ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Structure and Concept of Interactive lecture
Advertisements

จิตเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Psychiatric Emergency
Palliative Treatment : From Cure to Care
อินเดีย : มุมมองด้านการศึกษาที่เป็นความต้องการของสังคมไทย
Clinical Reasoning (clinical analysis & decision making)
Psychiatric emergency Case 1
Adrenal Insufficiency and adrenal crisis
Urban Mental Health Child and Adolescence
Chanesd srisukho.  ผู้หญิงเอาแต่ใจ ชอบแสดงออกเกินความเป็นจริง ชอบ แต่งกายให้คนรอบข้างสนใจ แต่ใจอ่อน เชื่อคนง่าย ดังนั้นผู้ป่วยเป็น Personality trait.
ครูปัทมา แฝงสวัสดิ์. การอ่านเรื่องงานแล้ว บอกรายละเอียดและ สาระสำคัญ.
Social Status by KRU_AW. In sociology, social status is a certain position in the soceity. The status may likely be an occupation such as nurse in Bang-Bo.
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
สุขภาพช่อง ปาก : สุขภาพผู้สูงอายุ พญ. สิรินทร ฉันศิริกาญจน หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
ค่ายละอย่างน้อย 100 คน ระยะเวลา 20 วัน (15 มี. ค -15 พ. ค 57) ค่ายภาษาอังกฤษแบบเข้ม สำหรับนักเรียน ปี ค่ายภาษาอังกฤษแบบ เข้มสำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
จิตวิทยาการเรียนรู้.
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
(Attention-Deficit Hyperactivity Disorder)
Burden of disease measurement
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
พญ.รจนพรรณ นันทิทรรภ กลุ่มงานจิตเวช รพ.นครพิงค์
Chapter 6 Diplomatic and Consular Privileges and Immunities
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
17 มิถุนายน 2559 โรงแรมเชียงใหม่ออร์คิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
โรคจิตเภท และโรคจิตที่สำคัญ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
Nursing Care for Patient with Behavior Disorders
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การเขียนบทความวิชาการ
ปัญหาสุขภาพจิตกับการใช้สุรา: แนวโน้มกับการป้องกัน
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
“การรักษาภาวะฉุกเฉินจากโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย”
Delirium in critical patient
การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การพยาบาลผู้ที่มีนึกคิดและการรับรู้ผิดปกติ : Dementia, Delirium
พระพุทธศาสนา.
กระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภค
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
กระบวนการรับรู้ของผู้บริโภค
ผลกระทบของความรุนแรงที่มีต่อ เด็กและวัยรุ่น
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
Public Health Nursing/Community Health Nursing
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
ความรู้พื้นฐานโรคทางจิตเวช
Medical Communication/Counseling Training for the “Trainers” คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ธันวาคม 2558.
Working with the families of the Midlife
RECOMMENDED BOOK ปราณี เมนฮูด. วิสัยทัศน์แห่งพันธกิจโลก
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
ผลการบำบัดยาเสพติด ของโรงพยาบาลสวนปรุง
ภาควิชาทันตกรรมทั่วไปขั้นสูง
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
Risk-taking behaviors in Adolescent
อาจารย์สิรินทร เลิศคูพินิจ
แนวทางการ ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช

บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน ภายหลังจบบทเรียนผู้เรียนสามารถ 1.อธิบายความหมายแนวคิดของการพยาบาลผู้ป่วย จิตเวชในภาวะวิกฤตและฉุกเฉินได้ 2. อธิบายชนิดและสาเหตุของภาวะวิกฤตได้ 3. อธิบายปฏิกิริยาตอบสนองในภาวะวิกฤตได้ 4. สามารถให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะวิกฤติและฉุกเฉินได้ วัตถุประสงค์

คำถามก่อนเรียน นักศึกษาเคยเจอวิกฤติในชีวิตไหม 1. จากบ้านมาเรียน 2. ญาติที่รักใกล้ชิดเสียชีวิต 3. แฟนทิ้ง 4.สอบสภา- ได้,เกือบได้ เกือบจบ

คำถามก่อนเรียน 1.ภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน ต่างกันอย่างไร 2. ปฏิกิริยาบุคคลในภาวะวิกฤติ 3. การพยาบาลภาวะวิกฤติ 4. ปฏิกิริยาบุคคลในภาวะฉุกเฉิน 5.การพยาบาลภาวะฉุกเฉิน

Emergency conditions 1. Aggression 2. Suicide 3. Medical conditions 4. Psychosis

1. แนวคิดของการพยาบาลผู้ป่วย จิตเวชในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน 1. แนวคิดของการพยาบาลผู้ป่วย จิตเวชในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน ในภาวะปัจจุบัน เราต้องเผชิญภาวการณ์ต่างๆ ภาวะเครียด การเผชิญความเครียด ภาวะปกติล้มเหลว ความเครียดทำให้รู้สึก กังวล กลัว รู้สึกผิด โกรธและรู้สึกหมดหนทาง หรือภาวะที่เผชิญกับที่ไม่คาดฝันทำให้ชีวิตต้องเปลี่ยนแปลง กะทันหัน ภาวการณ์อาจก่อให้เกิดวิกฤติได้ถ้าหากว่า กลไก การปรับตัวของเราล้มเหลว ดังนั้นในฐานะพยาบาลต้องเรียนรู้ ในเรื่องภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน

ความหมายของความเครียด ภาวะความกดดันหรือการถูกคุกคามทางอารมณ์ ที่บุคคลตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระทบ ทำให้ต้องปรับตัวให้ร่างกายและจิตใจให้อยู่ในภาวะที่สมดุล

สรุป วิกฤติ Crisis หมายถึง สถานการณ์ที่บุคคลขาด = An emotionally significant event or radical change of status in a person’ s life. Webster’s Dictionary =เหตุการณ์คับขันที่เกิดขึ้น เมื่อบุคคลประสบกับอุปสรรค ต่อเป้าหมายชีวิต หมายถึง An upset in a steady state (Caplan,1965) สรุป วิกฤติ Crisis หมายถึง สถานการณ์ที่บุคคลขาด ความสมดุลทางด้านจิตใจในการใช้กลไกทางจิตในการแก้ไขปัญหา หรือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นอยู่เดิม ทำให้เกิดการสูญเสียด้านสมดุลย์

=is a temporary state of severe emotional Crisis =is a temporary state of severe emotional Disorganization caused by failure of coping. Nclex-RN Crisis มี 4 Phase 1.External precipiting event 2.Perception of the threat,Increase in anxiety,Client may cope or resolve the crisis. 3.Failure of coping,Increasing disorganization,Emergence of physical symptoms,Relationship problems. 4.Mobilization of internal and external resourse,Goal is to return the Client to at least a prsecrisis level of functioning. สรุป วิกฤติ Crisis หมายถึง สถานการณ์ที่บุคคลขาดความสมดุลทางด้านจิตใจในการใช้กลไกทางจิตในการแก้ไขปัญหา หรือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นอยู่เดิม ทำให้เกิดการสูญเสียด้านสมดุล ไม่สามารถปรับกลไกทางจิตได้

Types of Crisis Crisis 1.Maturational 2.Situational 3.Adventitious Grief is a natural emotional response to loss that individual Must experience as they attempt to accept the loss. Loss is the absence of something desired or previously thought to be aviable. Types of Crisis 1.Maturational 2.Situational 3.Adventitious The Grief Response 1.Shock and Disbelief 2.Experiencing the loss ต่อรองและซึมเศร้า 3.Reintegration-ยอมรับ

1.องค์ประกอบภาวะวิกฤตมี 3 องค์ประกอบ 1.องค์ประกอบภาวะวิกฤตมี 3 องค์ประกอบ 1.การรับรู้เหตุการณ์ของบุคคล 1.1 ถ้าการรับรู้เหตุการณ์ในเรื่องการ สูญเสีย อาจจะจาการสูญเสียจริงหรือ แยกจากกัน บุคคลจะมีอาการซึมเศร้า 1.2 ถ้าการรับรู้เหตุการณ์เป็นการท้าทายความสามารถ บุคคลจะระดมเอาพลังของเขามาใช้การแก้ไขปัญหา เช่นการแต่งงาน การได้เลื่อนตำแหน่งงาน 1.3 ถ้าการรับรู้เหตุการณ์เป็นจริงหรือบิดเบือน

1.องค์ประกอบภาวะวิกฤตมี 3 องค์ประกอบ(ต่อ) 1.องค์ประกอบภาวะวิกฤตมี 3 องค์ประกอบ(ต่อ) 2. การมีบุคคลที่ช่วยเหลือ ช่วยปกป้องและ ให้กำลังใจเกิดความรู้สึกมั่นคงในทางตรงกันข้าม อาจทำให้เกิดภาวะไม่สมดุลจะทำให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ 3. ความสามารถในการเผชิญกับความเครียด บุคคลมีความสามารถในการเผชิญกับความเครียดได้ดี อาจใช้วิธีหาคนปรึกษา พูดถึงปัญหา ทำกิจกรรมลดความเครียด ในทางตรงกันข้ามอาจทำให้เกิดภาวะไม่สมดุลจะ ทำให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์

ทฤษฏีภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Crisis theory) 1.Eric Lindemann(Boston Coconut Grove Club ในปี 1942) พบว่า การสูญเสีย คนที่รักจากการตายนำไปสู่ภาวะวิกฤต ทางอารมณ์และทำให้มีปฏิกิริยาของ การเศร้าโศกที่ผิดปกติได้คืออาจจะมี อาการเศร้าโศกนานเกินไปหรือ มีอาการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือเป็นโรคซึมเศร้าได้

ทฤษฏีภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Crisis theory)ต่อ ปฏิกิริยาเศร้าโศกเสียใจผิดปกติ(Normal grief reaction) 1.มีอาการทางด้านร่างกาย 2. มีความคิดหมกมุ่นอยู่กับภาพของผู้ตาย 3. แสดงออกของความรู้สึกผิด ตำหนิตัวเอง เกี่ยวกับสิ่งที่ตนควรทำหรือ ไม่ควรทำในช่วงที่ผู้ตายยังมีชีวิตอยู่ 4. มีความบกพร่องในการทำกิจวัตรประจำวัน 5. บางครั้งอาจจะมีการเลียนแบบอาการเหมือนกับอาการของผู้ตาย

ทฤษฏีภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Crisis theory) 2. เจอราลด์ แคพแลน (Gerald Caplan)ได้ศึกษาภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นตามพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่ วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น นอกจากนี้ยังศึกษาภาวะวิกฤตทางอารมณ์ที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญเช่นความเจ็บป่วย การตาย ทำให้มีปฏิกิริยาต่อการเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ได้ ปฏิกิริยาต่อการเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์มี 4 ระยะ

ทฤษฏีภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Crisis theory) 2. Gerald Caplan ปฏิกิริยาต่อการเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์มี 4 ระยะ

ทฤษฏีภาวะวิกฤตทางอารมณ์(Crisis theory) 3. พาราดและรีสนิค(Parad and Resnik) มี 3 ระยะด้วยกันคือ ระยะก่อนเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์(precrisis) ระยะวิกฤตทางอารมณ์(Crisis) และระยะหลังเกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์(post crisis)

การปรับตัวของบุคคลในภาวะวิกฤต 1 Shock ตื่นตกใจ 2- 3 วัน ขาดสติ 2 Defensive Retreat ปฎิเสธ โกรธ ต่อต้าน 3 Acknowlegement ตระหนักในสถานการณ์ - แก้ไขปัญหา 4 Adatation and Changeระยะปรับตัวและเปลี่ยนแปลง

รูปแบบการช่วยเหลือบุคคลที่อยู่ในภาวะวิกฤต ระดับที่ 1 การจัดการสิ่งแวดล้อม ระดับที่ 2 การประคับประคองทั่วไป ระดับที่ 3 การช่วยเหลือแบบกลุ่ม ระดับที่ 4 การช่วยเหลือรายบุคคล

การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน 1)การประเมินปัญหา ค้นหาข้อมูล ประเมินการรับรู้และปัจจัยที่มีผลกระทบ การประเมินความเข้มแข็งกลไกการปรับตัวและประเมินแหล่งช่วยเหลือสนับสนุนของบุคคลประเมิน 4 ด้าน 1.อารมณ์ 2.สติปัญญา 3.สังคม 4.จิตวิญญาณ 2) การวางแผนให้การพยาบาล 3) การปฏิบัติการ 4) การประเมินผล

การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1. ด้านอารมณ์ -มีความวิตกกังวลรุนแรงเนื่องจากภาวะวิกฤต -มีความวิตกกังวลจนไม่สามารถเผชิญปัญหาได้เนื่องจากภาวะวิกฤต -มีความรู้สึกสิ้นหวัง(ไร้พลัง)ได้เนื่องจากภาวะวิกฤต - เสี่ยงต่อพฤติกรรมรุนแรงเนื่องจากไม่สามารถควบคุมอารมณ์โกรธได้จากการมีภาวะวิกฤต

การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2. ด้านสติปัญญา - กระบวนการคิดบิดเบือนจากการรับรู้ถูกรบกวนเนื่องจากภาวะวิกฤต -มีความจำบิดเบือนเนื่องจากภาวะวิกฤต -ใช้กลไกทางจิตไม่เหมาะสมเนื่องจากวิตกกังวล -การสื่อสารทางภาษาบกพร่องเนื่องจากมีภาวะวิกฤต -การตัดสินใจไม่เหมาะสมเนื่องจากภาวะวิกฤต

การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3.ด้านสังคม -มีความวิตกกังวลเนื่องจากสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดความเครียด -บทบาททางสังคมบกพร่องเนื่องจากภาวะวิกฤต -การมีปฎิสัมพันธ์กับสังคมบกพร่องเพราะขาดแหล่งช่วยเหลือสนับสนุนเนื่องจากภาวะวิกฤต

การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4.ด้านจิตวิญญาณ -มีความรู้สึกสิ้นหวัง(ไร้พลัง)ได้เนื่องจากภาวะวิกฤต -มีความบีบคั้นทางจิตวิญญาณเพราะการรับรู้บิดเบือนเนื่องจากภาวะวิกฤต

จงทำ concept mappingการพยาบาล ผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤติ

การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ในภาวะวิกฤติ 3. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับภาวะวิกฤตและฉุกเฉินมี 3 องค์ประกอบ 1.การรับรู้เหตุการณ์ของบุคคล 1.1 ถ้าการรับรู้เหตุการณ์ในเรื่องการสูญเสีย อาจจะจาการสูญเสียจริงหรือแยกจากกัน บุคคลจะมีอาการซึมเศร้า 1.2 ถ้าการรับรู้เหตุการณ์เป็นการท้าทายความสามารถ บุคคลจะระดมเอาพลังของเขามาใช้การแก้ไขปัญหา เช่นการแต่งงาน การได้เลื่อนตำแหน่งงาน 1.3 ถ้าการรับรู้เหตุการณ์เป็นจริงหรือบิดเบือน ถ้าการรับรู้เหตุการณ์เป็นจริง บุคคลเห็นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์วิกฤตกับความรู้สึกเครียดของตนเอง บุคคลสามารถแก้ไขปัญหาและมีผลโดยตรงต่อการแก้ปัญหาได้สำเร็จ ถ้าการรับรู้เหตุการณ์บิดเบือนจะนำไปสู่ความรู้สึกตึงเครียดและพยายามแก้ไขปัญหา จะทำให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ 2. การมีบุคคลที่ช่วยเหลือ ช่วยปกป้องและให้กำลังใจเกิดความรู้สึกมั่นคงในทางตรงกันข้ามอาจทำให้เกิดภาวะไม่สมดุลจะทำให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ 3. ความสามารถในการเผชิญกับความเครียด ถ้าบุคคลมีความสามารถในการเผชิญกับความเครียดได้ดีอาจใช้วิธีหาคนปรึกษา พูดถึงปัญหา ทำกิจกรรมลดความเครียดในทางตรงกันข้ามอาจทำให้เกิดภาวะไม่สมดุลจะทำให้เกิดภาวะวิกฤตทางอารมณ์ 2. แนวคิดของการพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน 1.Eric Lindemann)ได้ศึกษาความเศร้าโศก (Grief)ของญาติผู้เคราะห์ร้ายที่เสียชีวิตจากเหตุไฟไหม้ที่ Boston Coconut Grove Club ในปี 1942 มีผู้เสียชีวิต 491 คนการศึกษาของเขาพบว่า การสูญเสียคนที่รักจากการตายนำไปสู่ภาวะวิกฤตทางอารมณ์และทำให้มีปฏิกิริยาของการเศร้าโศกที่ผิดปกติได้คืออาจจะมีอาการเศร้าโศกนานเกินไปหรือมีอาการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือเป็นโรคซึมเศร้าได้ ปฏิกิริยาเศร้าโศกเสียใจผิดปกติ(Normal grief reaction) 1. มีอาการทางด้านร่างกาย 2. มีความคิดหมกมุ่นอยู่กับภาพของผู้ตาย 3. แสดงออกของความรู้สึกผิด ตำหนิตัวเอง เกี่ยวกับสิ่งที่ตนควรทำหรือไม่ควรทำในช่วงที่ผู้ตายยังมีชีวิตอยู่ 4. มีความบกพร่องในการทำกิจวัตรประจำวัน 5. บางครั้งอาจจะมีการเลียนแบบอาการเหมือนกับอาการของผู้ตาย 2. Gerald Caplan)ได้ศึกษาภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นตามพัฒนาการของมนุษย์ 3. Parad and Resnik) มี 3 ระยะ ความหมาย วิกฤติ Crisis สรุป วิกฤติ Crisis หมายถึง ภาวะที่บุคคลขาดความสมดุลทางด้านจิตใจในการใช้กลไกทางจิตในการแก้ไขปัญหา หรือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากความเป็นอยู่เดิม ทำให้เกิดการสูญเสียด้านสมดุลต้องมีการใช้กลไกทางจิตเพื่อปรับสมดุลย์ของจิตใจ   การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวช ในภาวะวิกฤติ  4. การพยาบาล 1)การประเมินปัญหา ค้นหาข้อมูล ประเมินการรับรู้และปัจจัยที่มีผลกระทบ การประเมินความเข้มแข็ง กลไกการปรับตัวและประเมินแหล่งช่วยเหลือสนับสนุนของบุคคล ประเมิน 4 ด้าน 1.อารมณ์ 2.สติปัญญา 3.สังคม 4.จิตวิญญาณ 2) การวางแผน 3)การปฏิบัติการ 4)การประเมินผล เป้าหมาย แก้ไขปัญหาและกลับสู่สภาวะสมดุล 4-6 สัปดาห์ รูปแบบ ระดับที่ 1 การจัดการสิ่งแวดล้อม ระดับที่ 2 การประคับประคองทั่วไป ระดับที่ 3 การช่วยเหลือแบบกลุ่ม ระดับที่ 4 การช่วยเหลือรายบุคคล ดร.ฐิตวันต์ หงษ์ตติยานนท์

2.1 โรคจิตเฉียบพลัน (acute psychosis) 2. จิตเวชในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Psychiatry)ต่อ ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวชที่พบบ่อย 2.1 โรคจิตเฉียบพลัน (acute psychosis) 2.2 พฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง (violent behavior) 2.3 การฆ่าตัวตาย (suicidal behavior) 2.4 ภาวะซึมเศร้ารุนแรง (severe depression) 2.5 Acute mania 2.6 Hyperventilation syndrome

1.2.8 Alcohol intoxication and withdrawal 1. จิตเวชในภาวะฉุกเฉิน (Emergency Psychiatry)ต่อ ภาวะฉุกเฉินทางจิตเวชที่พบบ่อย 1.2.7 Acute anxiety 1.2.8 Alcohol intoxication and withdrawal 1.2.9 Substance abuse and withdrawal 1.2.10 Psychotropic drug side effects 1.2.11 Personality disorders 1.2.12 Child psychiatric emergency

