บทที่ 5 สื่อสร้างสรรค์ 1.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การใช้งาน Microsoft Excel
นางสาว ณัฐนิช อดิวัฒนสิทธิ์ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย. สัญญาณอิเล็คทรอนิกส์ อนาล็อก (ANALOG) สัญญาณมีความต่อเนื่อง ถูกรบกวนได้ง่าย มี Noise มาก.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การออกแบบและเทคโนโลยี
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 8 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 7 : ออดิโอ (Audio) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
วิชาทฤษฎีสี รหัสวิชา FAD1104
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
แผ่นดินไหว.
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 สื่อสร้างสรรค์ 1

สารบัญ ความหมายของสื่อประสม (Multimedia) เสียง (sound) ภาพนิ่ง (still image) ข้อความ (text)

ความหมายของสื่อประสม (Multimedia)

ความหมายของสื่อประสม (Multimedia)

การแบ่งชนิดของสื่อสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ แบ่งชนิดของสื่อตามระบบการรับรู้ของมนุษย์ 1. Sound หรือ Audio media(สื่อที่เกี่ยวกับระบบการได้ยิน) 2. Visual media (สื่อที่เกี่ยวกับระบบการมองเห็น) แบ่งชนิดของสื่ออิเลคทรอนิกส์ตามระบบของสัญญาณ 1. Analog media (สื่อแอนะล็อก) 2. Digital media (สื่อดิจิทัล)

การแบ่งชนิดของสื่อสามารถทำได้หลายวิธีดังนี้ แบ่งชนิดของสื่อตามลักษณะที่แสดงผลออกมา 1. เสียง (sound) 2. ข้อความ (text) 3. ภาพนิ่ง (still image) 4. ภาพเคลื่อนไหว (video, animation)

เสียง (Sound)

กราฟแสดงค่าความดันอากาศ (pressure) ณ เวลาต่าง ๆ เสียง (Sound) เป็นคลื่นเชิงกลชนิดหนึ่ง ซึ่งต้องอาศัยตัวกลางเช่นอากาศในการเคลื่อนที่ สามารถเรียกคลื่นนี้ว่า คลื่นไซน์ (sine wave) ได้เช่นกัน กราฟแสดงค่าความดันอากาศ (pressure) ณ เวลาต่าง ๆ

เสียง (Sound) การวัดความถี่ของเสียง: Hertz (รอบต่อวินาที) มนุษย์สามารถได้ยินคลื่นเสียง ซึ่งมีความถี่ในช่วงประมาณ 20 - 20,000 Hz คลื่นความถี่ต่ำ คือเสียงต่ำ คลื่นที่มีความถี่สูง คือเสียงสูง เสียงที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติเป็นคลื่นแบบซับซ้อน เกิดจากคลื่นไซน์หลาย ๆ ความถี่มารวมกัน

เสียง (Sound) สื่ออิเลคทรอนิกส์ที่เอาไว้ใช้เก็บข้อมูลเสียง คือสื่อที่ต้องอาศัยอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ ในการเรียกข้อมูลที่บันทึกไว้ แล้วแปลงออกมาเป็นสัญญาณ สัญญาณที่ใช้ในอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ มี 2 ชนิด คือ สัญญาณแอนะล็อก สัญญาณดิจิทัล

เสียง (Sound) สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) คือสัญญาณที่เรียงกันแบบต่อเนื่อง เช่น สัญญาณที่ถูกเรียกมาจากเทปคาสเซท หรือสัญญาณที่ออกมาจากไมโครโฟนโดยตรง สัญญาณแอนะล็อกสามารถ แสดงให้อยู่ในรูปของ “กราฟของค่าแรงดันไฟฟ้า (voltage) ณ เวลาต่าง ๆ”

เสียง (Sound) สัญญาณดิจิทัล (digital signal) คือสัญญาณที่เรียงกันแบบไม่ต่อเนื่อง เช่น สัญญาณที่อ่านจากซีดีเพลง, เทปดิจิทัล, ไฟล์เสียงในฮาร์ดดิสก์ มีลักษณะเป็นข้อมูลตัวเลข (หรือ sample) เรียงต่อ ๆ กันไป โดย sample แต่ละอันจะแทนค่าแรงดันไฟฟ้าในช่วงเวลาหนึ่ง

เสียง (Sound) ตัวอย่าง ขั้นตอนการบันทึกเสียง ไมโครโฟน จะแปลงคลื่นเสียงในอากาศ เป็นสัญญาณแอนะล็อก การ์ดเสียง จะแปลงสัญญาณแอนะล็อกไปเป็นสัญญาณดิจิทัล คอมพิวเตอร์ ทำการประมวลผลหรือบันทึกข้อมูล

เสียง (Sound) ตัวอย่าง ขั้นตอนฟังเสียงด้วยคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะส่งสัญญาณดิจิทัลมายังการ์ดเสียง การ์ดเสียง แปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแอนะล็อก ลำโพง ทำหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกไปเป็นคลื่นเสียงในอากาศ

เสียง (Sound) Sampling rate, bit per sample, และ bit rate สัญญาณแบบดิจิทัลที่ไม่ต่อเนื่องสามารถใช้แทนสัญญาณแอนะล็อกที่ต่อเนื่องได้ แต่จะแทนได้เหมือนจริงมากหรือน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับ : 1) "ความละเอียดการแทนข้อมูล" (bit per sample) 2) "ความถี่ในการเก็บข้อมูล" (sampling rate หรือ sample/s)

เสียง (Sound) เสียงดิจิทัลที่คุณภาพดี เช่น เสียงที่เกิดจากซีดีเพลงหรือซีดีออดิโอ จะใช้มาตรฐานไฟล์เสียง “44,100 Hz, 16 bit, stereo” ซึ่งมีความหมายดังนี้ : 1) 44,100 Hz (หรือ 44,100 sample/s) คือ เก็บข้อมูล 44,100 ครั้งต่อวินาที 2) 16 bit (หรือ 16 bit per sample) หมายความว่า “ใช้ 16 bit สำหรับเก็บหนึ่งข้อมูลเสียง” 3) Stereo หมายถึง มี 2 ช่องสัญญาณ (ซ้ายกับขวา) 4) ดังนั้นค่า bit rate ซึ่งก็คือ “จำนวน bit ใน 1 วินาที” จะเท่ากับ 1,411.2 kbit/s (มาจาก 2 ช่องสัญญาณ x 44,100 samples/วินาที/ช่องสัญญาณ x 16 bits per sample = 1,411,200 bit/s = 1,411.2 kbit/s)

เสียง (Sound) สรุป : ไฟล์เสียงที่มีค่า “bit per sample” มากก็จะทำให้สามารถเก็บเสียงได้ละเอียดขึ้น ส่วนค่า “sampling rate” ยิ่งมากก็ยิ่งสามารถเก็บคลื่นที่มีความถี่สูงได้ ในการบันทึกเสียงให้ได้คุณภาพ ควรเซ็ตค่า sampling rate และ bit ตามมาตรฐานที่ใช้ในซีดีออดิโอ มาตรฐานไฟล์เสียงที่นิยมใช้กันในสื่อมัลติมิเดียคุณภาพสูงอยู่ที่ 48,000 sample/s, 24 bit

เสียง (Sound) รูปแบบไฟล์เสียงในระบบดิจิทัล (Digital Audio File Formats) ที่พบบ่อย 1) ไฟล์เสียงแบบไม่บีบอัด (uncompressed audio formats) หรือ ไฟล์เสียงแบบดิบ เช่น ไฟล์เสียงแต่ละไฟล์ในซีดีเพลง (audio CD), WAV, และ AIFF; ไฟล์เสียงมีขนาดใหญ่ที่สุดเพราะเป็นไฟล์เสียงที่ยังไม่ถูกบีบอัด

เสียง (Sound) 2) ไฟล์เสียงบีบอัดแบบแต่ไม่สูญเสีย (lossless compressed audio formats) เช่น FLAC (Free Lossless Audio Codec), Monkey's Audio (มีนามสกุล .ape), WavPack (.WV), TTA, ATRAC Advanced Lossless, Apple Lossless, MPEG-4, Windows Media Audio Lossless (WMA Lossless) เมื่อไฟล์เสียงดิบถูกบีบอัดในลักษณะนี้แล้วอาจจะทำให้มีขนาดเล็กลงประมาณครึ่งหนึ่ง แต่จะไม่สูญเสียคุณภาพใด ๆ

เสียง (Sound) 3) ไฟล์เสียงบีบอัดแบบสูญเสีย (lossy compressed audio formats) เช่น MP3, Ogg Vorbis, Windows Media Audio Lossy (WMA lossy) โดยไฟล์เสียงแบบดิบอาจจะถูกบีบอัดให้มีขนาดประมาณ 1 ใน 10 ของไฟล์ต้นฉบับ เมื่อถูกบีบอัดไปแล้วก็จะสูญเสียคุณภาพไปเลย

เสียง (Sound) ซอฟต์แวร์ด้านเสียง ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการตัดต่อเสียงที่เหมาะสมกับผู้ใช้ทั่วไปคือ “ออดาซิตี้ (Audacity)” เพราะเป็นซอฟต์แวร์ฟรีและโอเพนซอร์สที่ใช้งานง่าย และมีความสามารถเพียงพอสำหรับการบันทึก, ตัดต่อ, แต่ง, และแปลงไฟล์เสียงชนิดต่าง ๆ สำหรับผู้ที่ทำงานจริงจังในด้านดนตรีและเสียงจะใช้ซอฟต์แวร์ที่เรียกโดยรวมว่า “digital audio workstation” ซึ่งมีให้เลือกใช้มากมายทั้งที่เป็นซอฟต์แวร์แบบฟรีและโอเพนซอร์ส

ภาพนิ่ง (still image)

แสง, สี, และสื่อที่เกี่ยวกับการมองเห็น มนุษย์จะสามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ได้ก็ต้องอาศัยแสง แสงและสีเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกันอย่างแยกไม่ออก หลักการผสมสีที่ใช้ในคอมพิวเตอร์มีสองระบบหลัก ๆ คือ 1) การผสมสีแบบบวก 2) การผสมสีแบบลบ

แสง, สี, และสื่อที่เกี่ยวกับการมองเห็น 1) การผสมสีแบบบวก (additive color model) เป็นหลักการที่มาจากการผสมกันของแสง คลื่นแสงพื้นฐานประกอบด้วย แสงสีแดง (Red), แสงเขียว (Green), แสงน้ำเงิน (Blue) เมื่อคลื่นแสงเหล่านี้ซ้อนทับกันก็จะเกิดการบวกของคลื่นแสง ผสมแสง RBG ด้วยความเข้มร้อยละ 100 : 100 : 100 จะได้ความสว่างมากที่สุด (สีขาว) ความเข้มแสงเป็นศูนย์ทั้งหมด เกิดความมืดสนิท (สีดำ) การทำให้เกิดสีอื่น ๆ ทำได้โดยการปรับอัตราความเข้มของ

แสง, สี, และสื่อที่เกี่ยวกับการมองเห็น Additive color model

แสง, สี, และสื่อที่เกี่ยวกับการมองเห็น 2) การผสมสีแบบลบ (subtractive color model) เป็นหลักการที่มาจากการผสมของสารสีบนกระดาษ สารสีที่เราคุ้นเคยได้แก่ สีน้ำ ดินสอสี เป็นต้น สีพื้นฐานประกอบด้วยสารสีที่มี สีน้ำเงินแกมเขียว (Cyan), สีแดงแกมม่วง (Magenta), สีเหลือง (Yellow) เมื่อ CMY มาผสมกันด้วยความเข้มข้นร้อยละ 100 : 100 : 100 ตามลำดับ ก็จะทำให้มองเห็นเป็นสีดำ ส่วนการทำให้เกิดสีอื่น ๆ ก็ทำได้โดยการปรับความเข้มข้นของ CMY

