การบริหารการเปลี่ยนแปลง โดย ดร.สุเมธ แสงนิ่มนวล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

Information Technology For Management 6th Edition
วิชา การตลาดระหว่างประเทศ
กระบวนการศึกษาและพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
Effecting Successful change management initiatives
Strategic management Business Concept Business Model
How do scientists think and find( พบ ) answers?.
Thai youth in Agriculture Sector Situation: The average age of farmers in Thailand who is also living in agriculture increased. Agricultural sector is.
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Practice File. Our Executive Coaching Program is proven effective. Our customer survey show ROI of coaching can be as high as 3 times the investment value.
ผลการดำเนินงาน PM 18 การบริหารจัดการโครงการ คณะกรรมการสุขศึกษาและ ประชาสัมพันธ์ ปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 9 กันยายน 2558.
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 1 การพัฒนาภาวะผู้นำ กับการบริหารการเปลี่ยนแปลง อนุชิต ฮุนสวัสดิกุล สำนักงาน ก.พ.ร.
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
ความขัดแย้ง-การเปลี่ยนแปลง- การสร้างทีมงาน และภาวะผู้นำของผู้บริหาร : กรอบคิดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ รองศาสตราจารย์ ดร.ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์ ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา.
Knowledge Audit and Analysis
การเตรียมพร้อมทรัพยากรมนุษย์สู่ไทยแลนด์ 4.0
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
Road to the Future - Future is Now
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
Vision, Mission, Research Fields & Course Guidelines
@ North South Initiative
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
Direct Speech Vs Indirect Speech
Student activity To develop in to the world community
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการตอบคำถาม/ค่าคะแนน แบบสำรวจเชิงประจักษ์ ( Evidence-based – ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ วันพุธที่
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
การบริหารการเปลี่ยนแปลงและการปิดโครงการ
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รอบสามประเมินกลุ่มตัวบ่งชี้ที่ 1-5)
กลยุทธ์ด้านทรัพยากรมนุษย์และการฝึกอบรม
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
1. Establish Sense of Urgency สร้างความตระหนัก
อัตถิภาวนิยม existentialism J.K. Stevens, instructor
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
ที่มาและหน่วยงานกาชาดต่างๆ
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
การมีส่วนร่วมและขจัดความขัดแย้งในการทำงาน
แนวคิดจิตสาธารณะในมิติเยาวชน
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
แล้วไงเกี่ยวกับความจริง What About Truth?
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
บริษัทแพสคอนส์ได้จัดหลักสูตรอบรมสัมมนา Strategic Thinking for the Leaders ในวัน ศุกร์ ที่ 19 มิถุนายน 2558 ที่ โรงแรมลันตานา รีสอร์ท รัชดา เวลาสัมมนา.
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
นโยบายการศึกษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21 เมษายน 2559.
Soroptimist International
สารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น
TQS : Total Quality Service การบริการคุณภาพทั่วองค์การ
รูปภาพประกอบเกี่ยวกับ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารการเปลี่ยนแปลง โดย ดร.สุเมธ แสงนิ่มนวล Change Management โดย ดร.สุเมธ แสงนิ่มนวล

การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management

ประเด็นการบรรยาย 1. การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง 2. การเปลี่ยนแปลงของการบริหาร 3. ผู้นำยุคใหม่กับการเปลี่ยนแปลง 4. การบริหารการเปลี่ยนแปลง

ประเด็นการบรรยาย 1. การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง

1. การเปลี่ยนแปลง (Change) 3 สิ่งที่ไม่เปลี่ยนแปลง 1. การเปลี่ยนแปลง (Change) 2. หลักการ (Principles) 3. สิ่งที่เราเลือก (Choice)

จากนิตยสาร The Futurist นักอนาคตศาสตร์ได้คาดการณ์ไว้เกี่ยวกับ “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี รูปแบบการดำรงชีวิตที่อาจเปลี่ยนแปลงไปในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า”

จะไม่มีความเหลื่อมล้ำทางวัฒนธรรม ภาษา และการศึกษา เพราะ Smartphone ทำให้คนรุ่นใหม่ในปี ค.ศ.2020 สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้จากทั่วโลกอย่างทั่วถึง

2. ระบบการศึกษาในปัจจุบันจะเปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีจะลบล้างระบบการศึกษาที่แบ่งกลุ่มนักเรียนตามอายุ เปลี่ยนมาเป็น การเลื่อนระดับชั้นเรียนจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการเรียนรู้ เด็กจะค้นพบและเลือกสาขาความเชี่ยวชาญได้เร็วขึ้น

3. รูปแบบของสหภาพยุโรป ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจและการค้าในประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป จะแตกต่างไป ข้อจำกัดต่างๆ จะถูกทำลายลง มีการปกครองแบบรัฐบาลเดียว พูดภาษาเดียวกัน สหภาพยุโรป กลายเป็น “สหรัฐยุโรป (United Europe)”

4. ในปี ค.ศ.2030 งานกว่า 2 พันล้านตำแหน่งจะหายสาบสูญไป เทคโนโลยีที่เป็นปัจจัยสำคัญ คือ เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต หุ่นยนต์ การพิมพ์ 3 มิติ การจัดแต่งพันธุกรรม ฯลฯ

5. ในปี ค.ศ.2030 ร้านค้า ห้างร้านต่างๆ จะไม่ใช่ในรูปแบบที่เรารู้จักอีกต่อไป ผู้บริโภคจะใช้ Internet ในการศึกษาคุณสมบัติและราคาของสินค้า ไปห้างร้านเพื่อทดลองใช้ผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีเพียงหุ่นยนต์คอยให้บริการ และจะสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์

6. ในปี ค.ศ.2030 เทคโนโลยีจะทำให้การตรวจวินิจฉัยโรคบางอย่างสามารถทำได้เองที่บ้านของคุณ ด้วย Smartphone และ เทคโนโลยี Cloud Computing สามารถตรวจระดับน้ำตาล ระดับออกซิเจน ระดับการเต้นของหัวใจได้ ฯลฯ หุ่นยนต์เข้ามาแทนที่แพทย์ผ่าตัด จำนวนแพทย์จะน้อยลง

7. หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และเอกสารต่างๆที่พิมพ์ลงบนกระดาษจะหายไป ทุกอย่างจะอยู่ในรูปแบบดิจิตอล โรงพิมพ์จำนวนมากจะต้องปิดตัวลง หนังสืออาจไม่หายสาบสูญ แต่ต่อไปจะเป็นหนังสือที่พิมพ์โดย Self-Publishing

8. ประสบการณ์แบบดั้งเดิมของมนุษย์จะเปลี่ยนแปลงไป และในอนาคตจะไม่มีคำว่า “ข้อมูลส่วนบุคคล” ข้อมูลส่วนบุคคลของเราทุกอย่างจะถูกบันทึก และบุคคลอื่นๆ จะสามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ได้ “การรอคอย” จะเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย เพราะสามารถทำทุกอย่างได้ทันทีผ่านระบบคอมพิวเตอร์ อาจไม่มีคำว่า “หลงทาง” เพราะเทคโนโลยีจะคอยบอกตำแหน่งของเราและแนะนำเส้นทางได้ตลอดเวลา

9. เทคโนโลยีมีอายุสั้น Smartphone จะกลายเป็นเทคโนโลยีล้าสมัย ยุคต่อไปจะเป็นเทคโนโลยีที่สวมใส่ได้ เช่น Google Glasses ฯลฯ

10. “ความไม่ปลอดภัย” จะไม่มี ต่อไปเราจะไม่มีอุบัติเหตุบนถนน เพราะยานพาหนะจะสื่อสารกันได้ การโจรกรรมจะสิ้นสุด เพราะของมีค่าจะถูกติดตั้งเครื่องมือติดตามตัว

หลักการ Principle เป็นสากล Universal ไม่เปลี่ยนตามกาลเวลา Timeless อยู่ภายนอกตัวเรา Objective external ทำงานอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าเราจะเข้าใจ หรือเห็นคุณค่าของมันหรือไม่ At work whether or not we understand or value them

วิชาชีพอะไรที่น่าเรียนในอนาคต การบริหารจัดการข้อมูล Big Data Analytics

Big Data คือ การที่ข้อมูลมีปริมาณที่เยอะมากๆ เยอะแค่ไหน ก็ขนาดมากกว่า Tera Byte (TB) Tera Byte (TB) คือ หน่วยวัดขนาดของข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 1 TB = 1,000,000,000,000 ไบต์

Analytics คือ เครื่องมือที่ใช้ในการที่นำข้อมูลจำนวนมหาศาล มาทำการจัดการวิเคราะห์เชิงลึกเพื่อนำไปใช้ในงานต่างๆ

Big Data คือสิ่งที่ใช้พูดถึง ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูล ความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูล ความสามารถในการใช้งานข้อมูล

คุณสมบัติของ Big Data มี 3 คุณสมบัติ ที่เรียก 3v คือ Volume ข้อมูลมีจำนวนมาก Velocity ข้อมูลมีขนาดเพิ่มขึ้น Variety ข้อมูลมีหลากหลาย

Big Data ไม่ใช่เพียงแค่เรื่องจำนวนเท่านั้น แต่หมายถึงกระบวนการคิด วิเคราะห์ เพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ Big Data = Big Thinking

ปัญหายังคงมีอยู่ “If you want to find a new land don’t use the old map !!” ถ้าคุณต้องการค้นพบแผ่นดินใหม่ อย่าใช้แผนที่เก่า

ประเด็นการบรรยาย 1. การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง 2. การเปลี่ยนแปลงของการบริหาร

แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในภาพรวม โลกาภิวัตน์ ผิดธรรมดา แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในภาพรวม

๑. สังคมเปลี่ยนจากอุตสาหกรรมเป็นสารสนเทศ “โลกไร้พรมแดน” ๒. “High/Tect Touch” ธุรกิจใช้เทคโนโลยีระดับสูง ๓. เศรษฐกิจเปลี่ยนจากระดับชาติ/ท้องถิ่น เป็นระดับโลก

๔. การวางแผนและแนวคิดต่างๆ จะเน้นระยะยาว ๕. จะมีการกระจายอำนาจไประดับล่าง เพื่อการตัดสินใจเร็วขึ้น ๖. ธุรกิจจะช่วยเหลือตัวเองมากขึ้น มากกว่าให้รัฐช่วย

๗. การมีส่วนร่วมทางการเมืองใช้แนวทางประชาธิปไตยแบบที่ประชาชนมีส่วนร่วมมากกว่าแบบผู้แทน ๘. การจัดรูปแบบโครงสร้างองค์กรเป็น Net Work มากกว่าเรียงตามลำดับขั้น

๙. การเคลื่อนย้ายกิจกรรมเศรษฐกิจและประชากรมักมุ่งจากเหนือลงใต้ ๑๐. มีทางเลือกมากมายหลายแนวทางเพื่อการพิจารณาดำเนินการ

๑. เทคโนโลยีสมัยใหม่ จาก “ต้นทุน” กลายเป็น “ความจำเป็น” ๒. การบริหารแบบ “ลดต้นทุน” เปลี่ยนเป็น เน้น “คุณภาพ” ความใหม่ ๓. รูปแบบเน้น “กระบวนการ” เปลี่ยนเป็นเน้น “กลยุทธ์”

๔. บริหารแบบ “ไม่อยากเสี่ยง” เปลี่ยนเป็น “พร้อมจะเสี่ยง” ๕. ผู้บริหาร “ริเริ่ม” เปลี่ยนเป็น ผู้ปฏิบัติ ยอมรับ คือ “ริเริ่ม” เอง ๖. การวางแผนจากเป็น “ระยะ” เปลี่ยนเป็น “ต่อเนื่อง”ตามสถานการณ์

๗. ให้รางวัลตามหลัก “อาวุโส” เปลี่ยนเป็น “ความรู้ความสามารถ” ๘. บริหารโดยใช้ “ข้อมูล”เพิ่มเติมขึ้น เปลี่ยนเป็น “แยกแยะข้อมูล”สะดวกใช้

๙. เดิมใช้ “เทคโนโลยี” ใหม่ๆ เปลี่ยนปรับสอดคล้องรูปแบบบริหาร ๑๐. คอมพิวเตอร์ใช้จัดเก็บข้อมูลเฉพาะ เปลี่ยนเป็นใช้ข้อมูลร่วมกัน

st Leadership for the 21 Century Trust Confidence

Trust ความเชื่อถือ ความไว้วางใจ ความมั่นใจ ความหวัง สิ่งที่ไว้ใจได้ บุคคลที่ไว้ใจได้ บริษัทใหญ่ที่รวมบริษัทเล็กๆเข้าไว้ ความรับผิดชอบ เกี่ยวกับสินเชื่อ

Confidence ความเชื่อถือ ความมั่นใจ ความเชื่อมั่นในตัวเอง ความกล้าได้กล้าเสีย ความเป็นเพื่อนที่ไว้ใจได้ ความไว้เนื้อเชื่อใจ

Trust st Leadership for the 21 Century Confidence ความเชื่อใจ ความเชื่อมั่น

ทำอย่างไร ให้คนเชื่อใจ (Trust) 1. ซื่อสัตย์ สุจริต 2. โปร่งใส ตรวจสอบได้ 3. มีความจริงใจ 4. รักษาคำพูด 5. มีคุณธรรมจริยธรรม

ทำอย่างไร ให้คนเชื่อมั่น (Confidence) 1. มีผลงานเชิงประจักษ์ 2. มีความรู้ความสามารถ 3. เป็นแบบอย่างที่ดี 4. มีความตรงไปตรงมา 5. กล้าเผชิญความจริง

Trust เชื่อใจ Confidence เชื่อมั่น ความไว้วางใจ Trust ; Confide have confidence in

Trust เชื่อใจ Confidence เชื่อมั่น ความไว้วางใจ ความโปร่งใส ความรับผิดชอบ

ความโปร่งใส Transparency คือ การเปิดเผย อธิบายได้ หรือ ความซื่อสัตย์ Transparency มาจากคำว่า Trans ภาษาละติน แปลว่า “ข้าม” หรือ มองเห็นได้ องค์กร Transparency International Transparency คือ ภาษาการทูตของ “การทุจริต”

ความรับผิดชอบ Responsibility หมายถึง ภาระ หรือ หน้าที่ ที่รับผิดชอบ สำนึกรับผิดชอบ Accountability หมายถึง บุคคลที่มีหน้าที่รับผิดชอบผลของ การปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเกิดจากการลงมือทำ ของตนเองหรือของผู้อื่นก็ตาม

ประเด็นการบรรยาย 1. การเปลี่ยนแปลงของโลกสู่ยุคใหม่ 2. การเปลี่ยนแปลงของการบริหาร 3. ผู้นำยุคใหม่กับการเปลี่ยนแปลง

ผู้นำยุคใหม่ ผู้นำทันสมัย ผู้นำการเปลี่ยนแปลง Change Agent ผู้นำยุคใหม่ ผู้นำทันสมัย Modern Leader

ผู้นำทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เพราะนั่นเป็นภารกิจ อันดับแรก ผู้นำทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เพราะนั่นเป็นภารกิจ อันดับแรก

คนที่ขาด Sense of Urgency คือ คนที่ผัดวันประกันพรุ่ง เช้าชามเย็นชาม หลังยาว เฉื่อย ประมาท ทะนง อวดดี ผยอง หลงตน ฟุ้งเฟ้อ ฯลฯ การขาด Sense of Urgency เป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้การเปลี่ยนแปลงในองค์กรล้มเหลว

สำนึกแห่งความกระตือรือร้น ในการลงมือปฏิบัติ “เดี๋ยวนี้” จะสร้าง Sense of Urgency ได้อย่างไร? สำนึกแห่งความกระตือรือร้น ในการลงมือปฏิบัติ “เดี๋ยวนี้”

1. สร้างผู้นำที่คึกคัก พลังผู้นำ จุดประกายวัฒนธรรมแห่ง Urgency “หัวส่าย หางกระดิก”

2. หาจุดแข็งของตัวเอง เวลาทำสิ่งที่ชอบและถนัด เพราะจะมีพลังเป็นพิเศษ

3. ลงมือทำ โดยไม่สนใจเสียงสะท้อนจากคนรอบข้าง ไม่หวั่นไหว คำติชม

4. หากอยากทำอะไรให้ลงมือทำ เพราะ “ขอโทษ” ง่ายกว่า “ขออนุญาต” 4. หากอยากทำอะไรให้ลงมือทำ เพราะ “ขอโทษ” ง่ายกว่า “ขออนุญาต” “It’s easier to ask for forgiveness than to ask for permission”

ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ในโลกไร้พรมแดน ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้นำยุคใหม่ ต้องอาศัยการเรียนรู้ ตามให้ทัน และปรับตัว ให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นให้ได้