1.3 สาเหตุที่ส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตเวชอย่างเฉียบพลันหรือรุนแรง ดังนี้ 1.3.1 Organic cause เกิดจากความผิดปกติทางกายต่างๆ หลายระบบได้แก่ 1.3.1.1 โรคทางสมอง เช่น Brain tumor, Intracranial hemorrhage, Encephalitis, Meningitis และโรคต่างๆ ที่ทำให้เกิด Cerebral Hypoxia หรืออุบัติเหตุทางสมอง ซึ่งมีผลทำให้ผู้ป่วยมีอาการซึมลงแล้วบางรายอาจมีอาการเอะอะโวยวาย และก้าวร้าว 1.3.1.2 Systemic diseases ที่มีผลต่อการทำงานของสมอง เช่น Electrolyte imbalance, Metabolic disorder, systemic infection, hypertension, hypoglycemia

1.3 สาเหตุที่ส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตเวชอย่างเฉียบพลัน(ต่อ) 1.3 สาเหตุที่ส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตเวชอย่างเฉียบพลัน(ต่อ) 1.3.2 จากยาหรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ยาหลายชนิด อาจทำให้เกิดผลต่อพฤติกรรมได้ เช่น 1.3.2.1 ภาวะเพ้อ (delirium) มีผลต่อการทำงานของสมอง ผู้ป่วยจะมีอาการผิดปกติเกี่ยวกับการรับรู้ เวลา สถานที่ บุคคลมีปัญหาเรื่องความจำ และระบบประสาทสัมผัสอาจทำงานผิดปกติได้ พบบ่อยในการใช้ยาหลายชนิด ในผู้สูงอายุ 1.3.2.2 ภาวะเมายา (Intoxication) วัตถุออกฤทธิ์จ่อจิตประสาทแบบกระตุ้นประสาทก็ทำให้เกิดอาการทางจิต (Psychosis) หรือถ้าเป็นวัตถุออกฤทธิ์แบบกดประสาทส่วนกลางจะทำให้มีอาการซึมลง

1.3.2 จากยาหรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ยาหลายชนิด อาจทำให้เกิดผลต่อพฤติกรรม(ต่อ) 1.3.2.3 ภาวะถอนยา (Withdrawal) วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทแบบกระตุ้นระบบประสาท ก็จะทำให้เกิดอาการซึมลง เฉื่อยชา คล้ายคนซึมเศร้า หรือถ้าถอนวัตถุออกฤทธิ์แบบกดประสาทส่วนกลาง จะทำให้มีอาการกระตุ้นของระบบประสาทอัตโนมัติอย่างแรงทำให้มีอาการกระสับกระส่าย ม่านตาขยาย ขนลุก ปวดเมื่อยตามกระดูก ท้องเสีย เป็นต้น ตัวอย่างยา หรือ วัตถุออกฤทธิ์ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Alcohol, Amphetamine, Opioid, Cocaine 1.3.3 Functional cause เป็นอาการของโรคทางจิตเวชเอง Psychosis เป็นกลุ่มอาการผิดปกติด้านความคิด การรับรู้ไม่เป็นตามความเป็นจริงหรือมีประสาทสัมผัสผิดปกติ เช่น Auditory Hallucination ผู้ป่วยมี paranoid delusion, persecutory delusion เป็นต้น อาการเหล่านี้สามารถพบได้ในโรค Schizophrenia, Schizoaffective, Psychotic feature

การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน (Psychiatric Emergency Nursing) หมายถึง การพยาบาลผู้ป่วยทางจิตเวชเกือบทุกอย่างที่มีอาการทางจิตรุนแรง หรือมีลักษณะซึ่งเสี่ยงต่อพฤติกรรมที่เป็นอันตรายต่อชีวิต หรือทรัพย์สินของตนเองและผู้อื่น (ฉวีวรรณ สัตยธรรม 2550)

คุณลักษณะของพยาบาลจิตเวชในการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน 2.1 มีความตื่นตัวในการช่วยเหลือ และปฏิบัติด้วยความคล่องแคล่วว่องไว 2.2.2 แสดงถึงความเต็มใจที่จะจัดการกับภาวะเสี่ยง และมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติจนเกิดผลสำเร็จ 2.2.3 มีท่าทางที่สงบ สุขุม รอบคอบ ในการควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉิน 2.2.4 เข้าใจเป้าหมายในการปฏิบัติการช่วยเหลือ เข้าใจเจตนาตนเองในการกระทำและเชื่อมั่นในการเลือกใช้วิธีการที่ดีที่สุดในการปฏิบัติการ 2.2.5 สามารถแยกปัญหาฉุกเฉินที่แท้จริงออกจากสถานการณ์วิกฤตที่ดำเนินอยู่ได้

3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน 3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน เป็นการนำกระบวนการพยาบาลมาใช้ในการประเมินสถานการณ์ วางแผนและเลือกวิธีให้การพยาบาลเพื่อจัดการกับสถานการณ์ที่เร่งด่วนทางจิตเวช โดยมีเป้าหมายเพื่อป้องกันอันตรายต่อชีวิตและป้องกันความเสียหายต่อทรัพย์สิน

3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน 3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน เป็นการนำกระบวนการพยาบาลมาใช้ในการประเมินสถานการณ์ วางแผนและเลือกวิธีให้การพยาบาลเพื่อจัดการกับสถานการณ์ที่เร่งด่วนทางจิตเวช โดยมีเป้าหมายเพื่อป้องกันอันตรายต่อชีวิตและป้องกันความเสียหายต่อทรัพย์สิน

3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน 3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน ท่านอยู่ในสถานการณ์ นี้ทำอย่างไร

3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน(ต่อ) 3. การให้การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน(ต่อ) 1 . การประเมินสภาพผู้ป่วยจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน เป็นขั้นตอนแรกที่มีความสำคัญที่สุด ต้องปฏิบัติอย่างรวดเร็วและระมัดระวัง การประเมินเป็นการประเมินเพื่อการวินิจฉัย (Diagnosis Assessment) ประกอบด้วย -การสร้างสัมพันธภาพเพื่อให้เกิดความร่วมมือ -แสดงท่าทียอมรับและให้เกียรติผู้รับบริการ -มีท่าทีเป็นมิตร สงบ และพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้รับบริการ -รับฟังอย่างใส่ใจและไวต่อการจับประเด็นปัญหาที่Clระบายความรู้สึก -มีความไวต่อการประเมินสถานการณ์ที่อาจเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา -ประเมินระดับความร่วมมือทั้งจากตัวผู้รับบริการเองและผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ โดยสร้างความเข้าใจและความรู้สึกมีส่วนร่วมของทุกคน

3.การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน(ต่อ) 2.การประเมินภาวะเสี่ยง (Risk Assessment) ผู้รับบริการไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมตนเองได้ เช่น กระวนกระวาย กระสับกระส่าย หรือมีประวัติของการมีพฤติกรรมรุนแรงมาก่อน เป็นต้น มีอาการสำคัญที่แสดงถึงความเสี่ยงต่อการทำร้ายตนเอง ทำร้ายผู้อื่น หรือทำลายทรัพย์สิน เช่น หวาดระแวง ก้าวร้าวรุนแรง

3.การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน(ต่อ) 2.การประเมินภาวะเสี่ยง (Risk Assessment) 3) มีพฤติกรรมหรือสัญญาณเตือนที่แสดงถึงความแปรปรวนอย่างรุนแรงของความคิด อารมณ์ การรับรู้ และอื่นๆ เช่น มีอาการหลงผิด ประสาทหลอน ก้าวร้าวทางคำพูดรุนแรง มีพฤติกรรมแปลก ๆ 4) มีพฤติกรรมแยกตัว ไม่ตอบสนองต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม เช่น เงียบเฉย ไม่พูดกับใคร ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นรอบตัว

3.การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน(ต่อ) 3 การตรวจสภาพจิต (Mental status examination) การประเมินสภาพจิตในภาวะฉุกเฉิน ประกอบด้วยการประเมินพฤติกรรมที่สำคัญในด้านต่างๆ 1) ลักษณะทั่วไป (general appearance) สังเกตสีหน้า และลักษณะท่าทีของผู้ป่วย การเคลื่อนไหวอยู่ในเกณฑ์ปกติ เร็วไปหรือเชื่องช้า เป็นต้น 2) การพูด (Speech) สังเกตว่า ผู้ป่วยพูดมากหรือน้อย พูดช้าหรือเร็ว มีจังหวะที่เหมาะสมหรือไม่ สังเกตความต่อเนื่องของความคิดว่ามีการขาดหายเป็นท่อนๆ มีการหยุดโดยฉับพลัน หรือการพูดไม่ปะติดปะต่อ (Loosening of association)

3. การตรวจสภาพจิต (Mental status exmination)(ต่อ) 3) อารมณ์ (affect and mood) สังเกตสีหน้าและอาการแสดงออกทั่วๆไป ผู้ป่วยอารมณ์เศร้า วิตกกังวล ฉุนเฉียว ก้าวร้าว มีอารมณ์รื่นเริงผิดปกติ 4) ความคิด (thought) ควรสังเกตเนื้อหาความคิดของผู้ป่วย เช่น ความหลงผิด ความคิดหวาดระแวง การย้ำคิด ความกลัว ความคิดอยากฆ่าตัวตาย หรืออยากทำร้ายผู้อื่น และความรู้สึกผิดเป็นต้น 5) การรับรู้ (perception) ควรถามถึงอาการประสาทหลอน เช่น เสียงแว่ว ภาพหลอนและสังเกตอาการที่แสดงว่าอาจมีประสาทหลอน เช่น การพูดคนเดียวคล้ายตอบโต้กับผู้อื่น

3. การตรวจสภาพจิต (Mental status exmination)(ต่อ) 6) การรับรู้เวลา บุคคล สถานที่ (Orientation) ผู้ป่วยมีการรับรู้วัน เวลา สถานที่และบุคคลเป็นต้น 7) ความจำ (Memory) ได้แก่ความจำในอดีต (Remote memory) ความจำในเรื่องปัจจุบัน (recent memory) ความจำเฉพาะหน้า (retention and recall) 8) ความใส่ใจและสมาธิ (attention and concentration) เช่น ขณะพูดคุยมีความใส่ใจ มีสมาธิในการตอบคำถาม ความสามารถในการคำนวณการนับเลขย้อนหลังเป็นต้น

