บทที่ 5 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนะนำอุปกรณ์ระบบคอมพิวเตอร์
Advertisements

บทที่ 8 การใช้รูปภาพ และการออกแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ
คู่มือการติดตั้ง Printer และ รูปแบบใบเสร็จรับเงิน
ส่วนประกอบหลักและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กไปถีงคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีการทำงาน.
Chapter 3 : Still Image (ภาพนิ่ง)
การแปลงขนาดไฟล์รูปภาพ เทคนิคสำคัญ!!!
หน่วยการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์
1.
กราฟิกสำหรับเว็บไซต์
1 GIMP : Graphics Design for Web บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ นักวิชาการ 1 ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี (TIAC) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
: Computer Graphics (คอมพิวเตอร์กราฟิกส์)
เทคนิคการใช้งาน Adobe Photoshop นรินทร บุญพราหมณ์
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
Introduction to Multimedia
Image Technology Department of Computer Education KMITNB.
Basic Color HSB Model หลักการมองเห็นสีด้วยสายตาคน เป็นพื้นฐานการมองเห็นสี ตามสายตามนุษย์ HSB Model จะ ประกอบขึ้นด้วยลักษณะของสี 3 ลักษณะ Hue เป็นที่สะท้อนมาจากสีของวัตถุ
Selection แผนที่ 2 หน่วยที่ 4.
การแก้ไขปัญหาเครื่องพิมพ์
แบบทดสอบ Photoshop.
หน่วยนำข้อมูลเข้าและออก Input Unit And Output Unit
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
Principle of Graphic Design
รู้จักกับชนิดของภาพกราฟิกบนเว็บ
Pretest.
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
การจัดการเกี่ยวกับรูปภาพตอนที่ ๒ การเรียงภาพหลายภาพเป็นภาพ เดียวกัน ๑. เข้าใช้งานชุดคำสั่ง ADOBE PHOTOSHOP รุ่น ๕. ๕.
เริ่มต้น Photoshop CS5.
วัตถุประสงค์ อธิบายความหมายของการรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์นรับเข้าได้ อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์บันทึกภาพ อธิบายความหมายของการส่งออก อธิบายเกี่ยวกับอุปกรณ์ส่งออก.
Output คือ การแสดงผลลัพท์ หรือ สารสนเทศ ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล แบ่งเป็น –Soft Copy ผลลัพท์ชั่วคราว –Hard Copy ผลลัพท์ถาวร Screen Output, Printed Output,
MULTIMEDIA REPRESENTATION IMAGE / VIDEO / AUDIO รศ. ดร. อรฉัตร จิตต์โสภักตร์ ECC-915.
Image Processing Course
อุปกรณ์นำเข้าข้อมูล (Input Device) Input หมายถึง การป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อทำการประมวลผลโดย User จะเป็นผู้ป้อนข้อมูลเข้าสู่ เครื่อง.
วิชาโปรแกรมกราฟิก. หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก หน่วยที่ 2 ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ หน่วยที่ 3 การใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop.
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
บทที่ 4 : ตัวอักษร (Text) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
คอมพิวเตอร์..เทคโนโลยีในโลกปัจจุบัน
ความรู้พื้นฐานโปรแกรม Adobe Photoshop
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ประเภทของกล้องถ่ายภาพ
GIMP : Graphics Design for Web
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
อาจารย์เนารุ่ง วิชาราช แนะนำวิชา จุดมุ่งหมาย
Digital กับการประยุกต์
การเก็บคะแนน 100 คะแนน ก่อนกลางภาค 30 คะแนน สมุดจด.
บทที่ 5 สื่อสร้างสรรค์ 1.
คอมพิวเตอร์คืออะไร      คอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่เอื้อประโยชน์ต่อการแสวงหาสารสนเทศ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูล.
บทที่ 2 Input & Output Devices
Web Design.
การออกแบบและพัฒนาเว็บ (WEB DESIGN AND DEVELOPMENT)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (Information Technology for Life)
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
การแทนข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ ผศ. กัลยาณี บรรจงจิตร 31/12/61.
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ADOBE Dreamweaver CS3.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
ประเภทของภาพในคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
หลักการทำงาน ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
บทที่ 6 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
บทที่ 2 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
ภาพนิ่ง (Still Image).
เสียง.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 2 อุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผล (Input & Output Devices)
หน่วยความจำ (Memory หรือ Storage).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 5 : ภาพบิตแมป สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ชนิดของภาพบิตแมป อุปกรณ์สำหรับบันทึกและ นำเข้าภาพดิจิตอล ขั้นตอนการประมวลผลภาพ คุณภาพของรูปภาพดิจิตอล ไฟล์ภาพชนิดต่างๆ เครื่องพิมพ์ ซอฟต์แวร์สำหรับ ภาพกราฟิก