กล้าทำ กล้าคิด กล้านำ กล้าเปลี่ยนแปลง

แนวทางพัฒนาสู่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง 9 ประการ

๑. เปิดใจยอมรับความเปลี่ยนแปลง ๒. เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เป็นช่องติดต่อสื่อสารกับโลกภายนอก ๓. มีความสามารถสื่อสารภาษาสากล ๔. ปรับเปลี่ยนองค์กรให้ทันต่อสถานการณ์ ผ่านกระบวนการสั่งการที่รวดเร็ว

๖. ศึกษากฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่สังคมกำหนด ๕. สร้างความมีส่วนร่วมและมุมมองใหม่ให้กับผู้ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา ๖. ศึกษากฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่สังคมกำหนด ๗. ให้ความสำคัญกับระบบธรรมาภิบาล

๘. ตอบแทนสังคมในรูปแบบต่างๆ ๙. เปลี่ยนวิธีคิด ปรับวิธีการทำงาน คิดบวก คิดริเริ่ม คิดใหญ่ คิดสร้างสรรค์

ทักษะนักบริหาร ศตวรรษที่ 21 4 ประการ

ทักษะนักบริหาร ศตวรรษที่ 21 ๑. เป็นคนแบบทำอะไรได้หลายอย่าง Multi Functional

ทักษะนักบริหาร ศตวรรษที่ 21 ๒. มีความสามารถนำเสนอ เทคนิคการนำเสนอ Presentation Technique

ทักษะนักบริหาร ศตวรรษที่ 21 ๓. มีความสามารถใช้คอมพิวเตอร์ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Technology and Communication

ทักษะนักบริหาร ศตวรรษที่ 21 ๔. มีความสามารถใช้ภาษาอังกฤษ

ประเด็นการบรรยาย 1. การเปลี่ยนแปลงของโลกสู่ยุคใหม่ 2. การเปลี่ยนแปลงของการบริหาร 3. ผู้นำยุคใหม่กับการเปลี่ยนแปลง 4. การบริหารการเปลี่ยนแปลง

การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)

เหตุผลที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง องค์การมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง องค์การมีการเพิ่มบทบาทหน้าที่และบริการใหม่ เปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี 4. องค์การมีการเปลี่ยนผู้นำคนใหม่

ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การ ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การ โครงสร้างองค์การ ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การ บุคลากร วัฒนธรรม กระบวน การทำงาน

ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลง ผู้อุปถัมภ์การเปลี่ยนแปลง (Change Sponsor) ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง (Change Advocate) ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ผู้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลง (Change Target)

ผู้อุปถัมภ์การเปลี่ยนแปลง (Change Sponsor) หมายถึง ผู้มีอำนาจในการอนุมัติให้มีการเปลี่ยนแปลงนี้

ผู้สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง (Change Advocate) หมายถึง ผู้ที่ให้การสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรมด้วยการสื่อสารความสำคัญและเนื้อหาของการเปลี่ยนแปลงนั้นไปยังส่วนต่างๆ ขององค์การ

ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) หมายถึง ผู้ที่วางแผนและทำให้การเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้น เป็นผู้มีบทบาทดำเนินการเปลี่ยนแปลงให้เป็นผลสำเร็จ

ผู้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลง (Change Target) หมายถึง ผู้ที่ต้องถูกเปลี่ยนแปลงอะไรบางอย่างในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ เช่น เปลี่ยนตำแหน่งงาน หน้าที่รับผิดชอบ กระบวนการทำงาน หรือทัศนคติในการทำงาน

แนวทางสู่การปฏิบัติ 1.การเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง 2. การวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ

1. การเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง

การเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลง หมายถึง การจัดเตรียมคนและโครงสร้างองค์การให้พร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลง และมีการวางแผนให้การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นเป็นที่ยอมรับ และได้รับความร่วมมือจากสมาชิกขององค์การ

ลักษณะขององค์การที่มีความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลง มีผู้นำที่มีความสามารถ และได้รับการยอมรับ มีความต้องการให้เกิดการเปลี่ยนแปลง มีโครงสร้างการบริหารที่ไม่เป็นหลายระดับชั้น

2. การวางแผนการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบ

กระบวนการวางแผนการเปลี่ยนแปลง 5 ขั้นตอน 1 2 3 4 5 การสร้างทีมเจ้าภาพ การพัฒนา วิสัยทัศน์ การเปลี่ยน แปลง การวางแผน และ กำหนด ตัวชี้วัด การพัฒนา โครงสร้างที่ สนับสนุน การเปลี่ยน แปลง ดำเนินการ และหยั่ง รากการเปลี่ยนแปลง

1 ทีมเจ้าภาพ หมายถึง ทีมงานที่จะเป็นผู้รับผิดชอบในการวางแผนดำเนินการตามกิจกรรมต่างๆ ให้ได้ผลตามเป้าหมายที่วางไว้ การสร้างทีมเจ้าภาพ

ทีมเจ้าภาพประกอบด้วย ผู้อุปถัมภ์การเปลี่ยนแปลง (Change Sponsor) ผู้นำในการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) สมาชิกของทีมเจ้าภาพ

วิสัยทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง 2 วิสัยทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง หมายถึง สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงนี้ เป็นภาพในอนาคตที่ต้องการเห็นเมื่อการเปลี่ยนแปลงนี้สิ้นสุด การพัฒนาวิสัยทัศน์ ของการเปลี่ยนแปลง

วิสัยทัศน์ที่ดี จะต้องสามารถสร้างแรงบันดาลใจและแรงกระตุ้น และจะต้องสามารถตีความหมายโดยผู้บริหารและบุคลากร เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดผลจริง

คำถามที่ใช้ในการพัฒนาวิสัยทัศน์ ของการเปลี่ยนแปลง “ทำไมต้องมีการเปลี่ยนแปลง?” “เปลี่ยนแปลงไปเพื่ออะไร?” “ภายหลังการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการเห็นคืออะไร?”

3 การวางแผนและกำหนดตัวชี้วัด ขั้นตอนนี้ เป็นการกำหนดว่าต้องมีกิจกรรม งาน หรือการเปลี่ยนแปลงใดบ้างที่ต้องทำเพื่อให้วิสัยทัศน์นั้นเป็นจริง

การวางแผน เป็นการกำหนดว่าสำหรับงานๆหนึ่ง (Change Initiative) มีสิ่งใดบ้างที่จะต้องทำ และทำเมื่อใด ทำอย่างไร?

การกำหนดตัวชี้วัดผลการทำงาน การวัดผลสำเร็จหรือระดับความก้าวหน้าของงาน จะช่วยให้ผู้รับผิดชอบสามารถกำหนดความคืบหน้า และติดตามความก้าวหน้าของงานได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น

4 หมายถึง การพัฒนาบุคลากร ระบบการให้รางวัล และการทำงานเป็นทีมที่จำเป็นและเอื้อต่อการดำเนินการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาโครงสร้างที่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง

ถ้าอยากเห็นการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน องค์การต้องให้การสนับสนุนในเรื่องการพัฒนาบุคลากร ระบบจูงใจ และส่งเสริมการทำงานเป็นทีม

เป็นขั้นตอนในการดำเนินการตามแผนที่ได้วางไว้ 5 เป็นขั้นตอนในการดำเนินการตามแผนที่ได้วางไว้ ดำเนินการและหยั่งรากการเปลี่ยน แปลง

สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึง เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผลและราบรื่น 1. สื่อสารอย่างต่อเนื่อง 2. ลดแรงต่อต้าน สร้างแรงสนับสนุน 3. ฉลองชัยชนะระหว่างทาง 4. สร้างความสำเร็จที่เกิดขึ้นให้ยั่งยืน ด้วยการใช้นโยบาย ระบบ และโครงสร้างขององค์กร

การบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง การมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง Manage Change การมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง Lead Change

การบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง หมายถึง การที่คนในองค์กรมีความพร้อม ความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึงและสามารถปรับบทบาทหน้าที่ของตนเองได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวประสบอุปสรรคน้อยที่สุด

การเปลี่ยนแปลงมาถึง --> คนเข้าใจและพร้อมปรับตามสิ่งที่เปลี่ยนไป Change Comes First, Then People

Leaders Comes First, Then Change การมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง หมายถึง การที่คนในองค์กรเกิดภาวะผู้นำ ว่าตนสามารถเป็นแหล่งของความเปลี่ยนแปลงที่มีคุณค่าและลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ ทันที โดยไม่รอ “พรุ่งนี้” Leaders Comes First, Then Change

วิธีวัดว่าองค์กรเป็น องค์กรแห่งผู้นำการเปลี่ยนแปลงแล้วหรือยัง ให้ตอบคำถาม “ใช่”หรือ “ไม่ใช่” ๑. โดยรวม การเปลี่ยนแปลงในองค์กรของเรามักจะมาจากนโยบายของผู้บริหารระดับสูงเป็นหลัก ใช่หรือไม่? ๒. แม้พวกเรามีความเข้าใจและมีทักษะการปรับตัวได้ค่อนข้างดี แต่คนของเราก็ยังรอให้การเปลี่ยนแปลงมาถึงตัวก่อน จึงหาวิธีรับมือกับมัน ใช่หรือไม่?

ถ้าคำตอบของคุณคือ “ใช่” แสดงว่า องค์กรของคุณ เป็นเพียง ๓. คนของเรายังมีความรู้สึกว่า “ถูกสั่งให้เปลี่ยน” มากกว่าความรู้สึกว่า เขาเป็นผู้ “เลือกที่จะเปลี่ยน” ใช่หรือไม่? ถ้าคำตอบของคุณคือ “ใช่” แสดงว่า องค์กรของคุณ เป็นเพียง Manage Change มิใช่ Lead Change

Manage Change การมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง Lead Change การบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง Manage Change Change Comes First, Then People การมีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง Lead Change Leaders Comes First, Then Change

จะบริหารการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร? Manage Change Lead Change

กระบวนการเปลี่ยนแปลง 8 ขั้นตอน ของ John P. Kotter

Establishing a Sense of Urgency 1. ประชุมผู้เกี่ยวข้อง Stakeholder ชี้แจงเหตุผลที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลง การสร้างความรู้สึกว่าต้องลงมือทำอย่างเร่งด่วน Establishing a Sense of Urgency

2. ตั้งทีม “แกนนำ” การเปลี่ยนแปลง เพื่อดำเนินการเปลี่ยนแปลง สร้างทีมผู้นำการเปลี่ยนแปลง Creating the Guiding Coalition

3. ประชุมวิสัยทัศน์ใหม่ กลยุทธ์ใหม่ เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เหมือนเดิม พัฒนาวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ Developing a Vision and Strategy

4. ประชาสัมพันธ์วิสัยทัศน์ใหม่ กลยุทธ์ใหม่ เพื่อการเปลี่ยนแปลง สื่อสารวิสัยทัศน์ของการเปลี่ยนแปลง Communicating the Change Vision

5. ให้ “ทีมผู้นำ” การเปลี่ยนแปลง จัดการการเปลี่ยนแปลงเต็มอำนาจ การให้อำนาจที่จะทำการเปลี่ยนแปลง Empowerment Broad-Based Action

6. ตั้งเป้าการเปลี่ยนแปลงเป็นระยะ Road Map เข้าเป้า ฉลองชัย สร้างชัยชนะระยะสั้น Generating Shot – Term Wins

7. อะไรทำดี มีความสมบูรณ์ คงไว้ อะไรไม่ดี เปลี่ยนแปลงใหม่ ให้ดีขึ้น การรักษาการเปลี่ยนแปลงให้คงอยู่และสร้างการเปลี่ยนแปลงใหม่ที่ดีกว่า Consolidating Gains and Producing More Change

8. เมื่อดำเนินการครบถ้วนสมบูรณ์ ถือว่าการเปลี่ยนแปลงสำเร็จผล รักษาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ให้คงอยู่เป็นวัฒนธรรมขององค์กร Anchoring New Approaches in the Culture

Kotter ขั้นตอนต้องเป็นไปตามลำดับ Importance of Sequence โครงการย่อยในโครงการเปลี่ยนแปลง Projects within Projects การบริหารลักษณะของการเป็นผู้นำ Leadership มีบทบาทสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงมากกว่า การบริหารลักษณะของการจัดการ management

Lead Change นำการเปลี่ยนแปลง Manage Change

สรุป ประเด็นการบรรยาย 1. การเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง 2. การเปลี่ยนแปลงของการบริหาร 3. ผู้นำยุคใหม่กับการเปลี่ยนแปลง 4. การบริหารการเปลี่ยนแปลง