3. การตรวจสภาพจิต (Mental status exmination)(ต่อ) ระดับเชาน์ปัญญา ลักษณะความคิด และความรอบรู้ (general knowledge and abstract thinking) เช่นความรู้ทั่วไป การใช้เหตุผลเชิงนามธรรม 10) การตัดสินใจ (judgment) เช่นความสามารถที่จะประเมินสถานการณ์ต่างๆและตัดสินใจเลือกการกระทำที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เป็นต้น 11) ความรู้จักตน (insight) การที่ผู้ป่วยยอมรับว่าตนไม่สบาย 12) แรงจูงใจในการรักษา (motivation) แรงจูงใจที่ผู้ป่วยจะร่วมมือในการรักษา ยอมรับปัญหาของตนเอง และต้องหาทางปรับปรุงแก้ไข

การประเมิน 3.1.4 การประเมินสภาพกายและปัจจัยอื่นๆ เช่น การประเมินภาวะสุขภาพทางร่างกาย การประเมินภาวการณ์เจ็บป่วยในปัจจุบัน เช่น ประวัติการใช้ยา ประวัติอุบัติเหตุ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน 3.1.5 การประเมินสภาวะเสี่ยงจากสภาพแวดล้อม โดยประเมินสภาพแวดล้อมในขณะนั้น 3.1.6 การจำแนกสภาพความฉุกเฉินและการจัดลำดับความสำคัญ

3.1.6 การจำแนกสภาพความฉุกเฉินและการจัดลำดับความสำคัญ 3.1.6 การจำแนกสภาพความฉุกเฉินและการจัดลำดับความสำคัญ 1) เร่งด่วนฉุกเฉิน (Urgent) หมายถึง สภาพเร่งด่วนที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างใดอย่างหนึ่งทันที เช่น ผู้ป่วยจะกระโดดตึก ผู้ป่วยอาละวาดทำร้ายร่างกายตนเองหรือผู้อื่น ผู้ป่วยกรีดข้อมือเพื่อฆ่าตัวตายมีเลือดไหลไม่หยุด เป็นต้น 2) เร่งด่วน (Acute) หมายถึง สภาพความเร่งด่วนที่จำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือทันทีภายใน 30-60 นาที เช่น ผู้ป่วยรับประทานยาเกินขนาด ผู้ป่วยวุ่นวาย อยู่ไม่นิ่ง ด่าว่าคนอื่นหยาบคาย เป็นต้น

3.1.6 การจำแนกสภาพความฉุกเฉินและการจัดลำดับความสำคัญ 3.1.6 การจำแนกสภาพความฉุกเฉินและการจัดลำดับความสำคัญ 3) ไม่เร่งด่วน (Non acute) หมายถึง สภาพที่ไม่เร่งด่วน สามารถรอเวลาเพื่อสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลงได้ เช่น ผู้ป่วยร้องให้ ไม่ยอมพูด มองผู้อื่นด้วยสายตาไม่เป็นมิตร เป็นต้น 4) ส่งต่อ (Refer) หมายถึง ผู้รับบริการที่ควรส่งไปรับบริการจากแหล่งที่มีบริการรักษาและช่วยเหลือเฉพาะทาง เช่น มีระดับสติปัญญาต่ำที่ถูกข่มขืน

3.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน 3.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน 1 พยาบาลต้องวิเคราะห์สถานการณ์บนพื้นฐานของข้อมูลที่รวบรวมได้ด้วยความรวดเร็ว และระมัดระวังเพื่อให้เข้าใจธรรมชาติของปัญหาได้อย่างถูกต้องแม่นยำ 2 พยาบาลจะต้องทำความเข้าใจต่อลักษณะเฉพาะของปัญหาแต่ละปัญหาและพฤติกรรมตอบสนองต่อปัญหาที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคล

3.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน (ต่อ) 3.2 การวินิจฉัยทางการพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน (ต่อ) 3 . พยาบาลสามารถเข้าใจได้ว่า ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินก่อให้เกิดความกดดันต่อบุคคลซึ่งมีผลให้ความอดทนต่อปัญหาของบุคคลต่ำลง รวมทั้งจะไม่สามารถรับรู้ และตอบสนองต่อความช่วยเหลือของพยาบาลได้อย่างเหมาะสม 4. การพิจารณาตัดสินและลำดับความสำคัญของปัญหาที่ต้องการการช่วยเหลือต้องอาศัยการสังเกต และการทำความเข้าใจความรู้สึกของผู้รับบริการได้อย่างแท้จริง 5 . การที่พยาบาลสามารถวินิจฉัยปัญหา และสามารถควบคุมสถานการณ์อันตรายในเบื้องต้นได้ จะทำให้พยาบาลเกิดความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง มีความมั่นใจสูงขึ้น

3 เป้าหมายของการวางแผน 1) เป้าหมายหลัก เป็นการป้องกันอันตรายต่อชีวิตของผู้รับบริการและผู้อื่น 2) เป้าหมายรอง เป็นการช่วยเหลือเพื่อให้ผู้รับริการสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์ของตนเองได้

