วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบูรณาการด้านนโยบายและกลไกทางการเงิน
Advertisements

ทิศทางการบริหารจัดการโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารจัดการโรคเฉพาะ
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
สำนักบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
II-9 การทำงานกับชุมชน.
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การบริหารงบกองทุน หลักประกันสุขภาพ ปี 2560
แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
เครือข่ายบริการ Referral system High level Mid level First level รพศ.
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
ขั้นตอนการร้องเรียน.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
การพัฒนางานเภสัชกรรม
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น
Change 59 Road Map “เปลี่ยน...เพื่อสิ่งที่ดีกว่า” แนวทางการปฏิบัติงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
National Policy in CKD Prevention
กลุ่มงานประกันสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่3 Service Plan Heart Q2.
กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชัยภูมิ
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
สรุปผลการดำเนินงานประจำปี 2558 กองทุนหลักประกันสุขภาพ
การประชุมสรุปงานสภาอาจารย์ วิทยาเขตปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2561
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM การสนับสนุนและชดเชยการบริการ เพิ่มเติมจากงบเหมาจ่ายรายหัวปกติ(On-top payment) เป้าหมายเพื่อ ค้นหาผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ระยะเริ่มแรก (Early Detection) รักษาผู้ป่วยตั้งแต่ต้น (Prompt Rx) เพิ่มคุณภาพการรักษาผู้ป่วย (Improve Quality of Rx)

ความแตกต่างระหว่างปี 2555 และปี 2556 งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง (บริการควบคุม ป้องกันความรุนแรงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง) ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การสนับสนุนการชดเชยค่าบริการ 1.วิธีการคิดงบประมาณ 1.1 จัดสรรตามจำนวนผู้ป่วยที่มีในทะเบียน (80%) จาก OP individual 1.2 จัดสรรตามความครอบคลุมและคุณภาพบริการ (20%) จาก P4P และ สำรวจของ CRCN 2. วิธีการจัดสรรผ่านจังหวัดงบประมาณ 2.1 จัดสรรให้หน่วยบริการ (≥90%) 2.2 ค่าบริการดำเนินการร่วมกันระดับจังหวัด(<10%) 3. โอนตรงให้หน่วยบริการ (รูปแบบ CUP) เหมือนเดิม

ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง 3.งบบริหารการบริการ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2556

สิ่งที่เปลี่ยนแปลงจากปี 55 1. ยกเลิก Co pay ในผป. HD รายเก่า (ก่อน 1 ตค 51 ) [ ออกประกาศ HD ฉ 3 แล้ว ] 2 บูรณาการ 3 กองทุน 1. จัดให้มีเกณฑ์การบำบัดทดแทนไตเดียวกันทั้ง 3 ระบบ [ ตามสมาคมโรคไตประกาศ ] 2. ให้ผู้ป่วยที่เปลี่ยนสิทธิการรักษาพยาบาลมีความต่อเนื่องในการรักษาด้วยวิธีบำบัดทดแทนไตโดยไม่ต้องเปลี่ยนวิธี 3. ปรับ dose ยา EPO Hct >30 ให้ตามจริงไม่เกิน 4000 U x 4/ด. Hct<30 ให้ตามจริงไม่เกิน 4000U X 8/ด.

บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD) ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การแบ่งประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยรายเก่าที่มีสิทธิ หมายถึง ผป.UC และผป.ที่เปลี่ยนสิทธิจากระบบอื่น ซึ่งทำ HD มาก่อน 1 ต.ค. 51 และไม่ประสงค์ทำ CAPDผป.ต้องร่วมจ่ายครั้งละไม่เกิน 500 บาท สปสช.สนับสนนุนครั้งละ 1,000บาท หรือ 1,200 บาท ผป. HD รายใหม่ที่มีสิทธิ หมายถึงผป.ที่มีข้อบ่งชี้ไม่สามารทำ CAPD หรือต้องเปลี่ยนจาก CAPD มาเป็น HD และผ่านคกก.ฯไตจังหวัด ทั้งก่อนและหลัง 1 ต.ค. 51 สปสช.สนับสนุนครั้งละ 1,500บาท หรือ 1,700 บาท ผป. HD รายใหม่ตั้งแต่ 1 ต.ค. 51 ไม่สมัครใจทำ CAPD และไม่ผ่านผ่านคกก.ฯไตจังหวัด เพื่อให้ใช้วิธี HD ผป.รับผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง ยกเลิกการร่วมจ่าย 500 สำหรับผู้ป่วยรายเก่าที่มีสิทธิ (หมายถึง ผป.UC ทำ HD ก่อน 1 ต.ค. 51 หรือผป.สิทธิอื่น ซึ่งทำ HD จากสิทธิเดิม หากเปลี่ยนมาใช้ UC )สปสช.สนับสนุน 1,500 บาท หรือ 1,700 บาท เหมือนเดิม

บริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (HD) ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การชดเชยให้หน่วยบริการ ค่าฟอกเลือด รายเก่าครั้งละ 1,000 บาท ( ร่วมจ่าย500 บาท) รายใหม่ที่มีสิทธิครั้งละ 1,500 บาท กรณีผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และมีโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอวัยวะอื่นร่วมด้วย และฟอกเลือดในหน่วยบริการที่มีการให้บริการไอซียู ชดเชยรายเก่าครั้งละ 1,200 บาท รายใหม่ที่มีสิทธิครั้งละ 1,700 บาท 2. ยา Erythropoietin Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(8,10)ต่อเดือน Hct > 30 – 36% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(4,5)ต่อเดือน 3. ค่าทำเส้น HD การชดเชย ผป.รายเก่าและรายใหม่ ครั้งละ 1,500 บาท กรณีผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และมีโรคเรื้อรังเกี่ยวกับอวัยวะอื่นร่วมด้วย และฟอกเลือดในหน่วยบริการที่มีการให้บริการไอซียู จ่ายครั้งละ 1,700 บาท Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U * 8 ต่อเดือน Hct > 30% ให้ยา EPOขนาดไม่น้อยกว่า4000 U * 4 ต่อเดือน เหมือนเดิม

การล้างไตทางช่องท้อง (CAPD) ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 การสนับสนุน/ชดเชยค่าบริการ น้ำยา CAPD ไม่เกิน 150 ถุงต่อเดือน ยา Erythropoietin Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(8,10)ต่อเดือน Hct > 30 – 36% ให้ยา EPO ขนาดไม่น้อยกว่า4000 U*(4,5)ต่อเดือน 3. สาย TK 1 สาย/ผู้ป่วย 1 ราย/ปี 4. ชดเชยค่าบริการแบบเหมาจ่าย 5. ค่าภาระงาน 1. น้ำยา CAPD ไม่เกิน 124 ถุงต่อเดือน 2. ยา Erythropoietin Hct. ≤ 30% ให้ยา EPO ขนาด ไม่น้อยกว่า4000 U * 8 ต่อเดือน Hct > 30% ให้ยา EPO ขนาด ไม่น้อยกว่า4000 U * 4 ต่อเดือน ข้อ 3-5 เหมือนเดิม

การปลุกถ่ายไต (KT) Mr.ESRD รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 KT การชดเชย ก่อนการปลูกถ่ายไต 1.1 ผู้บริจาค 1.2 ค่าใช้จ่ายสำหรับเตรียมผู้ป่วย 2. ระหว่าง ปลูกถ่ายไต เหมาจ่ายค่าผ่าตัดปลูกถ่ายไตตามแผนการรักษา 3. ค่าใช้จ่าย ยากดภูมิ หลังการปลูกถ่ายไต เหมือนเดิม

