กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ International Criminal Law

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
Advertisements

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในเกาหลีใต้ Cyber crime and IT law in South Korea ลักขณา สุทธานุช คณะวิทยาศาสตร์ สาขา.
ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
จรรยาบรรณ ทางวิชาชีพและ เชิงสังคม อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ อ. อิทธิพล ปรีติ ประสงค์ สถาบันแห่งชาติเพื่อ การพัฒนาเด็กและ ครอบครัว ม. มหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อ.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจการแบ่งประเภท และการระบุโทษของการ กระทำความผิดแต่ละประเภท 2.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ยาเสพติด และชีวิตร่างกาย (คดีร้ายแรง) ของเด็กและเยาวชน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล การศึกษาโดยใช้ทฤษฎีการควบคุมตนเอง.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
OPAC Provisions and Scope
การปกครองระบอบประชาธิปไตย
HUMAN RIGHTS GAME.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การบูรณาการการจัดการปัญหาทางด้านสังคมของศูนย์พึ่งได้
Chapter 6 Diplomatic and Consular Privileges and Immunities
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
การกระทำอันไม่เป็นธรรม (Unfair Labour Practice)
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มเกษตรกร.
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
อำนาจอธิปไตย 1.
สาเหตุที่ต้องมีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
อภิรัฐธรรมนูญไทย.
ทบทวน ;) จริยธรรมนักกฎหมายต่างจากจริยธรรมทั่วไปอย่างไร?
คดีฟ้องให้ประกาศใช้ผังเมืองรวม จังหวัดสระบุรี
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ และองค์การระหว่างประเทศ
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
วิชากฎหมายล้มละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ International Criminal Law ปกป้อง ศรีสนิท คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เนื้อหา อาชญากรรมระหว่างประเทศ วิธีพิจารณาคดีอาชญากรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court,The ICC) ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาลอาญาระหว่างประเทศ

1. อาชญากรรมระหว่างประเทศ อาชญากรรมทั่วไป อาชญากรรมระหว่างประเทศ

อาชญากรรมระหว่างประเทศ อาชญากรรมทั่วไป เช่น ฆาตกรรม -กระทบความสงบของรัฐ -ศาลภายในรัฐมีเขตอำนาจชำระคดี -ความร่วมมือระหว่างประเทศมีจำกัด อาชญากรรมระหว่างประเทศ เช่น ก่อการร้าย -กระทบความสงบของสังคมโลก -ศาลภายในรัฐหรือศาลระหว่างประเทศมีเขตอำนาจชำระคดี -ความร่วมมือระหว่างประเทศมีมาก

Concept ของอาชญากรรมระหว่างประเทศ “aut dedere aut judicare” (ไม่ส่งตัว ก็ต้องดำเนินคดี) อาชญากรรมระหว่างประเทศ – รัฐจะต้องทำตามหน้าที่เรื่อง “aut dedere aut judicare” อาชญากรรมทั่วไป - รัฐมีอำนาจอธิปไตยอย่างสมบูรณ์ที่จะดำเนินคดีกับ ผู้กระทำความผิด

1. Mr. A ฆาตกรรมเหยื่อในประเทศฝรั่งเศสแล้วหลบหนีเข้ามาอยู่ใน ประเทศไทย หากมีการร้องขอให้ดำเนินคดี ประเทศไทยจะดำเนินการ อย่างไร? Full sovereignty 2. Mr. B กระทำความผิดฐานโจรสลัด (ชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์ใน เขตทะเลหลวงตามมาตรา 7(3) แห่งประมวลกฎหมายอาญา Mr.B เข้า มาอยู่ในประเทศไทย หากมีการร้องขอให้ดำเนินคดี ประเทศไทยจะ ดำเนินการอย่างไร ? aut dedere aut judicare

เหตุใด หลัก “aut dedere aut judicare” ต้องนำมาใช้กับอาชญากรรมระหว่างประเทศ ? “No safe haven for international criminal”