กิจกรรมการช่วยเหลือบุคคลในภาวะฉุกเฉิน 1) ใช้กลยุทธ์ทางการพยาบาลในการจัดการกับปัญหาตามสภาพความเร่งด่วน 2) มีการวางแผนการใช้แหล่งสนับสนุนอย่างเหมาะสมก่อนดำเนินการช่วยเหลือ เช่น การเตรียมพร้อมของคน สถานที่ เครื่องมือ เป็นต้น 3) ปฏิบัติการช่วยเหลือบุคคลในภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช 4) เป็นแผนที่ปฏิบัติได้ทันที และมีวิธีการที่ยืดหยุ่นได้ 5) ใช้กระบวนการจัดการที่มุ่งการป้องกัน ไม่ให้เกิดความรุนแรงหรืออันตรายต่อชีวิต

กิจกรรมการช่วยเหลือบุคคลในภาวะฉุกเฉิน(ต่อ) 6) เป็นการจัดการที่ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงลงสู่ระดับที่คนสามารถควบคุมได้ 7) ในกรณีที่เป็นสถานการณ์รุนแรงขึ้นแล้ว การวางแผนจะเป็นการนำแหล่งสนับสนุนช่วยเหลือเข้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการกับสถานการณ์นั้น 8) เป็นแผนที่สามารถประเมินได้ ทั้งระหว่างการช่วยเหลือและหลังการช่วยเหลือ

การดูแลและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมทำร้ายตัวเอง/ฆ่าตัวตาย (ต่อ) พฤติกรรมทำร้ายตนเอง/ฆ่าตัวตายเป็นการกระทำที่เป็นการทำลายชีวิตตนเองโดยเจตนาด้วยวิธีการต่างๆ เช่น กินยา ใช้เชือก/ผ้า หรือใช้อาวุธ (อ่านในcheet บทที่ 4.4 การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน)

การพยาบาลจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน (Psychiatric Emergency Nursing) สรุปการให้การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในภาวะฉุกเฉิน ต้องตระหนักถึงการปกป้องผู้รับบริการและผู้ปฏิบัติการช่วยเหลือให้อยู่ในภาวะปลอดภัยจากอันตราย มีการสถานการณ์อย่างรวดเร็วและตัดสินใจใช้วิธีที่คิดว่าเหมาะสมที่สุด พยาบาลพยายามควบคุมตนเองไม่ให้ตระหนกต่อสถานการณ์ พยายามสื่อให้ผู้รับบริการเข้าใจถึงความรู้สึกเอื้ออาทร ความจริงใจที่จะช่วยให้การช่วยเหลือ

test Test เป้าหมายระยะแรกของ ภาวะฉุกเฉิน เช่น การกรีดข้อมือทำร้ายตนเอง คือข้อใด 1.การทำแผล 2.การได้ตระหนักถึงปัญหา (insight) ที่เกิดขึ้น 3.การทำแผลและการยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 4.การสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้ตามปกติเหมือนก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน

1.ภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน ต่างกันอย่างไร 2. ปฏิกิริยาบุคคลในภาวะวิกฤติ Testสอบหลังเรียน 1.ภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน ต่างกันอย่างไร 2. ปฏิกิริยาบุคคลในภาวะวิกฤติ 3. การพยาบาลภาวะวิกฤติ 4. ปฏิกิริยาบุคคลในภาวะฉุกเฉิน 5.การพยาบาลภาวะฉุกเฉิน 6.สถานการณ์ ญ 48ปี สามีมีภรรยาน้อยทำอย่างไร ญ31ปีเป็นภรรยาน้อยทำอย่างไร

Test การพยาบาลใดที่ต้องทำทันทีของ ภาวะฉุกเฉิน กรณี Ptกรีดข้อมือทำร้ายตนเอง คือข้อใด 1.การทำแผล 2.การได้ตระหนักถึงปัญหา (insight) ที่เกิดขึ้น 3.การทำแผลและการยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 4.การสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้ตามปกติเหมือนก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน

เฉลย

1.ภาวะวิกฤติและฉุกเฉิน ต่างกัน 2. ปฏิกิริยาบุคคลในภาวะวิกฤติ 3. การพยาบาลภาวะวิกฤติ 4. ปฏิกิริยาบุคคลในภาวะฉุกเฉิน 5.การพยาบาลภาวะฉุกเฉิน 6.สถานการณ์ ญ 48ปี สามีมีภรรยาน้อยทำอย่างไร ญ31ปีเป็นภรรยาน้อยทำอย่างไร

Test เป้าหมายระยะแรกของ ภาวะฉุกเฉิน เช่น การกรีดข้อมือทำร้ายตนเอง คือข้อใด 1.การทำแผล 2.การได้ตระหนักถึงปัญหา (insight) ที่เกิดขึ้น 3.การทำแผลและการยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้นได้ 4.การสามารถกลับไปทำหน้าที่ได้ตามปกติเหมือนก่อนเกิดภาวะฉุกเฉิน

ข้อคิดสำคัญของการจัดการกับ ความเครียด ข้อคิดสำคัญของการจัดการกับ ความเครียด 1.การใช้ชีวิตอย่างมีสติ 2. อยู่กับปัจจุบันให้มากที่สุด 3. อะไรที่ผ่านมาแล้วให้ผ่านไป 4.ยืดหยุ่นกับชีวิตตนเองให้มากขึ้น 5. ลดคำถามที่ขึ้นต้นกับตัวเองว่า “ทำไม” 6. มั่นใจตัวเองให้มากขึ้น 7. ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ

The End