย ส่ง รพ.ศก
มะเร็งตับ / มะเร็งท่อน้ำดี KPI กระทรวง - อัตราตายไม่เกิน 24 / แสนประชากร KPI สปสช. QOF การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 100 % ( 50 คะแนน) ร้อยละของผู้ที่มีผลการคัดกรองผิดปกติ (CHCA) ได้รับการรักษา 100 % ( 50 คะแนน)
กลุ่มเสี่ยง กลุ่มประชาชนทั่วไป มีเกณฑ์ดังนี้คือ กลุ่มประชาชนทั่วไป มีเกณฑ์ดังนี้คือ 1. ประชาชนอายุ 40 ปีขึ้นไปและเคยตรวจพบพยาธิใบไม้ตับ 2. บุคคลในครอบครัวที่มีประวัติเสียชีวิตด้วยมะเร็งตับ/มะเร็งท่อน้ำดี โดยนับสายตรง 3 ชั้น ได้แก่ พ่อ แม่ พี่ น้อง ลูก ของผู้เสียชีวิต และบุคคลนั้นต้องมีอายุ 40 ปีขึ้นไป และอาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่น้อยกว่า 20 ปี (ให้สำรวจในกลุ่มผู้เสียชีวิตย้อนหลัง 3 ปี) 3. เป็น Case Hepatitis B โดยเป็นมาไม่ตำกว่า 10 ปี และมีอายุ 30 ปีขึ้นไป 4. หมายถึง เป็นบุคคลอายุ 40 ปีขึ้นไป ที่มารดามีประวัติ Hepatitis B 5. เป็นผู้ป่วยกลุ่ม Alcoholic หรือ Cherosis และมีอายุ 40 ปีขึ้นไป 6. หมายถึง เป็นผู้ป่วยกลุ่ม Chronic Active Hepatitis B และมีอายุ 40 ปีขึ้นไป 7. กลุ่มเสี่ยง ที่ได้รับการตรวจอัลตร้าซาวด์ในปีที่ผ่านมา ผลการตรวจ PPF1 , PPF2 , Liver mass , Dilated Duct
แนวทาง ปี 2558 คัดกรอง Liver mass Dilated Duct รพ. มะเร็งอุบลราชธานี Ultrasound รพช. เฝ้าระวังทุก 6 เดือน PPF รพ.ศรีสะเกษ รพ. มะเร็งอุบลราชธานี Gall stone Liver mass Dilated Duct
ปัญหาอุปสรรค การตรวจอัลตราซาวด์ (แพทย์ , เครื่องอัลตร้าซาวด์) 2. เป้าหมาย ไม่แน่นอน 3. การส่งต่อกลุ่มเสี่ยง 4. การส่งต่อกลุ่มสงสัย 5. การยินยอมเข้ารับการรักษาของผู้ป่วย 6. การส่งรายงาน
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD/Asthma) KPI (service plan) อัตราตายรวมของ Pt copd admit < 4 % อัตรา admit copd < 130/แสน Re admit ใน 28 วัน PT copd < 10 % PT copd ที่ยังสูบบุหรี่ เลิกสูบ > 80 % KPI (QOF) - อัตราการรับเข้ารักษาจากโรคหืด < 8 %
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD/Asthma) KPI (service plan) ด้านกระบวนการ มี Copd Clinic 100 % มีคลินิกอดบุหรี่ 100 % การพัฒนาระบบบริการ - การส่งต่อ PT Copd ลดลงจากปีที่ผ่านมา > 20 % KPI (QOF)
ปัญหาอุปสรรค ผู้รับผิดชอบ ใน รพ. มีหรือยัง ผู้รับผิดชอบ ใน รพ. มีหรือยัง คลินิก One stop service????? การ Diag Rx สูตรยา Spirometer เครื่อง พยาบาลดูแล Re - habitation การลงข้อมูล (อีก 7 โรงพยาบาล ปก. หทท. ภส. บล. พย. พศ. ศลล.) การส่งข้อมูล
ขอให้ มีความสุข ในการทำงาน ขอบคุณคะ