โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
Advertisements

Department of Orthopaedic Surgery
ข้อเท็จจริงที่ควรรู้
โดย น.ส.นงนุช ดีสุทธิ นายไพบูลย์ แก้วทอง
RANDOMIZED CONTROLLED COMPARATIVE STUDY
Table of specification
Applied Data Mining technique to Diagnosis Classification for ICD - 10
M.Sc. Exercise Physiology
LUMBAR DISORDERS.
วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถอธิบาย
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต. วิดีโอ เท้าเทียม (Pseudopodium)
Disability-adjusted life year (DALYs)
การขับเคลื่อนงาน ด้านการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนนในปัจจุบัน 1 นำเสนอโดย นายจุมพฏ วรรณฉัตรสิริ ผู้อำนวยการกองบูรณาการความปลอดภัยทางถนน ข้อมูลประกอบการเสวนา.
นางสาวสรัญญา ชื่นเย็น (พี่ออย) เจ้าหน้าที่ศูนย์นวัตกรรมการจัดการ อ.ก้องภู นิมานันท์ อาจารย์ที่ปรึกษา 1.น.ส.นพรัตน์ ปฏิกรณ์ (คุ๊กกี้) นายบุรินทร์
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
Facilitator: Pawin Puapornpong
Temporomandibular joint
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา เรื่อง
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง Spinal cord injury
Nursing Care of patients with arthritis
intra-abdominal compartment syndrome (ACS )
กายภาพบำบัด ในด้านความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว ของข้อศอก
Nerve injury Kaiwan Sriruanthong M.D. Nan Hospital.
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย Peripheral arterial disease
สสารและสมบัติของสาร Witchuda Pasom.
สรุปโรคที่พบการให้รหัสผิดพลาดบ่อย
สโมสรฟุตบอล แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด
System Requirement Collection (1)
เฝือกสบฟันเอ็นทีไอ อุปกรณ์การรักษาที่น่าจับตามอง
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
Rehabilitation in Spinal Cord Injury
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits
คณะการแพทย์แผนจีน วิทยาลัยนครราชสีมา.
สถานการณ์โรคพิษสุนัขบ้า
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/ จังหวัดกาญจนบุรี
สำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
บทที่ 6 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
การบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วย ก่อนกลับเข้าทำงาน
หลักเกณฑ์ในการตั้งตัวแทน
ความยืดหยุ่น Elasticity
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรมรชาติ
การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Autosome
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
Calculus I (กลางภาค)
สรุปรายงานการตรวจนิเทศงานกระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 1/2559 จังหวัดประจวบคีรีขันต์ คณะที่ 4.2 แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม คณะที่ 5 แผนขยะและสิ่งแวดล้อม.
การออกกำลังกายตา.
Muscular tissue = เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ
Rabbi อาจารย์สอง Satit UP.
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
การปฐมพยาบาลภาวะฉุกเฉิน
การจัดการความเจ็บปวด
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
โครงการบริการวิชาการ
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
การปฐมพยาบาลผู้ที่กระดูกหัก และได้รับบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ และข้อต่อ
การสนับสนุนกิจกรรม Win back ลูกค้าคู่แข่ง บภ.1.1
ตลาดบริการ และ ลูกค้าเป้าหมาย วิชาการจัดการธุรกิจบริการ
Newton’s Second Law Chapter 13 Section 2 Part 2.
คลินิกอาชีวเวชศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคปวดหลังส่วนล่าง (LOW BACK PAIN)

รายงานการวิจัยของกองอาชีวอนามัย กรมอนามัย ศึกษาปัญหาความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อต่อ เนื่องจากการทำงาน ศึกษาในโรงงานอุตสาหกรรม 300 แห่ง ใน 48 จังหวัดทั่วประเทศ สัมภาษณ์คนงาน 2,595 คนถึงอาการปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ร้อยละ 78.5 มีอาการปวดเมื่อย ---> ร้อยละ 52.4 มีอาการปวดหลังส่วนบั้นเอว (low back pain) ร้อยละ 57.5 ทราบถึงสาเหตุของปัญหา ---> ร้อยละ 2.6 แก้ไขปัญหาที่สาเหตุ, ร้อยละ 34.5 ไม่ดำเนินการแก้ไข, ร้อยละ 25.1 ซื้อยากินเอง

คำจำกัดความ โรคปวดหลังส่วนล่าง หมายถึง อาการปวดหลังระหว่างกระดูกซี่โครงซี่สุดท้ายจนถึงขอบก้นด้านล่าง (สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย) โรคปวดหลังส่วนล่าง หมายถึง อาการปวดที่จำกัดอยู่เฉพาะหลังและบั้นเอวส่วนล่างและรวมถึงการปวดหลังร่วมกับอาการปวดขา (ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย)

ส่วนประกอบของหลัง 1. กล้ามเนื้อหลัง

ส่วนประกอบของหลัง 2. กระดูกสันหลัง

ส่วนประกอบของหลัง 3. หมอนรองกระดูก

ส่วนประกอบของหลัง

ส่วนประกอบของหลัง

ส่วนประกอบของหลัง 4. เส้นประสาทไขสันหลัง

สาเหตุของโรคปวดหลัง ความผิดปกติของกระดูกสันหลังตั้งแต่กำเนิด การบาดเจ็บ เช่น กระดูกหัก ข้อเคลื่อน เนื้องอก ของเนื้อเยื่อ กระดูก และเส้นประสาท เกิดการติดเชื้อ เช่น วัณโรคกระดูกสันหลัง โรคเนื้อเยื่ออักเสบ เช่น โรคเกาท์ โรคทางเมตาบอริก เช่น โรคกระดูกพรุน โรคกระดูกสันหลังเสื่อม ---> สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด อาการปวดหลังจากโรคส่วนอื่น เช่น โรคไต

สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด โรคกระดูกสันหลังเสื่อม เช่น โรคกล้ามเนื้อเครียด (Muscle strain) โรคข้อฟาเซท ( facet joint syndrome) โรคหมอนรองกระดูกเสื่อม (Degeneration disc) โรคหมอนรองกระดูกสันหลังยื่น (Herniated disc) โรคกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal stenosis) โรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (Spondylolithesis)

การทำงานก้มๆเงยๆ ทำให้เอวแอ่นมากขึ้น การทำงานก้มๆเงยๆ ทำให้เอวแอ่นมากขึ้น

ภาพแสดงแรงที่กล้ามเนื้อหลังต้องออกแรงดึงพุง

ภาพแสดงช่องทางออกของเส้นประสาท ท่าแอ่นหลัง ท่างอตัว

โรคกล้ามเนื้อเครียด (Muscle strain) มีสาเหตุมาจากการใช้กล้ามเนื้อหลังมากไป การใช้กล้ามเนื้อหลังผิดวิธี ผู้ป่วยจะมีอาการปวดหลังเฉพาะที่ ไม่มีอาการชาขา กดหลังจะปวด การไอ จาม บิดตัว เอี้ยวตัวอาจทำให้ปวดมากขึ้น

หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท การรับน้ำหนักในท่าที่ให้ความดันภายในหมอนรองกระดูกสูง เกิดการฉีกขาดภายในของ Annulus fibrosus Nucleus pulposus มักหลุดออกมาบริเวณข้าง ๆ รากประสาทถูกเบียดทำให้เกิดการชาที่ขา กล้ามเนื้ออ่อนแรง

ลักษณะของหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท (Herniated disc)

ความดันต่อหมอนรองกระดูกในท่าทางต่างๆ 275 kg. 214 kg. 200 kg. 150 kg. 144 kg. 100 kg. 75 kg.

การกระจายของแรงในหมอนรองกระดูก ภาวะปกติ, nucleus จะกระจายแรงอย่างสม่ำเสมอสู่บริเวณรอบๆ หมอนรองกระดูกเริ่มเสื่อม, สูญเสียความสามารถในการรับน้ำหนักส่งผ่านแรงที่ไม่สม่ำเสมอสู่บริเวณรอบๆ หมอนรองกระดูกเริ่มเสื่อมขั้นรุนแรง,หมอนรองกระดูกไม่สามารถรับน้ำหนักได้ นำไปสู่การยื่นของหมอนรองกระดูกไปทับเส้นประสาท

ภาพแสดงการกระจายตัวของแรง บนหมอนรองกระดูกสันหลังบริเวณเอว ท่าที่ผิด ท่าที่ถูกต้อง

กฎกระทรวง กำหนดอัตราน้ำหนักที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานได้ พ.ศ. 2547 ข้อ 1 ให้นายจ้างใช้ลูกจ้างทำงานยก แบก หาม ทูน ลาก หรือเข็นของ หนักไม่เกินอัตราน้ำหนักโดยเฉลี่ยต่อลูกจ้างหนึ่งคน ดังต่อไปนี้ (1) ลูกจ้างหญิง อายุตั้งแต่ 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี ไม่เกิน 20 กิโลกรัม (2) ลูกจ้างชาย อายุตั้งแต่ 15 ปี แต่ไม่เกิน 18 ปี ไม่เกิน 25 กิโลกรัม (3) ลูกจ้างหญิง ไม่เกิน 25 กิโลกรัม (4) ลูกจ้างชาย ไม่เกิน 50 กิโลกรัม

โรคกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal stenosis) เกิดจากการซ่อมแซมกระดูกสันหลังหลังจากเกิดการเสื่อม หรือเมื่อเกิดการบาดเจ็บ ช่องว่างของกระดูกสันหลังแคบลง อาการปวดหลังและชาขาทั้ง 2 ข้างเวลาเดิน

ลักษณะของกระดูกสันหลังตีบแคบ

การรักษาอาการปวดหลัง การรักษาโดยไม่ต้องผ่าตัด การผ่าตัด

การรักษาโดยไม่ต้องผ่าตัด การใช้ยา การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง เครื่องมือช่วยพยุง กายภาพบำบัด

การป้องกันการปวดหลัง การฝึกการใช้ท่าทางที่ถูกต้อง การบริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและกล้ามเนื้อหลัง

ท่ายืนที่ถูกต้อง

ท่านั่งที่ถูกต้อง

ท่านั่งขับรถที่ถูกต้อง

ท่ายกของที่ถูกต้อง

ท่านอนที่ถูกต้อง

การบริหารกล้ามเนื้อ เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ท่าที่ 1 บริหารกล้ามเนื้อหลัง สะโพก ต้นขา 

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ท่าที่ 2  บริหารกล้ามเนื้อหลัง และสะโพก

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ท่าที่ 3    บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและสะโพก

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและสะโพก

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ท่าที่ 4      บริหารกล้ามเนื้อท้อง

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ท่าที่ 5   บริหารกล้ามเนื้อสะโพก และหลัง

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ   ท่าที่ 1

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ   ท่าที่ 2

ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ท่าบริหารร่างกาย เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อ   ท่าที่ 3

“ดูแลสุขภาพหลังของคุณในวันนี้ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีในวัยชรา”