การอบรมการใช้ยา HAD.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการความเสี่ยงด้านยา ปี 2550
Advertisements

เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics)
Interhospital conference 8 กุมภาพันธ์ 2554
ยาความเสี่ยงสูง ฝ่ายเภสัชกรรมชุมชน โรงพยาบาลสหัสขันธ์ 5 มกราคม 2554
Vilasinee Hirunpanich B. Pharm(Hon), MSc in Pharm (Pharmacology)
Patient profile อายุ 38 ปี น้ำหนัก 95 กิโลกรัม ปฏิเสธการแพ้ยา
นศ.ภ. จันทร์นภัสสร์ ชะตาคำ
Medication Review.
Diabetic Ketoacidosis < DKA >
Pre hospital and emergency room management of head injury
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
Chatlert Pongchaiyakul MD.
Dead case Ward หญิง.
นพ.ธนชัย พนาพุฒิ อายุรแพทย์โรคไต รพ.ขอนแก่น 14 พย. 2557
การให้ยาระงับความรู้สึกสำหรับหัตถการทางออร์โธปิดิกส์
Fluid and Electrolyte imbalance
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
นศ.ภ. วิชุตา ถวิลวรรณ นศ.ภ.สลีลา เบ็ญจวิไลกุล
ธนกร ศิริสมุทร เภสัชสนเทศ กลุ่มการบริบาลเภสัชกรรม ฝ่ายเภสัชกรรม
Spinal anesthesia Patchanee Pasitchakrit Department of Anesthesiology
SEPSIS.
ACUTE CORONARY SYNDROME
รพ.พุทธมณฑล.
Facilitator: Pawin puapornpong
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
Role of nursing care in sepsis
Septic shock part 1 Septic shock part 1 Septic shock part 2.
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
หลักคิดและแนวทางการดูแล ผู้ป่วยเมทาโดนระยะยาว
Facilitator: Pawin Puapornpong
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ในภาวะฉุกเฉินและเรื้อรัง
Case 1. Case 1 หญิงตั้งครรภ์ G1P0 GA 36 wk ที่อยู่ 28 หมู่ 2 ต.บางหลวงโดด อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา CC : ญาตินำส่งโรงพยาบาลด้วยไม่รู้สึกตัว 40 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล.
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
Assoc. Prof. Somchai Amornyotin
Water and Water Activity I
RCA อย่างเรียบง่ายและได้ผล
Team-Based learning (TBL) guide
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
การค้นหาโอกาสพัฒนาจากการทบทวนเวชระเบียน
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
พญ. ศรัญญา เต็มประเสริฐฤดี, อายุรแพทย์ โรงพยาบาลสุไหงโกลก
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
The Child with Renal Dysfunction
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน
Medication Reconciliation
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
ตารางธาตุ.
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
การจัดการโรคไตเรื้อรัง CKD management
Facilitator: Pawin Puapornpong
ตัวชี้วัดกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปี 2549
อุทธรณ์,ฎีกา.
The Child with Renal Dysfunction
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในสูตร Tenofovir regimen ในคลินิกจิตอารีย์ โรงพยาบาลเขื่องใน ภญ.อรวรรณ ครองยุทธ โรงพยาบาลเขื่องใน จ.อุบลราชธานี
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม
โรคหลอดเลือดในสมอง (STROKE)
ผลงานจ้างเหมาซ่อมบำรุงรักษาทางรถไฟและอื่นๆ ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอบรมการใช้ยา HAD

คำจำกัดความ HAD:ยาที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดอันตรายหรือผลเสียต่อผู้ป่วยรุนแรงหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้ยา การคัดลอกคำสั่งการใช้ยา จ่ายยาหรือการบริหารยา

ประเภทความเสี่ยงสูงที่จะเกิดขึ้น ได้แก่ รายการยา มีโอกาสใช้ยาผิดวัตถุประสงค์เช่น ยาเสพติด ยาควบคุมพิเศษบางรายการ Pethidine inj. Morphine inj. Ketamine inj. ยาที่มีพิสัยการบำบัดแคบ Digoxin inj/Tab ยาที่มีรายงานว่าเป็นปัจจัยสาเหตุ หรือเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์พึงสังวรณ์(sentinel events) Mgso4 Inj. KCl inj. Atropine inj. RI Dopamine inj. Calcium gluconate inj Sodium Bicarb inj. Oxytocin inj. Adrenaline inj. 14 รายการ