ชนิดของภาพบิตแมป ภาพบิตแมปเป็นภาพดิจิตอลที่เกิดจากการเก็บค่าสีของ ทุกพิกเซลเอาไว้ในรูปของอาร์เรย์ โดยความสวยงาม ของภาพจะขึ้นอยู่กับจำนวนสีที่แต่ละพิกเซลสามารถ แสดงได้ ชนิดของภาพบิตแมปประกอบไปด้วย ภาพขาวดำ 1 บิต (Monochrome) - ค่าสีของพิกเซลจะเป็น 0 หรือ 1 เท่านั้น ภาพโทนสีเทา 8 บิต (Grayscale) - มีค่าสีแต่ละพิกเซล ตั้งแต่ 0 ถึง 255 ภาพสี 8 บิต - หรือภาพแบบ 256 สี ภาพสี 24 บิต – แต่ละพิกเซลจะมีขนาด 3 ไบต์ แต่ละไบต์ แทนค่า RGB ตั้งแต่ 0 ถึง 255 แต่ละพิกเซลสามารถแสดงสีได้ 16.7 ล้านสี (256x256x256)

ตัวอย่างภาพบิตแมปชนิดต่างๆ Monochrome Grayscale

ตัวอย่างภาพบิตแมปชนิดต่างๆ Color 24 bit Color 8 bit

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล อุปกรณ์นำเข้าภาพดิจิตอลที่สำคัญ ได้แก่ เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) กล้องดิจิตอล (Digital Camera)

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Scanner

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Scanner ประเภทของสแกนเนอร์ Flat Scanner – ใช้งานตามบ้านหรือสำนักงานทั่วไป สแกนรูปหรือเอกสารทั่วๆไป Drum Scanner – สแกนงานคุณภาพสูง ภาพที่สแกน ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบฟิล์ม หรือภาพความละเอียดสูง Barcode Scanner - ใช้อ่านบาร์โค้ดที่มีขนาดความ กว้างและพื้นที่ระหว่างเส้นต่างกัน

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Scanner คุณภาพการสแกนจะขึ้นอยู่กับความละเอียด (Resolution) และจำนวนสี (Color Depth) ความละเอียด - วัดได้ในหน่วยจุดต่อนิ้ว (Dot Per Inch : dpi) ยิ่งค่า dpi มาก ยิ่งมี ความละเอียดมาก แต่จะใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมาก ตามไปด้วย จำนวนสี – สแกนเนอร์ทั่วไปจะสามารถสแกนสีได้ สูงสุด 24 บิต โดยสามารถปรับลดจำนวนสีลงได้

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Digital Camera กล้องดิจิตอลสามารถถ่ายได้ทั้งภาพนิ่ง และ ภาพเคลื่อนไหว บันทึกและจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบดิจิตอลลงใน หน่วยจัดเก็บข้อมูล แทนการบันทึกลงแผ่นฟิล์ม เหมือนกล้องฟิล์มในยุคก่อน MIRRORLESS CAM COMPACT CAM DSLR CAM

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล :Digital Camera

อุปกรณ์สำหรับบันทึกและนำเข้าภาพดิจิตอล : Digital Camera กล้องดิจิตอลมีซอฟต์แวร์ที่ถูกติดตั้งอยู่ใน ROM (ปกติจะเรียกว่า Firmware) ผู้ใช้สามารถเลือกโหมดกล้องเพื่อใช้ถ่ายภาพ และโหมดเพลย์สำหรับแสดงผลภาพถ่าย รวมถึง การจัดการกับภาพถ่ายด้วย

ขั้นตอนการประมวลผลภาพ Input แปลงภาพจากอนาล็อกเป็นดิจิตอล นำภาพเข้าสู่คอมพิวเตอร์ Edit Color Calibration เป็นการปรับปรุงสีตามหลักคณิตศาสตร์ เพื่อให้ภาพแสดงบนจอได้อย่างเหมาะสม ใช้ซอฟต์แวร์สำหรับแก้ไขและตกแต่งภาพในคอมพิวเตอร์ Output นำเสนอข้อมูล อัพโหลดลงเว็บไซต์ ทำสื่อประชาสัมพันธ์

