เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยืมระหว่างห้องสมุด Book Delivery
Advertisements

การยืมหนังสือด้วยตัวเอง (Self-Checkout)
Real Time Information Integration System
แผ่นป้ายประชาสัมพันธ์อัจริยะ Smart Advertising
รู้จักกับเทคโนโลยี RFID เบื้องต้น
การเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
Warehouse and Material Handling
KM งานบริการยืม – คืน ครั้งที่ 1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ RFID
Assignment 2010/ คลังสินค้าและการขนถ่ายวัสดุ
งานศึกษาค้นคว้ารายงาน รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
Alfresco รัฐชัย ชาวอุทัย
Web/Library 2.0 เทคโนโลยีใหม่ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
Internet, & Network โดย ศน.ไพฑูรย์ ปลอดอ่อนและ อ.ศรชัย เกษมสุข.
ห้องสมุดดิจิทัล Digital library
มาตรฐานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
02:Information system e Syste m อ. ปกรณ์ วิญญู หัตถกิจ.
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
SECURITY DOOR USING RFID Present by นาย ณัฐพงศ์ จรูญเรือง KMUTNB นาย มหาณพ ภัทรภากร PSU.
SECURITY DOOR USING RFID Present by นาย ณัฐพงศ์ จรูญเรือง KMUTNB นาย มหาณพ ภัทรภากร PSU.
1 Security Door using RFID Present by Mr.Mahannop Pattarapakorn PSU Mr.Nattapong Jaroonruang KMUTNB.
RFID Technology.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
การพัฒนาโปรแกรมสืบค้น สื่อภาพยนตร์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ณัฐชาพงษ์ รักสกุล กานต์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ระเบียบ และ การเบิกจ่ายเงิน ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
สำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation)
ภาพรวมของระบบ. ระบบสารสนเทศสนับสนุนโครงการ รากฟันเทียมพระราชทานฯ DentIIS- Dental Implant Information System.
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
ระบบการชำระเงินของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Payment System
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
รหัสบ่งชี้โดยใช้ความถี่ของคลื่นวิทยุ
เทคโนโลยีสารพัดประโยชน์
ระบบ RIFD.
Computer Network.
The supply chain management system at
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ในประเทศไทย
TCP/IP Protocol นำเสนอโดย นส.จารุณี จีนชาวนา
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
พื้นฐานการอินเตอร์เฟส
การประชุมสายงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
HOMEWORK # นายวิทยา ศรีอุดร SEC A.
การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
เทคโนโลยี 3G อาจารย์ยืนยง กันทะเนตร
โดย ผศ. ดร. กานดา สายแก้ว1, ดร. พงษ์ศักดิ์ ฮุ่นตระกูล2
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
บทที่ 4 การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น Introduction to Internet
ข้อพึงระวังในการปฏิบัติงาน
การออกแบบระบบ System Design.
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
Checkout ห้างสรรพสินค้าเทสโก้โลตัส เอ็กซ์ตร้า สาขาสงขลา
เด็กอายุ 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัย
วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
แนวทางการจัดทำรายงาน
การบริการพื้นฐานของห้องสมุด
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
เครือข่ายการเรียนรู้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศในอนาคต
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๖ การเขียนรายงาน
โครงการบัตร SMART CARD อสม.
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
การจัดการสินค้าคงคลัง
วัน เวลา และห้องสอบ เวลาสอบวันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 8.00 – สอบที่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ห้อง 1401 และ 1404) ที่ปกสมุดคำตอบทุกเล่ม ต้องเขียนsection.
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์ในสังคมสารสนเทศ
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ตัวอย่างการนำ AI ไปใช้ในระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 436 285 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อห้องสมุดเฉพาะฯ 1. ช่วยในการบันทึกข้อมูลข่าวสาร และสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว 2. บันทึกข้อมูลและสารสนเทศได้เป็นจำนวนมาก 3. สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว 4. สามารถสื่อสารไปใช้ในระยะไกลได้

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.1 โปรแกรมสำนักงาน โปรแกรมจัดการงานเอกสาร โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมสเปรดชีท

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ ลักษณะ เป็นระบบเบ็ดเสร็จ เป็นโปรแกรมที่ทำงานในระบบเครือข่าย เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาสำหรับงานห้องสมุดโดยเฉพาะ เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสำหรับงานห้องสมุดทุกงาน

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ ตัวอย่างโปรแกรม ELIB L Spider Library 2000 นวสาร Alice for Window