เพื่อให้ง่ายต่อการจำจะแบ่งยา HAD ดังนี้ ตามข้อบ่งใช้ ตัวอย่าง Cardiogenic drugs Dopamine Inj. Atropine Inj. Adrenaline Inj. Digoxin Inj./Tab Electrolyte Calcium gluconate Inj. KCl Inj. Sodium Bicarbonate Inj. analgesic peri-operative Morphine Inj. Pethidine Inj. Ketamine Inj. Drugs use in Diabetes Regular Insulin Drugs use in labor Oxytocin Inj MgSO4 Inj.

การติดตามการใช้ยา HAD Critical point ค่าพารามิเตอร์ที่ติดตามหลังการให้ยา เช่น BP,HR,Urine output อาการที่ต้องติดตามหลังการให้ยา เช่น ระดับความรู้สึกตัว อาการคลื่นไส้อาเจียน ชาปลายมือปลายเท้า เนื้อเยื่อตาย Alert point

รู้กลไกการออกฤทธิ์ของยารู้ผลข้างเคียง

ตามข้อบ่งใช้ ตัวอย่าง Cardiogenic drugs Dopamine Inj. Atropine Inj. Adrenaline Inj. Digoxin Inj./Tab Electrolyte Calcium gluconate Inj. KCl Inj. Sodium Bicarbonate Inj. analgesic peri-operative Morphen Inj. Pethidine Inj. Ketamine Inj. Drugs use in Diabetes Regular Insulin Drugs use in labor Oxytocin Inj MgSO4 Inj.

Dopamine Inj. ใช้เพื่อเพิ่มความดันโลหิต เพิ่มการบีบตัวของหัวใจ การเต้นของหัวใจ ขึ้นกับขนาดการใช้ยา

กลไกการออกฤทธิ์ของยา ยากระตุ้น Adrenergic Receptors กระตุ้นระบบประสาทซิมพาเธติก ซึ่งจะไปมีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด

ขนาดการให้ยามีผลต่อการกระตุ้นต่อแต่ละ receptor ที่ต่างกัน การให้ยาขนาดปานกลาง(2-10ug/kg/min) จะกระตุ้น β1-adrenergic receptors บริเวณหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจทำให้มีแรงบีบตัวของหัวใจ แต่ไม่เพิ่ม อัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตสูงขึ้น

ขนาดการให้ยามีผลต่อการกระตุ้นต่อแต่ละ receptor ที่ต่างกัน การได้รับยาขนาดสูงเกินไป จะออกฤทธิ์กระตุ้น α-adrenergic receptors มากขึ้นทำให้หลอดเลือดหดตัว และกระตุ้นหัวใจเพิ่มขึ้นจะแต่จะทำ ให้หลอดเลือดที่ไตหดตัว ปัสสาวะจึงน้อยลง ผลข้างเคียงของยา

ดังนั้นค่าที่ต้องคอยติดตามผู้ป่วยได้แก่

Dopamine Inj. BP >160/90 mmHg HR >120 ครั้ง/min Urine output(cc) Critical point รายละเอียดเฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน ความถี่ Baseline ค่าเริ่มต้น 1 2 3 BP >160/90 mmHg 15 นาที HR >120 ครั้ง/min Urine output(cc) ลดลงขณะที่ BP ไม่ลด (< 20 ml/hr) 1 ชั่วโมง EKG (กรณีให้ยาขนาดความเข้มข้นสูง) Arhythmia อาการซีด – ขาว extravasation (15 นาที) ปวดชาปวดร้อนบริเวณประสาทส่วนปลาย Peripheral ischemia ตรวจสอบตำแหน่งให้ยา(ดูอาการ บวมแดง) ใจสั่น เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก Alert point

Atropine Inj

ใช้รักษาภาวะ sinus bradycardia ของสารพิษพวก Organophosphates ข้อบ่งใช้ ใช้รักษาภาวะ sinus bradycardia ของสารพิษพวก Organophosphates

กลไกการออกฤทธิ์

 Atropine เป็น ไปออกฤทธิ์แย่งที่กับ ACh ในการจับ muscarinic receptor ผลคือจะไปทำให้เส้นประสาททำให้มีการหลั่ง ACh บริเวณ receptor เพิ่มขึ้น ซึ่งจะไปมีผลต่อระบบ parasympatetic

การออกฤทธิ์เกิดจากการกระตุ้น parasym ที่สมอง ยับยั้งที่ M2 receptor ทำให้มีAChเพิ่มขึ้นของ SA nodeที่หัวใจ ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น

ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นเกิดจากอะไร ยาทำให้เกิดการยับยั้งการตอบสนองของกล้ามเนื้อที่เลนส์ตาต่อการกระตุ้นของ cholinergic nerve ทำให้ม่านตาขยายซึ่งทำให้ตาไม่สามารถสู้แสงได้ และเสียการกระบวนปรับภาพและทำให้เกิดการ มองภาพใกล้ไม่ชัด

ยามีผลอย่างเด่นชัดในการปิดกั้นการหลั่งของต่อมน้ำลายทำให้เกิดอาการปากแห้ง คอแห้ง

ดังนั้นสิ่งที่ต้องติดตามคือ Critical point รายละเอียด เฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน ความถี่ (x) BP < 90/60 mmHg > 160/110 mmHg 1 ชั่วโมง HR < 60 ครั้ง/min > 120 ครั้ง/min I/O <50 ml/hr ทุก 8 ชม. Overdose รูม่านตาขยาย สับสน,ปัสสาวะคั่ง,หัวใจเต้นผิดปกติ,ปากแห้งคอแห้ง สับสน Alert point

Adrenaline Inj.

Adrenaline Mechanism of action คือ กระตุ้น alpha,beta-1,beta-2 adrenergic recepter

ผลการกระตุ้น recepter กระตุ้น A1 receptor เพิ่มความดันโลหิต

ผลที่ B1 receptor ถูกกระตุ้น ผลข้างเคียงของยา ! ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ยากระตุ้น beta-1 adrenergic receptor ส่งผลให้เพิ่มการเต้นของหัวใจ

ดังนั้นค่าที่ต้องคอยติดตามผู้ป่วยได้แก่

Adrenaline Inj. รายละเอียดเฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP Critical point รายละเอียดเฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP < 90/60 หรือ >140/90 mmHg HR >120 ครั้ง/นาที CNS/Overdose ชัก เหงื่อออกมาก .ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว Extravasation อาการบวมแดง ซีดขาว Alert point

Digoxin Inj/Tab

ส่งผลให้การบีบตัวของหัวใจแรงขึ้น ข้อบ่งใช้ ยับยั้ง Na+/K+ pump ซึ่งทำให้ Na+ ในเซลล์สูงขึ้น การที่ Na+ในเซลล์สูงขึ้นจะไปทำให้การขับ Ca++ ใน Na+/Ca++ pump ช้าลง ทำให้ปริมาณ Ca++ สูงขึ้น ส่งผลให้การบีบตัวของหัวใจแรงขึ้น

ดังนั้นค่าที่ต้องติดตามคือ รายละเอียดเฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน ความถี่ Baseline ค่าเริ่มต้น BP keep >90/60 <140/90 mmHg HR keep 60-120/min อาการพิษของยา คลื่นไส้ ปวดหัว ใจสั่น หัวใจเต้นผิดปกติ Critical point Alert point

ตามข้อบ่งใช้ ตัวอย่าง Cardiogenic drugs Dopamine Inj. Atropine Inj. Adrenaline Inj. Digoxin Inj./Tab Electrolyte Calcium gluconate Inj. KCl Inj. Sodium Bicarbonate Inj. analgesic peri-operative Morphen Inj. Pethidine Inj. Ketamine Inj. Drugs use in Diabetes Regular Insulin Drugs use in labor Oxytocin Inj MgSO4 Inj.

เพื่อป้องกันหัวใจเกิดการเต้นผิดจังหวะ Calcium Gluconate Inj. มีข้อบ่งใช้ในการรักษาภาวะ Hyperkalemia แบบรุนแรง (serum potassium >7 mEq/L) เพื่อป้องกันหัวใจเกิดการเต้นผิดจังหวะ

แคลเซียมไอออนจะออกฤทธิ์ antagonize กับ กลไกการออกฤทธิ์ แคลเซียมไอออนจะออกฤทธิ์ antagonize กับ โปแตสเซียมบริเวณ กล้ามเนื้อหัวใจและแปลงเปลี่ยนแปลง EKG ให้กลับสู่ปกติอย่างรวดเร็ว

Calcium Gluconate Inj. รายละเอียดเฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP Hypotension 90/60 Serum calcium > 10.5 mg/dl EKG ทุก 15-20 นาที อาการhypercalcemia กระตุก ตะคริว เกร็ง ชัก หัวใจเต้นช้าลง สับสน Critical point Alert point

KCl Inj. มีข้อบ่งใช้ในการรักษาภาวะ ภาวะ Hypokalemia ที่ไม่สามารถให้ K+ ทดแทนโดยการกินได้หรือ ในกรณีที่ K+ ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว ต่ำกว่า 2.5 mEq/L และมีความเสี่ยงสูงจากการเต้นของหัวใจอย่างผิดปกติ (cardiac arrhythmia) ระดับปกติในเลือด 3.5 5 mEq /L : 3.5-mEq

จำเป็นต่อการทำงานของ cell กล้ามเนื้อหัวใจในการบีบตัว กลไกการออกฤทธิ์

ดังนั้นค่าที่ต้องติดตามคือ รายละเอียดเฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP SBP< 90 mmHg HR HR < 60 ครั้ง/นาทีHR > 120 ครั้ง/นาที Serum K 3.5 5 mEq /L (ถ้า>5ต้องรายงานแพทย์) Urine output < 600 ml/hr Serum Cr > 2mg% Hyperkalemia คลื่นไส้ ใจสั่น หัวใจเต้นช้า อึดอัด แน่นหน้าอก ชาปลายมือ/เท้า Overdoseหัวใจเต้นเร็ว เพราะการที่ urine flowไม่เพียงพอจะทำให้ K+ สะสมได้

ถ้า potassium ในเลือดสูงแก้ไขอย่างไร

Sodium Bicarbonate Inj

แก้ปัญหาภาวะ acidosis

หายใจเร็ว กระสับกระส่าย ภาวะชัก รายละเอียด เฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP < 90/60 mmHg > 140/90 mmHg HR Bradycardia < 60 ครั้ง/min Serum Na (ถ้ามี) Hypernatremia > 150 mEqL Hyper Na+ หายใจเร็ว กระสับกระส่าย ภาวะชัก Critical point โดยเป็นผลจากมีการดึงน้ำจากภายในเซลล์เข้าสู่น้ำ นอกเซลล์ ทำให้เซลล์สมองเหี่ยวลง เกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยภายในสมองได้ Alert point

ตามข้อบ่งใช้ ตัวอย่าง Cardiogenic drugs Dopamine Inj. Atropine Inj. Adrenaline Inj. Digoxin Inj./Tab Electrolyte Calcium gluconate Inj. KCl Inj. Sodium Bicarbonate Inj. analgesic peri-operative Morphen Inj. Pethidine Inj. Ketamine Inj. Drugs use in Diabetes Regular Insulin Drugs use in labor Oxytocin Inj MgSO4 Inj.