รูปแบบของอาชญากรรมระหว่างประเทศ 1.1 อาชญากรรมระหว่างประเทศ (International crimes) 1.2 อาชญากรรมระหว่างประเทศร้ายแรงสูงสุด (The most serious international crimes)

1.1 อาชญากรรมระหว่างประเทศ -Piracy -Aircraft hijacking -Terrorism -Torture -Enforced Disappearances -Human Trafficking -Transnational Organized Crimes -slavery -etc. - ศาลภายในมีเขตอำนาจ - ใช้ความร่วมมือระหว่างประเทศ

1.2 อาชญากรรมระหว่างประเทศร้ายแรงสูงสุด (the Most serious international crimes) -Genocide -Crime against humanity -War Crimes -Aggression -ศาลภายในและศาลระหว่างประเทศมีเขตอำนาจ - ใช้ความร่วมมือระหว่างประเทศ

1.2.1 ล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์ (genocide) Rome Statute article 6 “ล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์ หมายถึง การกระทำความผิดดังต่อไปนี้ โดยเจตนาที่จะทำลายคนชาติ (national) กลุ่มชาติ พันธุ์ (ethnic group) กลุ่มเผ่าพันธุ์ (racial group) กลุ่มศาสนา (religious group) ไม่ว่า ทั้งหมดหรือบางส่วน

-การฆ่าสมาชิกในกลุ่ม -การทำร้ายร่างกายหรือจิตใจสาหัส -การกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อนต่อเงื่อนไขในการดำรงชีพ ของกลุ่มโดยมุ่งทำลายคนในกลุ่ม -การกำหนดมาตรการบังคับคุมกำเนิด -การบังคับย้ายเด็กไปยังกลุ่มอื่น

องค์ประกอบเชิงบริบท (Contextual elements of genocide) 1. manifest pattern- it needs evidences showing that genocidal plan has been prepared and directed from superiors to lower officers, or 2. effect such destruction- the offender has effective capacity to destroy protected groups by himself.

Genocide ≠ serial killing -Mr. D

Question : การฆ่าคนจำนวนมากโดยมี มูลเหตุแห่งความเห็นทางการเมืองที่ต่างกัน เป็น genocide หรือไม่ ?

Genocide in whole or in part

1.2.2 อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ (Crime against Humanity) crime against humanity" means any of the following acts (11 acts) when committed as part of a widespread or systematic attack directed against any civilian population (pursuant to policy), with knowledge of the attack.

policy widespread or 11 acts (murder, rape, systematic attack torture, etc.) civilian population

1.เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ไฟฟ้าช๊อตคนให้บอกข้อมูลเพื่อ ประโยชน์ต่อความมั่นคงของประเทศ – การกระทำโดยการทรมาน (act of torture) 2. เจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำข้อ 1.ตามนโยบายที่เป็น ระบบหรืออย่างกว้างขวางในการโจมตีประชากร - อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ (Crime against humanity)

1.2.3 อาชญากรรมสงคราม (War Crimes) -มีการขัดกันทางอาวุธ (armed conflict) -ละเมิดกฎแห่งการขัดกันทางอาวุธ

-การประกาศสงครามเคยเป็นมาตรการบังคับในกฎหมายระหว่าง ประเทศ. -ตั้งแต่จัดตั้ง the United Nations ไม่มีการประกาศ สงครามที่ชอบด้วยกฎหมายอีกต่อไป คงเหลือแต่การใช้กองกำลังเพื่อ ป้องกันตนเอง (self-defense) หรือ ภายใต้กองกำลังรักษา สันติภาพ (United Nation peace keeping force) Law of war จึงเปลี่ยนเป็น law of armed conflict. ผู้ใดละเมิดกฎเกณฑ์ในการขัดกันทางอาวุธในระหว่างที่มีการขัดกันทาง อาวุธจะเป็นอาชญากรสงคราม

1.2.4 อาชญากรรมรุกราน (Aggression) “act of aggression” หมายถึง การใช้กำลังทางทหาร โดยรัฐเอกราชหนึ่งต่ออำนาจอธิปไตยเหนือดินแดนของอีก รัฐเอกราชหนึ่ง ซึ่งไม่สอดคล้องกับกฎบัตรสหประชาชาติ