คุณภาพของรูปภาพดิจิตอล จำนวนพิกเซลในแนวตั้งและแนวนอน (Pixel Dimension) ความละเอียดของภาพ (Image resolution) หน่วย เป็นจำนวนพิกเซลต่อนิ้ว (Pixel Per Inch : ppi) ขนาดไฟล์ (File Size) คำนวณได้จากสมการ File Size (Byte) = (Pixel Width x Pixel Height) x (Bit Depth/8) จำนวนสี (Color Depth) หรือจำนวนบิต (Bit Depth)

ไฟล์ภาพชนิดต่างๆ JPEG (Joint Photographer Expert Group) – เป็นไฟล์ภาพทั่วไป รองรับสีทั้งในโหมด CMYK, RGB BMP (Bitmap) – เป็นไฟล์มาตรฐานบนวินโดวส์ แสดงผลได้ 16.7 ล้านสี คุณภาพต่ำกว่า JPEG GIF (Graphic Interchange Format) – เป็นไฟล์ ภาพที่มีขนาดเล็ก แสดงสีได้ไม่เกิน 256 สี นิยม ใช้ในงานออกแบบโลโก้ หรือไฟล์รูปบนเว็บไซต์ ต่างๆ สามารถแสดงเป็นภาพเคลื่อนไหวในช่วงเวลา สั้นๆได้

ไฟล์ภาพชนิดต่างๆ [2] TIFF (Tag Image File Format) – ใช้งานได้กับ โปรแกรมด้านกราฟิกทุกประเภท มีความยืดหยุ่นสูง รองรับโหมดสี RGB, CMYK PNG (Portable Network Graphic) – ใช้วิธีการ บีบอัดที่มีประสิทธิภาพ เก็บรักษาคุณภาพเอาไว้ได้ แสดงผลได้ 16.7 ล้านสี PICT (Picture) – นิยมใช้กับแพล็ตฟอร์ม Macintosh แสดงสีได้ 16.7 ล้านสี PSD (Photoshop Document) – ใช้ในโปรแกรม Adobe Photoshop เป็นไฟล์ภาพคุณภาพสูง ทำการบันทึกแยกเลเยอร์ เก็บคุณสมบัติของภาพไว้ ครบทุกรายละเอียด

เครื่องพิมพ์ การแสดงผลลัพธ์บนเครื่องพิมพ์ – ปัจจัยที่สำคัญ ที่สุดที่ส่งผลต่อคุณภาพในการพิมพ์คือ ความ ละเอียดของเครื่องพิมพ์ มีหน่วยเป็นจุดต่อนิ้ว (dpi) เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ Laser Printer Inkjet Printer

เครื่องพิมพ์ : Laser Printer ถูกพัฒนาในปี 1984 โดย Hewlett Packard โดยนำเทคโนโลยีเครื่องถ่ายเอกสารของ Canon มาใช้ เครื่องพิมพ์เลเซอร์จะใช้แสงเลเซอร์สร้างภาพที่ ต้องการลงบนแท่งทรงกระบอก (Drum) บริเวณขอ งดรัมที่ถูกแสงเลเซอร์จะมีประจุเป็นบวก เมื่อดรัม หมุนมาถึงตัวปล่อยผงหมึก ผงหมึกจะเกาะบริเวณที่ มีไฟฟ้าเป็นบวก แล้วจะซึมลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์มีคุณภาพสูง และมีค่าใช้จ่ายในการ พิมพ์ต่อแผ่นค่อนข้างต่ำ

หลักการทำงานของเครื่องพิมพ์เลเซอร์

เครื่องพิมพ์ : Inkjet Printer ใช้หลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า บังคับให้หัวฉีดพ่นละอองหมึกลงบนแผ่นกระดาษ เทคโนโลยีอิงค์เจ็ตมี 2 ประเภท ดังนี้ เทคโนโลยีการใช้ความร้อน (Thermal Technology) – จะใช้ความร้อนในการพ่นหมึกให้เป็นฟองลงบน แผ่นกระดาษ นิยมใช้ในเครื่องพิมพ์ Canon และ HP ข้อเสียคือหากพิมพ์มากเกินไปจะทำให้เกิดความร้อนสูง เทคโนโลยี Piezo Electric – พัฒนาโดย Epson โดย ใช้ Piezo Crystal ซึ่งเป็นผลึกที่มีคุณสมบัติที่เกิดการ สั่นสะเทือนเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจนเกิดแรงผลักให้ หัวพ่นหมึกออกมา ข้อดีคือไม่ต้องผ่านกระบวนการทาง ความร้อน

Thermal Inkjet

ซอฟต์แวร์สำหรับงานกราฟิก