อภิปรัชญา ความเป็นจริงสูงสุดที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการพัฒนา e-Learning ให้ประสบผลสำเร็จ
Advertisements

Information Technology
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
Tutorial CAI Tutorial จะนำมาใช้ได้ดีในการใน กระบวนการสอน 2 ขั้นตอนแรก คือ นำเสนอสาระ นำเสนอสาระ presenting information ชี้แนะ ชี้แนะguiding.
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับการคิด
เนื้อหาที่จะเรียน คอมพิวเตอร์คืออะไร ระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ อินเตอร์เน็ต Microsoft Office.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การพัฒนาการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษากับการขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
สื่อประสมทางการศึกษา
Information Systems Development
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ติวสอบออนไลน์ หลักการสอนที่เน้นการสอนคิดวิเคราะห์และ
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
บทที่ 3 การนำเสนอสื่อมัลติมีเดีย
อย่าติดกับดักการเรียนรู้
Learning Theory Dr. Sumai Binbai.
สุนทรียศาสตร์พื้นฐาน
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
การสร้างเว็บไซด์อีคอมเมิร์ซ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
หลักการให้คำปรึกษา (สำหรับผู้ตรวจสอบภายใน)
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้
การจัดบริการอาชีวอนามัย สำหรับแรงงานสูงวัย
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
แนวคิด ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
แนวทางการจัดการเรียนการสอน (Pedagogy)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
Introduction to information System
Introduction to information System
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
School of Information & Communication Technology
KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
ความสำคัญและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
โลกกว้างที่แพทย์ต้องเผชิญ
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
Operant Behavior (การกระทำทำให้เกิดการเรียนรู้)
ผู้ใช้และการใช้สารสนเทศ
ทฤษฎีการเรียนรู้.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 12 การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ใบงาน Work Shop หน่วยงานสนับสนุน
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
การออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้งาน (USER INTERFACE DESIGN)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อภิปรัชญา ความเป็นจริงสูงสุดที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัส ปรัชญา มี 5 สาขา อภิปรัชญา ความเป็นจริงสูงสุดที่อยู่นอกเหนือประสาทสัมผัส ญาณวิทยา เป็นสาขาของปรัชญาที่ว่าด้วยทฤษฎีความรู้ของ มนุษย์ จริยศาสตร์ ศึกษาคุณค่าของความประพฤติมนุษย์ สุนทรียศาสตร์ ความงาม คุณค่าทางศิลปะ ลอจิก กฎเกณฑ์แห่งความคิด การให้เหตุผลที่ถูกต้อง

Epistemology เป็นปรัชญาที่ชี้เฉพาะที่เกี่ยวกับความรู้โดยตรง Epistemology หมายถึง ศาสตร์หรือทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้แท้ หรือความจริงแท้ หรือความรู้ที่มีระบบในทางปรัชญา ความรู้ต้องเป็นความรู้ในความจริง ความรู้ตามปรัชญา Epistemology จึงเป็นเวคเตอร์ซึ่งมีทั้งขนาดและทิศทาง คือ มนุษย์จะต้องรู้ว่าตนเองรู้อะไร และรู้อย่างไร

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism ปรัชญา ธรรมชาติของความรู้เป็นสิ่ง คงที่ เป็นสิ่งที่จริงแท้ เป็นอิสระจาก จิตใจ การออกแบบการสอนเป็น Instructional design ที่อาศัยพื้นฐาน ของทฤษฎี Behaviorism และ Cognitive information processing ธรรมชาติของความรู้ เป็นสิ่งที่ไม่จริง แท้แน่นอน เปลี่ยนแปลงได้ การออกแบบการสอน อาศัยทฤษฎี Constructivism

เราจะรู้ได้อย่างไร? Objectivism constructivism Behaviorism จะดูที่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ เกิดจากสิ่งเร้า Cognitivism จะดูที่การเปลี่ยนแปลง ปริมาณของความรุ้ที่เกิดขึ้นจากการ ประมวลสารสนเทศ การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ ผู้เรียนสร้างสิ่งแทนความรู้ขึ้น ภายใน และสร้างความหมายจาก ประสบการณ์ การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ เกิดขึ้นอย่างตื่นตัวในการสร้าง ความหมายและพัฒนาขึ้นมาจาก ประสบการณ์และยืนยันว่าสิ่งที่เรา รู้ทั้งหมดมาจากการตีหรือแปล ความหมายจากประสบการณ์ จากการแลกเปลี่ยน แบ่งปัน แนวคิดที่หลากหลาย