กลไกการออกฤทธิ์ระงับปวด จับกับ opioid recerptor ชนิด mu-receptor ส่งงผลยับยั้ง adenylate cyclase ทำให้เพิ่ม theshold การปวด

การฤทธิ์ของยาและผลข้างเคียง ยามีผลต่อ m-receptor ในสมอง สมองรับความรู้สึกทางด้านเจ็บปวดน้อยลงจึงช่วยระงับความเจ็บปวดได้ดี กดศูนย์ควบคุมการหายใจ

การออกฤทธิ์ของยาและผลข้างเคียง ทำให้มีอาหารคั่งค้างอยู่ในกระเพาะและลำไส้นานกว่าปกติ จึงมีอาการท้องผูก ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร โดยลดการmovementของ กระเพาะอาหารและลำไส้

Morphine/Pethidine/Ketamine Inj. รายละเอียดเฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP < 90/60 mmHg RR < 14 ครั้ง/min Sleep-Conscious หมดสติ ปลุกไม่ตื่น วิงเวียน ตาพร่า เหงื่อออก รูม่านตาหดตัว

ตามข้อบ่งใช้ ตัวอย่าง Cardiogenic drugs Dopamine Inj. Atropine Inj. Adrenaline Inj. Digoxin Inj./Tab Electrolyte Calcium gluconate Inj. KCl Inj. Sodium Bicarbonate Inj. analgesic peri-operative Morphen Inj. Pethidine Inj. Ketamine Inj. Drugs use in Diabetes Regular Insulin Drugs use in labor Oxytocin Inj MgSO4 Inj.

ลดน้ำตาลในเลือด

Rugular Insulin :เป็นอินซูลินชนิดออกฤทธิ์เร็ว Onset 0.5-0.7 hr 1.5-4 hr Peak Duration 5-8 hr

รู้ความถี่ของการติดตามระดับน้ำตาลในเลือด ทุก 1 ชั่วโมง รู้ Peak รู้ความถี่ของการติดตามระดับน้ำตาลในเลือด

อาการ Hypoglycemia ใจสั่น หน้ามืด ตาลาย เหงื่อออกมาก

ดังนั้นค่าที่ติดตามได้แก่ Critical point รายละเอียด เฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP < 90/60 mmHg > 140/90 mmHg HR < 60 ครั้ง/min > 120 ครั้ง/min FBS, DTX FBS < 70 mg/dl DTX < 60 mg/dl Hypoglycemia ใจสั่น, หน้ามืด ตาลาย, เหงื่อออกมาก Alert point

ตามข้อบ่งใช้ ตัวอย่าง Cardiogenic drugs Dopamine Inj. Atropine Inj. Adrenaline Inj. Digoxin Inj./Tab Electrolyte Calcium gluconate Inj. KCl Inj. Sodium Bicarbonate Inj. analgesic peri-operative Morphen Inj. Pethidine Inj. Ketamine Inj. Drugs use in Diabetes Regular Insulin Drugs use in labor Oxytocin Inj MgSO4 Inj.

Oxytocin Inj

ใช้ชักนำให้เกิดการเจ็บ ครรภ์โดยมีกลไกทำให้มดลูกบีบตัวเพิ่มขึ้น

กลไกการออกฤทธิ์ Oxytocin จะผ่านทาง Phospholipase C-inositol pathway ทำให้ระดับแคลเซี่ยมในเซลล์สูงขึ้น ส่งผลให้มีการหด ตัวของกล้ามเนื้อมดลูกจนมีการเปลี่ยนแปลงของปาก มดลูกตามมา

ดังนั้นค่าที่ต้องติดตามคือ เนื่องจาก oxytocin มีฤทธิ์ antidiuretic ส่งผลให้ไตดูดน้ำกลับมากขึ้น ลดการขับน้ำออก ผู้ป่วยจึงเกิดภาวะน้ำเกิน รายละเอียด เฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP < 90/60 mmHg > 160/110 mmHg HR < 60 ครั้ง/min > 120 ครั้ง/min I/O <50 ml/hr Overdose ชัก โคม่า ชัก เนื่องจากยาทำให้เกิด water intoxication

MgSO4 Inj.