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ การพิจารณานำระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาใช้ เลือกขนาดโปรแกรมให้เหมาะสมกับขนาดห้องสมุด ให้เลือกซื้อระบบงานที่จำเป็นก่อน ผู้ผลิตมีความมั่นคง หากไม่พร้อมด้านการเงินอาจใช้โปรแกรมฟรี หรือคิดขึ้นเอง

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2. เทคโนโลยีที่ใช้ร่วมกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 2.1 บาร์โค้ด 2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด 2.3 RFID 2.4 Self Checkout 2.6 ประตูกันขโมย 2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก 2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.1 บาร์โค้ด ส่วนประกอบของบาร์โค้ด 1. ส่วนลายเส้นซึ่งเป็นลายเส้นสีขาว (โปร่งใส) และสีดำ 2. ส่วนข้อมูลตัวอักษร 3. แถบว่าง

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ ประเภทของบาร์โค้ด Smart Barcode Dumb Barcode บาร์โค้ดกับงานห้องสมุด บัตรประจำตัวสมาชิก (Patron/ User Card) เลขประจำหนังสือ (Item Barcode)

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.3 RFID : Radio Frequency Identification 1. ป้ายระบุข้อมูลของวัตถุ (Tag)

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.3 RFID : Radio Frequency Identification 2. เครื่องอ่านสัญญาณความถี่วิทยุ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด บริการรับคืนวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด เรียงวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด ระบบรักษาความปลอดภัยของวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด เครื่องตรวจสอบชั้นวางวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด เครื่องบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศอัตโนมัติ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด การสำรวจวัสดุสารสนเทศและการจัดชั้น

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ ขั้นตอนการทำงานของ RFID 1. Folio Tag 2. Tagging 3. Check out 4. Security Gates 5. Book Return 6. Shelf Management Reader

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.4 Self Checkout

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.6 ประตูกันขโมย

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ 3.2 อีเมล์ 3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN 3.4 Z39.50 3.5 อินเทอร์เน็ต 3.6 อินทราเน็ต 3.7 web2.0 / Library 2.0

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ ใช้ในการสื่อสารข้อมูลของห้องสมุดและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.2 อีเมล์ ใช้ในการติดต่อระหว่างหน่วยงาน และใช้ในการให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN สำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายของห้องสมุดเข้ากับเครือข่ายทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงาน

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.4 Z39.50 เป็นมาตรฐานกำหนดรูปแบบวิธีการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นไปยังระบบอื่นๆ ได้มากกว่า 1 ระบบ ได้โดยไม่ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบและข้อกำหนดของระบบที่ต้องการติดต่อด้วย

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ Z39.50 กำหนดการทำงานด้วย Protocol Z39.50ทำงานดังนี้ 1. Initialization 2. Search 3. Retrieval 4. Result Set Delete 5. Access Control 6. Accounting /Resource Control 7. Sort 8. Browse 9.Extended Services 10. Explain 11. Termination

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.5 อินเทอร์เน็ต มีประโยชน์คือ ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศสาขาต่างๆ ใช้ในการติดตามข่าวสารที่ทันสมัยต่างๆ ผู้ใช้สามารถสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุดผ่านเว็บได้ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของห้องสมุดผ่านเว็บได้ เป็นประโยชน์ในการทำงานของบรรณารักษ์

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.6 อินทราเน็ต ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในองค์กร

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 web2.0 / Library 2.0 Web 2.0 การสร้างเว็บให้ผู้ใช้มีส่วนร่วม Library 2.0 พัฒนามาจากแนวคิดของ Web 2.0

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 web2.0

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 Library 2.0 ผู้ใช้มีส่วนร่วม บริการแบบ “User Center Services”

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 Library 2.0 เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ Blog 60 % Wikis 46.7% RSS 73.3% IM 26.7% Social Bookmarking 33.3%

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 4. เทคโนโลยีภาพลักษณ์ 4.1 สื่อที่ใช้ในการจัดเก็บ 4.2 ระบบจัดเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ CANON Canofile KEYFILE Kodak ImageLink SPOOLVIEW INFOMA

CANON Canofile

Kodak ImageLink

ปัญหาการนำเทคโนโยลีสารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดเฉพาะ 1. ห้องสมุดขาดแคลนงบประมาณ 2. ห้องสมุดขาดแคลนบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เทคโนโลยีมักล้าสมัยเร็ว 4. ห้องสมุดเฉพาะส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก