งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits
ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

2 โคนมที่มีโครงร่างที่ดียิ่มส่งผลต่อการได้มาซึ่งผลผลิตที่ดี
การประเมินลักษณะโครงร่างโดยทั่วไปมีด้วยกัน 2 แบบ ได้แก่ ระบบการประเมินในรูปคะแนน 50 (score 50) และ ระบบการประเมินในรูปคะแนน 9 (score 9) สาเหตุที่ใช้ ระบบการประเมินในรูปคะแนนเนื่องจาก การวัดข้อมูลลักษณะ โครงร่างของโคนมโดยตรงนั้นทำได้ยาก แม้ว่าค่าที่ได้จากการ วิเคราะห์จะมีความแม่นยำมากกว่าการแปลงในรูปคะแนนก็ตาม

3 ลักษณะโครงร่างที่ใช้ในการตัดสิน
Approved Standard Traits 1. Stature 2. Chest Width 3. Body Depth 4. Angularity 5. Rump Angle 6. Rump Width 7. Rear Legs Set 8. Rear Legs Rear View 9. Foot Angle 10. Fore Udder Attachment 11. Rear Udder Height Approved Standard Traits 12. Central Ligament 13. Udder Depth 14. Front Teat Placement 15. Teat Length 16. Rear Teat Placement 17. Locomotion 18. Body condition score 19. Hock development 20. Bone structure 21. Rear udder width 22. Teat thickness 23. Muscularity

4 ความสูง (stature; ST) วัดจากบริเวณสันหลังตำแหน่งตรงกับ กระดูกสะโพก (hip bone) ลงไปหาพื้นในแนวตั้งฉาก

5 ความลึกลำตัว (body depth; BD) วัดจากพื้นท้องตรง ตำแหน่งซี่โครงซี่สุดท้ายขึ้นไปหาสันหลัง

6 มุมสะโพก (rump angle; RA) วัดจากตำแหน่ง hip bone ไปหา pin bone แล้วพิจารณาตำแหน่ง pin bone ว่าสูงหรือต่ำกว่า hip bone หากต่ำกว่าจะมีค่าเป็น บวก และสูงกว่าจะมีค่าเป็นลบตามที่วัดได้

7 ความกว้างสะโพก (rump width; RW) วัดจากตำแหน่ง กระดูกก้นกบ (pins bone) ทั้งสองข้าง

8 การวางตัวของขาหลังด้านข้าง (rear legs set; RLS) วัด จากมุมองศาความโค้งงอของขาหลัง (hock joint)

9 มุมกีบ (foot angle; FA) วัดจากกีบเท้าของขาหลังโค โดย จัดท่าทางการยืนของโคให้เป็นปกติโดยขาหลังทั้งสองข้างต้องอยู่ใน ระนาบเดียวกันและไม่แบะไปด้านใดด้านหนึ่งทำเช่นเดียวกันกับโคน ทุกตัว

10 ความยาวหัวนม (teat length; TL) วัดจากฐานเต้านมไป จนถึงปลายหัวนม

11 ความลึกของเต้านม (udder depth; UD) วัดจากจุดที่ต่ำ ที่สุดของฐานเต้านมไปถึงบริเวณข้อขา (hock joint) หากพื้น เต้านมสูงกว่าข้อขาจะมีค่าเป็นบวก แต่ถ้าต่ำกว่าข้อขาจะมีค่าเป็นลบ

12 ความสูงของเต้านมด้านหลัง (rear udder height; RUH) วัดจากปลายอวัยวะเพศ (vulva) ไปถึงฐานเต้านม

13 ความกว้างของเต้านมด้านหลัง (rear udder width;
RUW) วัดจากระยะห่างระหว่างฐานเต้านมของขาหลังทั้งสองข้าง

14 Scale 1-9 STATURE BODY DEPTH RUMP ANGLE Short cm Shallow High pin 1
130 65 +4 2 133 68 +2 3 136 71 4 139 74 -2 5 142 77 -4 6 145 80 -6 7 148 83 -8 8 151 86 -10 9 154 89 -12 Tall Deep High slope RUMP WIDTH UDDER WIDTH UDDER DEPTH Narrow -5 11 +5 13 +10 15 +15 17 +20 19 +25 21 +30 Wide UDDER HEIGHT TEAT LENGTH REAR LEGS SET Low Straight degree 24 165 26 160 28 155 30 150 32 34 140 36 135 38 40 125 High Long Sickle FOOT ANGLE 25 35 45 50 55 60 Steep Scale 1-9


ดาวน์โหลด ppt การปรับปรุงพันธุ์ลักษณะโครงร่าง Dairy Cattle Judging from Type Traits

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google