ข้อบ่งใช้ รักษาภาวะแมกนีเซียมในเลือดต่ำ รักษาอาการชักเนื่องจากครรภ์เป็นพิษ

ทำไมระดับแมกนีเซียมในเลือดผิดปกติทำให้เกิดอันตรายกับชีวิต จากการรายงานพบว่า Hypomagnesemia ในผู้ป่วยวิกฤตแรกรับจะสัมพันธ์กับอัตราการตายที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากแมกนีเซียมเป็นไอออนที่มีมากในร่างกาย(ระดับปกติในเลือด 1.5 2.5 mg/ dL )

กลไกการออกฤทธิ์ ยาจะออกฤทธิ์กด CNS และกดกล้ามเนื้อเรียบ กล้าม เนื้อลาย และกล้ามเนื้อหัวใจ ระงับการชัก ( โดยกดประสาท CNS และลดการหลั่งAchทำ ให้กั้นการทำ งานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อส่วนปลาย )

ดังนั้นค่าที่ต้องติดตามคือ Critical point รายละเอียด เฝ้าระวัง เกณฑ์การรายงาน BP < 90/60 mmHg > 140/90 mmHg PR < 60 ครั้ง/min > 120 ครั้ง/min RR < 14 ครั้ง /min Urine output < 100 cc/ 4 hr Stool(ครั้ง) ถ่ายเหลวมากกว่า 3 ครั้งต่อวัน ภาวะแมกนีเซียม overdose หน้าแดง เหงื่อออก กระหายน้ำอย่างรุนแรง สับสน กล้ามเนื้ออ่อนแรง Alert point

รู้วิธีใช้ รู้ผลข้างเคียง ต้องรู้แนวทางปฏิบัติด้วย รู้วิธีใช้ รู้ผลข้างเคียง ต้องรู้แนวทางปฏิบัติด้วย

ทุกจุดที่มีการสำรองยาความเสี่ยงสูงให้แยกเก็บเป็นสัดส่วน การเก็บรักษา ทุกจุดที่มีการสำรองยาความเสี่ยงสูงที่เป็นยาเสพติดจะต้องมีการป้องกันการเข้าถึงยาโดยเก็บในที่มิดชิดกำหนดการเข้าถึงยาได้เฉพาะบุคคลมีบัญชีควบคุมการเบิกจ่าย ทุกจุดที่มีการสำรองยาความเสี่ยงสูงให้แยกเก็บเป็นสัดส่วน

การสั่งจ่ายและการถ่ายทอดคำสั่ง -การสั่งจ่ายยาความเสี่ยงสูงไม่ใช้คำย่อ หากเป็นการสั่งจ่ายที่ผสมสารน้ำให้ระบุความแรง ขนาดยา พร้อมระบุปริมาณสารน้ำที่ใช้ ความแรงสุดท้ายที่ต้องการและวิธีการให้ยาที่ชัดเจน -หากเป็นการสั่งจ่ายทางโทรศัพท์จะต้องมีการทวนซ้ำพร้อมเซ็นกำกับการสั่งจ่ายภายใน 24 ชั่วโมง

การจัดและการจ่ายยา ยาความเสี่ยงสูงที่จ่ายจากห้องยาให้บรรจุในซองสีแดง พร้อมฉลากแนะนำการฝ้าระวังการใช้ทุกครั้ง

การบริหารและการติดตามการใช้ยา เตรียม 1คน เช็ค 1คน ต้องมีการดำเนินการตรวจสอบซ้ำในขั้นตอนการผสม การเตรียมยา การจัดยาเม็ด และการให้ยากับผู้ป่วย

การเฝ้าระวังการติดตามการใช้ยาหลังบริหาร ติดตามการใช้ยาจาก drugtips ที่แนบให้/ตามแบบฟอร์ม HAD พยาบาล ติดตามการใช้ยาจาก drugtips ที่แนบให้/แผ่นความรู้คู่ยาที่พยาบาลแขวนให้ข้างเตียง/พยาบาลแนะนำผู้ป่วย ตัวผู้ป่วยหรือญาติ

ติดตามการใช้ยาแล้วข้อมูลเก็บอะไรบ้าง อย่างไร พยาบาลมีหน้าที่ติดตามการใช้ยาความเสี่ยงสูงในผู้ป่วยทุกราย โดยลงข้อมูลที่ติดตามในแบบฟอร์มที่กำหนด

END