แสง, สี, และสื่อที่เกี่ยวกับการมองเห็น Subtractive color model

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) การเก็บไฟล์รูปภาพในคอมพิวเตอร์ที่พบบ่อย เช่น BMP, TIFF, JPEG, GIF, PNG และ SVG โดยไฟล์เหล่านี้สามารถแบ่งได้เป็นสองรูปแบบใหญ่ ๆ คือ 1) raster graphics 2) vector graphics

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap คือการใช้จุดภาพ (pixel) เรียงกันทั้งในแนวนอนและแนวตั้งให้เกิดเป็นภาพ แต่ละพิกเซลล์จะเป็นระบบสี RGB แต่ละสีจะมีความละเอียด 8 บิต แต่ละพิกเซลล์สามารถแสดงสีได้ 8 x 3 = 24 บิต Raster graphics

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ) ภาพแบบ binary image หรือ 1-bit ในแต่ละพิกเซลล์จะมีสีที่แตกต่างกัน 2 สี คือ สีดำกับสีขาว ภาพแบบ grayscale (ระดับเทา) 8-bit ในแต่ละพิกเซลล์จะมีสีที่แตกต่างกันทั้งหมด 256 สี

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) ลีน่า (นางแบบเพลย์บอย) ในแบบ binary image (1-bit), grayscale (8-bit), และ true-color (24-bit)

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ) ไฟล์ภาพแรสเตอร์ที่เราพบบ่อยในชีวิตประจำวัน ได้แก่ : 1. BMP หรือ Microsoft Bitmap (นามสกุล .bmp, .dib) เป็นรูปแบบไฟล์ภาพแบบไม่ถูกบีบอัดของไมโครซอฟต์ สามารถกำหนดขนาดภาพให้มีความกว้างหรือยาวเท่าไหร่ก็ได้ สามารถใช้โปรแกรมบีบอัด เช่น WinZip เพื่อบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็กลงได้

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ) 2. TIFF หรือ Tagged Image File Format (นามสกุล .tiff, .tif) เป็นรูปแบบไฟล์บีบอัด (เป็นได้ทั้งบีบอัดแบบสูญเสีย และไม่สูญเสีย) เป็นรูปแบบไฟล์ที่นิยมใช้ในวงการการพิมพ์

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ) 3. JPEG (นามสกุล .jpg, .jpeg) เป็นรูปแบบไฟล์บีบอัด (เป็นได้ทั้งบีบอัดแบบสูญเสีย และไม่สูญเสีย) เหมาะกับการใช้ในการเก็บภาพถ่าย คุณภาพของภาพจะขึ้นอยู่กับอัตราการบีบอัด เหมาะกับการใช้งานบนอินเตอร์เน็ต

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ) 4. JPEG 2000 (นามสกุล .jp2, .j2k, .jpf, .jpx, .jpm) เป็นรูปแบบไฟล์ที่พัฒนาขึ้นมาให้มีประสิทธิภาพในการบีบอัดมากกว่า JPEG เวอร์ชันเก่า

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ) 5. GIF เป็นรูปแบบไฟล์บีบอัดแบบไม่สูญเสีย แต่มีขนาดเล็ก ไม่เหมาะกับการเก็บภาพถ่าย หรือภาพที่มีความหลากหลายของสี เพราะมีแค่ 256 สี เหมาะสำหรับการเก็บรูปการ์ตูน, ตราสัญลักษณ์, และแผนภูมิ เป็นภาพเคลื่อนไหวได้

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ) 6. PNG (Portable Network Graphics; นามสกุล .png) เป็นรูปแบบไฟล์บีบอัด (เป็นได้ทั้งบีบอัดแบบสูญเสีย และไม่สูญเสีย) เดิมทีถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทดแทน GIF เนื่องจากปัญหาด้านสิทธิบัตรของ GIF เป็นที่นิยมใช้งานบนอินเทอร์เน็ตเช่นเดียวกัน รูปแบบไฟล์ PNG ยังสามารถมีค่า color depth ได้หลายแบบ

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) 2) Vector graphics (เวกเตอร์กราฟิก) คือไฟล์ภาพที่จัดเก็บข้อมูลเป็นตัวแปรทางคณิตศาสตร์และคำสั่งต่าง ๆ ขนาดของไฟล์ขึ้นอยู่กับจำนวนของคำสั่งและตัวแปรต่าง ๆ ข้อดี คือคุณภาพของภาพไม่ขึ้นอยู่กับความละเอียด ภาพจะถูกขยายให้ใหญ่แค่ไหนก็ได้ โดยคุณภาพไม่ลดลง เหมาะกับการเก็บภาพตราสัญลักษณ์, ภาพที่ใช้เป็นไอคอนของเว็บไซต์, หรือภาพกราฟิกที่ออกแบบโดยนักออกแบบกราฟิก

รูปแบบไฟล์ภาพ (Image File Formats) เปรียบเทียบระหว่างภาพเวกเตอร์ และภาพเดียวกันที่ถูกแปลงให้เป็นบิทแมป ที่การขยาย 7 เท่า

ข้อความ (Text)

ข้อความ (Text) ข้อความเกิดจากการนำอักขระ หลายตัวมาประกอบกัน อักขระประกอบด้วยตัวอักษร, ตัวเลข, และเครื่องหมายสัญลักษณ์ นิยมเก็บตามมาตรฐาน ASCII และ UTF-8 เช่น เก็บข้อมูลเป็นตัวอักษร I love computer. ในระบบมาตรฐานการเก็บข้อมูลแบบ ASCII จะต้องแทนด้วยตัวเลขเรียงลำดับดังต่อไปนี้ I l o v e c m p u t r . 73 32 108 111 118 101 99 109 112 117 116 114 46

ข้อความ (Text) นอกจากอักขระแล้ว ข้อความยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ ได้อีก เช่น แบบอักษร (font, ฟอนต์) หรือแม่แบบของตัวอักษร รวมถึงอักขระด้วย สไตล์ของตัวอักษร มี 4 รูปแบบ คือ ตัวปกติ “A” ตัวหนา “A” ตัวเอียง “A” และขีดเส้นใต้ “A” และสามารถผสมรูปแบบดังกล่าวเข้าด้วยกันได้

รูปแบบไฟล์เอกสาร (document file format) 1) ไฟล์ข้อความแบบธรรมดา (plain text) ไฟล์ข้อความธรรมดา เช่น ไฟล์ .txt ที่นิยมใช้บนวินโดวส์ สามารถสร้างด้วยโปรแกรม Notepad, EditPlus, Notepad++ ไม่สามารถแทรกรูปภาพได้ 2) PDF (Portable Document Format) นามสกุล .pdf สามารถเปิดดูไฟล์ได้กับทุกระบบปฏิบัติการ ส่วนใหญ่แล้วไฟล์ PDF จะถูกสร้างออกมาเพื่อให้นำไปแก้ไขไม่ได้ TXT File PDF File บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

รูปแบบไฟล์เอกสาร (document file format) 3) Microsoft Word Documents รูปแบบไฟล์สำหรับงานพิมพ์เอกสารบนโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด เช่น .doc และ .docx 4) OpenDocument (นามสกุล .odt) เป็นรูปแบบไฟล์สำหรับงานพิมพ์เอกสาร และเป็นไฟล์มาตรฐานเปิด (open standard) ใช้ในซอฟต์แวร์โอเพ็นซอร์ส เช่น OpenOffice และ LibreOffice DOC File บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software)

คำถาม