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism รูปแบบการสอน เป้าหมายเพื่อการสื่อสาร และการ ถ่ายโยง วิเคราะห์ วิเคราะห์เนื้อหา เพื่อให้ง่ายขึ้น มีกฎระเบียบหรือระบบองค์ประกอบ และเปลี่ยนเป็นกระบวนการหรือ วิธีการ

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism วิเคราะห์ผู้เรียน ตามแนว พฤติกรรม นิยม วิเคราะห์ผู้เรียนโดยนำมารวมเข้า ด้วยกันและเป็นภาพรวม เงื่อนไขต่าง ๆ วิเคราะห์เป็น ค่าเฉลี่ย วัดความก้าวหน้าตามเป้าหมายของ การเรียนเป็นรายบุคคล (ในบาง โมเดล) ทำการทดสอบก่อนเรียนเป็น รายบุคคล การวิเคราะห์ผู้เรียน ระบุทักษะผู้เรียน เน้นการไตร่ตรอง ไม่ใช่การจดจำ เน้นกระบวนการสร้างความรู้ เน้นการพัฒนาการไตร่ตรอง เกี่ยวกับความตระหนักใน กระบวนการสร้างความรู้ เน้นการพัฒนาในการกำกับ ติดตามตนเอง ในกระบวนการ สร้างความรู้

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism Objectivsm constructivism วิเคราะห์ผู้เรียน ตามแนว Cognitive information processing การประมวลผลสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism การกำหนดวัตถุประสงค์ เน้นเอกลักษณ์ของแต่ละ สาขาวิชาเกี่ยวกับการรู้ (Knowing) การสอนวิธีการคิด (How to think) ไม่นิยมการกำหนดวัตถุประสงค์ การเรียนรู้และการปฏิบัติ พยายามค้นหาภารกิจการเรียนที่มี วัตถุประสงค์เฉพาะที่ได้รับการ ยอมรับว่าเหมาะสมกับผู้เรียนแต่ ละบุคคลในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ โลก การกำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ จำแนกคุณลักษณะของเนื้อหา จำแนกคุณลักษณะของผู้เรียน ประยุกต์ระหว่างเนื้อหา กระบวนการออกแบบการเรียนการ สอนสามารถประยุกต์ระหว่าง ขอบข่ายได้

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism Objectivsm constructivism การออกแบบหรือการสังเคราะห์ การออกแบบเน้นกระบวนการสร้าง ความรู้ หลักการออกแบบต้องทำเป็น คำถามหรือปัญหา เน้นการพัฒนาสิ่งแวดล้อมการ เรียนรู้ ที่ส่งเสริมการสร้างความ เข้าใจจากมุมมองที่หากหลาย Macro designหรือการออกแบบ ลำดับการเรียนการสอน หรือการ ออกแบบสาร ไม่เหมาะสมที่จะ นำมาใช้ในการออกแบบ การออกแบบ ประยุกต์ Instructional design process จากหลักการที่อาศัย พื้นฐานจากทฤษฎีจิตวิทยา และ การวิจัยสื่อ ออกแบบลำดับการเรียนการสอน (Instructional sequence) เรียกว่า macro level และออกแบบสาร หลักการออกแบบสามารถ ประยุกต์ไปใช้ในต่างเนื้อหาและ ต่างบริบทได้

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism การออกแบบหรือการสังเคราะห์ เน้นเรื่องการควบคุมหรือความใส่ ใจของผู้เรียนในบริบทสภาพจริงที่ แตกต่างกัน การจัดการเรียนรู้ อาศัยทฤษฎีที่ เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของ Epistemology ของ คอนสตรัคติ วิสต์ ที่มีความสอดคล้องกับ ทฤษฎีการเรียนรู้ การออกแบบ

การเปรียบเทียบ objectivism & constructivism การประเมินผล เพื่อการปรับปรุงความสามารถใน การนำความรู้จากเนื้อหาไปใช้ใน สภาพจริง ตรวจสอบกระบวนการคิด ตรวจสอบกลยุทธ์การแก้ปัญหาที่ มีประสิทธิภาพของ Novice และ Expert ระดับการสร้างความรู้ของผู้เรียน ความสามารถในการอธิบายและ ให้เหตุผลในการตัดสินใจของ ตนเองที่นำไปสู่การพัฒนา Metacognition การประเมินผล วัตถุประสงค์ทั่วไปหรือ วัตถุประสงค์การเรียนการสอน วัดความก้าวหน้าของการเรียนที่ บรรลุตามวัตถุประสงค์