4.งบบริการเฉพาะโรค ปีงบประมาณ 2556

cataract ปีงบประมาณ 2556 หน้า 108

cataract ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 เป้าหมาย senile cataract ตั้งเป้ารวมประเทศ หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ ค่าผ่าตัด (รวมค่าภาระงาน 1,200 บาท) Non-complication (รหัส 2060,2070) ข้างละ 7,000 บาท - Complication (รหัส 2061-2064,2071- 2074) ข้างละ 9,000 บาท ค่าเลนส์ - Foldable Lens ชดเชยข้างละ 2,800 บาท - Non- Foldable Lens ชดเชยข้างละ 700 บาท 1. เป้าหมายรายเขต 9,984 ดวงตา 2. หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ Non-complication, และ Non-comorbidity (รหัส 2060,2070) ชดเชยข้างละ 7,000 บาท Complication, Comorbidity (รหัส 2061-2064,2071- 2074) ชดเชยข้างละ 9,000 บาท เหมือนเดิม 11

Asthma & COPD หน้า 92

แนวทางการบริหารงบปี 56 ที่แตกต่างจากปี 55 รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 1. Asthma & COPD 1.1 Asthma การชดเชย (เพิ่มเติม) - ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดสเตียรอยด์ จำนวน 1,000 บาท/ราย - ชดเชยตามผลลัพธ์การให้บริการ จำนวน ไม่เกิน 2,000 บาท/ราย - เหมือนเดิม การส่งข้อมูล - บันทึกในโปรแกรม Easy asthma clinic - ส่งชุดข้อมูล (data set) ผ่าน Website สปสช. 1.2 COPD - ชดเชยการจัดระบบบริการผู้ป่วยนอกจำนวน 100 บาทต่อครั้งที่ให้บริการ - ชดเชยการรักษาด้วยยาสูดขยายหลอดลมชนิดออกฤทธิ์ยาว จำนวน 1,000 บาทต่อราย ชดเชยการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด จำนวน 1,000 บาทต่อราย - ชุดข้อมูล (data set ) ผ่าน Website สปสช. 13

อัตราการรับเข้าไว้นอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคหืดที่เข้าคลินิก Amd rate =0 รพ.แม่วงก์ รพ.บ้านไร่ รพ.ห้วยคต รพ.ทรายทองวัฒนา รพ.วังทรายพูน รพ.โพทะเล รพ.ค่ายจิรประวัติ รพ.ร่มฉัตร รพ.บึงสามัคคี Amd ratr > 13 รพ.วัดสิงห์ รพ.สรรพยา รพ.บรรพตพิสัย รพ.ไพศาลี รพ.ลานสัก รพ.ปางศิลาทอง

การดูแลผู้ป่วย แบบประคับประคอง และการบริหารยาMorphine หน้า 118

แนวทางการบริหารงบปี 56 ที่แตกต่างจากปี 55 (ต่อ) รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 Morphine ในผู้ป่วยระยะสุดท้าย จัดสรรตามเครือข่ายบริการ ผ่าน สปสช.เขต บริหารจัดการตามการดำเนินงานของ สปสช.เขต ส่งข้อมูลผ่านระบบ E-Claim ครอบคลุมเฉพาะการให้ยามอร์ฟีน จัดสรรให้หน่วยบริการ ตามข้อมูลผลงานที่กำหนด ในระบบ E–Claim (ตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง เดือนมิ.ย. 56 โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 1 ส.ค. 56) ครอบคลุมการให้ยามอร์ฟีน บริการทำความสะอาดแผล และบริการการให้ออกซิเจนเพื่อบรรเทาอาการที่บ้าน (จำนวนผลงานคิดจากจำนวนวันที่ผู้ป่วยได้รับยามอร์ฟีน ชุดทำความสะอาดแผล และออกซิเจนสำหรับใช้ที่บ้าน คูณกับน้ำหนักของบริการ) การจัดสรร แบ่งเป็น 2 งวด ดังนี้ - งวด 1 จัดสรรให้ตามผลงานบริการตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง ธ.ค. 55 ภายใต้วงเงินร้อยละ 20 ของวงเงินทั้งหมด โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 15 ม.ค. 56 - งวด 2 จัดสรรเพิ่มเติมจากที่ได้รับจัดสรรแล้วในงวดที่ 1 ตามผลงานที่เพิ่มขึ้น โดยใช้ข้อมูลผลงานรวมตั้งแต่เดือน ก.ค. 55 ถึง เดือน มิ.ย. 56 ภายใต้วงเงินงบประมาณทั้งหมด โดยตัดข้อมูล ณ วันที่ 1 ส.ค. 56

STEMI & STROKE หน้า 68

แนวทางการบริหารงบปี 56 ที่แตกต่างจากปี 55 (ต่อ) รายการ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 STEMI การชดเชย ค่ารักษาพยาบาล ตาม DRGs On top ค่ายาละลายลิ่มเลือด ได้แก่ 1. SK 10,000 บาท 2. rt-PA 50,000 บาท DRG + On top ค่ายาละลายลิ่มเลือด ได้แก่ 1. SK 10,000 บาท 2. rt-PA ปรับลดเป็น 49,000 บาท การส่งข้อมูล ผ่านระบบ Eclaim และ DMIS เหมือนเดิม Stroke On top ค่ายาละลายลิ่มเลือด (rtPA) ค่า CT Scan และ/หรือกายภาพบำบัด เหมาจ่าย ต่อราย 60,600 บ. โดยต้องมีข้อมูลครบทั้ง 3 เงื่อนไข DRG + On top เป็นค่ายาละลายลิ่มเลือด (rtPA) เหมาจ่ายต่อราย 49,000 บ. (โดยหน่วยบริการต้องมีการให้บริการและบันทึกข้อมูลครบทั้ง CT Scan ก่อน/หลังให้ยา และ การยาละลายลิ่มเลือด และ/หรือ PT) ผ่านระบบ Eclaim STEMI, Stroke: ค่ายา rtPA ปรับลดลงจากเดิม เนื่องจากคำนวณราคายาอ้างอิงราคากรมบัญชีกลาง Stroke: DRGs Version 5 ครอบคลุม CT และ PT แล้ว 18

นิ่วในทางเดินปัสสาวะ การบริหารจัดการ นิ่วในทางเดินปัสสาวะ ปีงบประมาณ 2556 หน้า 116

หลักการบริหารจัดการ ส่วนที่แตกต่างจากปี 55 มีการปรับการบริการจัดการ เพื่อควบคุมคุณภาพบริการสลายนิ่วแบบ - จ่ายแบบเหมาความสำเร็จ ในหน่วยบริการนิ่วเอกชน / และ รพ.รัฐ ที่ใช้ out source - ใช้ CPG ของสมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะฯ - มีระบบ post audit 20

การบริหารจัดการนิ่วในทางเดินปัสสาวะ ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 อัตราการจ่ายชดเชยค่าบริการ Class 1 Open / PCNL ราคา 25,000 บาท(รวมค่าภาระ 5,000 บาท) ไตข้างละ 1 ครั้ง/คน/ปี 2. Class 2 ส่องกล้อง ราคา 16,000 บาท (ค่าภาระงาน 3,000 บาท) ไตข้างละ 1 ครั้ง/คน/ปี 3. Class 3 ESWL ราคา 6,500  บาท (ค่าภาระงาน 1,200 บาท/ครั้ง) เบิกไม่เกิน 4 ครั้ง/ข้าง/คน/ปี Class 1 Open / PCNL เหมือนเดิม 2. Class 2 ส่องกล้อง เหมือนเดิม 3. Class 3 เปลี่ยนแปลง ดังนี้ 3.1 ชดเชย ESWL ราคา6,500  บาท (ค่าภาระงาน 1,200 บาท/ครั้ง) เบิกไม่เกิน 4 ครั้ง/คน/ปี 3.2 ชดเชยเป็น Episode 16,000 บาท/ข้าง/คน/ปี ESWL ไม่จำกัดจำนวนครั้ง โดยจะมีการ Audit ก่อนจ่าย หมายเหตุ –หน่วยบริการของรัฐสามารถเลือกการจ่ายชดเชยตามข้อ 3.1 หรือ 3.2 - หน่วยบริการของรัฐที่ outSource และ เอกชน จะจ่ายชดเชยตามข้อ 3.2 เท่านั้น หมายเหตุ การเหมาจ่ายตามราคากลางที่กำหนด โดยไม่หักเงินเดือน