2. International Criminal Procedure for International Crimes - International Crimes e.g. piracy, terrorism ศาลภายในรัฐมีเขตอำนาจ - The most serious international crimes e.g. Genocide ศาลภายในรัฐและศาลอาญาระหว่างประเทศมีเขตอำนาจ

3. ศาลอาญาระหว่างประเทศ International Criminal Court (the ICC) 3.1 ลักษณะของ ICC 3.2 ประเทศ ASEAN กับ ICC 3.3 เขตอำนาจของ ICC 3.4 หลักพื้นฐานของวิธีพิจารณาคดีใน ICC 3.5 การรับคดีของ ICC

3.1 ลักษณะของ ICC -ศาลถาวร -เปิดทำการเมื่อ 1 July 2002 www.icc-cpi.int

3.2 ประเทศ ASEAN กับ ICC The Philippines, Cambodia – State Party Thailand – signatory, has not ratified

3.3 เขตอำนาจของ ICC Crimes within the jurisdiction of the ICC 1. Genocide 2. Crime against humanity 3. War crimes 4. aggression

3.4 หลักพื้นฐานของวิธีพิจารณาคดีใน ICC หลักเขตอำนาจเสริม Principle of complementarity หลักห้ามลงโทษซ้ำPrinciple of Ne Bis In Idem หลักความรุนแรงที่เพียงพอ Principle of gravity หลักไม่มีอายุความ No statute of limitation หลักความรับผิดของบุคคลธรรมดา Individual responsibility

3.5 การรับคดีของ ICC

การรับคดีประเภทอาชญากรรมรุกราน (aggression)

ผู้เสียหายสามารถเริ่มคดีเองได้หรือไม่ ? -ไม่ได้ -ผู้เสียหายสามารถแจ้งอัยการให้อัยการตัดสินใจสอบสวนเองได้โดย ต้องได้รับความยินยอมจาก Pre-trial Chamber

4. ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาลอาญาระหว่างประเทศ 4.1 รัฐมีหน้าที่อย่างไรต่อ ICC ? 4.2 Shall every serious criminals be extradited to International Criminal Court? 4.3 Can Immunity or Privilege be barred the surrender of the most serious criminal?

4.1 รัฐมีหน้าที่อย่างไรต่อ ICC? 1. ถ้าเป็นรัฐภาคี ต้องส่งผู้กระทำความผิดให้กับ ICC. 2. ถ้าไม่ใช่รัฐภาคี ไม่มีหน้าที่ต้องส่งผู้กระทำความผิดให้ ICC 3. แต่ถ้า Security Council referral under Chapter VII of the UN Charter, รัฐสมาชิก UN ทุกรัฐ ต้องร่วมมือกับ ICC ไม่ว่าจะเป็นรัฐภาคีหรือไม่

4.2 ผู้กระทำความผิดร้ายแรงสูงสุดทั้งสี่ฐานจะต้องถูกส่ง ตัวไป ICC หรือไม่ ? ไม่จำเป็น ขึ้นอยู่กับ – State’s obligation to ICC Principle of complementarity Principle of Ne Bis In Idem Principle of gravity

4.3 ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ทางการทูตจะขัดขวางการใช้อำนาจ ของ ICC ได้หรือไม่ ? -ไม่ได้ -Article 27 of the Rome Statute 1. This Statute shall apply equally to all persons without any distinction based on official capacity. In particular, official capacity as a Head of State or Government, a member of a Government or parliament, an elected representative or a government official shall in no case exempt a person from criminal responsibility under this Statute, nor shall it, in and of itself, constitute a ground for reduction of sentence. 2. Immunities or special procedural rules which may attach to the official capacity of a person, whether under national or international law, shall not bar the Court from exercising its jurisdiction over such a person.

http://acelebrationofwomen.org/wp-content/uploads/2010/07/TRISHA-SMITH-menupic012-en.jpg