งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Muscular tissue = เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Muscular tissue = เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Muscular tissue = เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ
โครงสร้าง  ประกอบด้วยเซลล์กล้ามเนื้อ เรียกใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) Sarcolemma Sarcoplasm  บรรจุ Actin และ Myosin Nucleus  ประเภทของกล้ามเนื้อ Skeletal muscle หรือ Voluntary striated muscle Cardiac muscle หรือ involuntary striated muscle Smooth muscle หรือ involuntary muscle

2 Skeletal muscle  ยึดกับกระดูก พบเป็นส่วนประกอบของกล้ามเนื้อบริเวณแขน ขา และลำตัว  voluntary  cross striation  เซลล์กล้ามเนื้อลายมีรูปร่างคล้ายทรงกระบอกกลมยาวมี nucleus รูปไข่หลายอันอยู่ขอบเซลล์ (eccentric)

3 Cardiac muscle  พบที่ผนังของหัวใจเท่านั้น  involuntary
 พบที่ผนังของหัวใจเท่านั้น  involuntary  cross striation  เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจเป็นรูปทรงกระบอก ส่วนปลายของแต่ละเซลล์แตกแขนง (bifurcate) ไปเชื่อมต่อกับเซลล์ที่อยู่ข้างเคียงมี 1 หรือ 2 nuclei อยู่กลางเซลล์ (eucentric)

4 Smooth muscle  พบเป็นส่วนประกอบของอวัยวะภายใน เช่น ผนังของท่อทางเดินอาหาร ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสืบพันธุ์ ผนังหลอดเลือด  involuntary  เซลล์กล้ามเนื้อเรียบคล้ายรูปกระสวน ยาวรี มี Nucleus รูปยาวรีเพียง 1 อันอยู่กลางเซลล์ ไม่มีลาย  การเรียงตัวของเซลล์อาจเรียงตัวอยู่เดี่ยวๆ หรืออยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ หรือเรียงกันเป็นแผ่น โดยส่วนกว้างที่สุดของเซลล์หนึ่งอยู่ติดกับส่วนที่แคบของอีกเซลล์หนึ่ง

5 ในการเคลื่อนไหวร่างกายของคนและสัตว์ต่างๆ ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการทำงานของกล้ามเนื้อ นอกจากบทบาทในการเคลื่อนไหวแล้ว ระบบกล้ามเนื้อยังทำหน้าที่เป็นเครื่องค้ำจุนให้รูปร่างของสัตว์คงรูปอยู่ได้ เช่น สัตว์พวกไส้เดือนดินและหนอนชนิดต่างๆ มีรูปทรงคงที่อยู่ได้ก็ด้วยระบบกล้ามเนื้ออีกประการหนึ่งก็คือหน้าที่ในการทำให้เกิดความร้อนแก่ร่างกาย

6 กล้ามเนื้อของคนและสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ
ประเภทของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อของคนและสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle หรือ nonstriated muscle) เป็นกล้ามเนื้อซึ่งไม่มีลายตามขวาง พบในอวัยวะภายใน ซึ่งไม่อยู่ในอำนาจจิตใจ เช่น ผนังทางเดินอาหารตั้งแต่หลอดอาหารส่วนกลาง ไปจนถึงลำไส้ใหญ่ เรคตัม (Rectum), ผนังหลอดเลือด, ผนังมดลูก, ผนังกระเพาะปัสสาวะ, ม่านตา, ทางเดินอากาศ (respiratory tract) และกล้ามเนื้อโคนขน เป็นต้น กล้ามเนื้อเรียบแม้จะทำงานหดตัวได้ด้วยตัวเอง แต่ยังคงมีเส้นประสาทในระบบอัตโนวัติมาควบคุมด้วย เป็นการทำงานอย่างช้าๆ แต่ทว่าทำอยู่ได้ตลอดเวลา นอกการควบคุมของจิตใจ จึงเรียกชื่อกล้ามเนื้อชนิดนี้อย่างหนึ่งว่า Involuntary muscle

7 2. กล้ามเนื้อลาย (striated muscle)
เป็นกล้ามเนื้อที่มีลายหรือแถบสีเข้มกับสีจางสลับกันตามขวาง ภายในเซลล์ของกล้ามเนื้อจะมีเส้นใยเล็กๆ ซึ่งหดตัวได้เรียกว่า ไมโอไฟบริล (myofibril) เส้นใยเหล่านี้ประกอบด้วยโมเลกุลของโปรตีนแอกติน (actin) และไมโอซิน (myosin) ทั้งชนิดแอกตินและไมโอซินจะเรียงตัวเป็นแถบสีเข้มทึบและสีจางสลับกัน ดังนั้นจะเห็นเป็นลายตามขวางนั้นเอง กล้ามเนื้อลายส่วนมากเป็นกล้ามเนื้อที่ยึดเกาะกระดูก เป็นกล้ามเนื้อส่วนใหญ่ของร่างกายมักเรียกว่า Skeletal muscle ทำงานอยู่ใต้อำนาจจิตใจ จึงเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Voluntary muscle

8 3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
พบเป็นผนังของหัวใจโดยเฉพาะ เรียกว่า cardiac muscle ต่างจากกล้ามเนื้อของอวัยวะภายในอื่น คือ เป็นกล้ามเนื้อที่มีลายของแถบต่างๆ แต่ไม่อยู่ใต้อำนาจิตใจ (involuntary) โดยจะทำงานหดตัวเป็นจังหวะด้วยตัวเอง เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจจะแยกเป็นแขนงเรียก Anastomoses

9

10

11 ตารางเปรียบเทียบกล้ามเนื้อ 3 ชนิด
ชนิดของกล้ามเนื้อ สิ่งเปรียบเทียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ 1. รูปร่างลักษณะ ของเซลล์ ทรงกระบอก กลมยาว และมีลายพาดขวางเป็นระยะๆ ยาวเรียบ ปลายแหลม คล้ายกระสวย ไม่มีลายพาดขวาง ทรงกระบอกสั้นและมีลายพาดขวางเป็นระยะๆ เซลล์มีการแยกแขนงมี Intercalated disk กั้นเซลล์ 2. จำนวนนิวเคลียส ต่อเซลล์ มากกว่า นิวเคลียส อยู่ข้างๆ เซลล์ 1 นิวเคลียส อยู่กลางเซลล์ 1-2 นิวเคลียส อยู่ตรงกลาง

12 อยู่ใต้อำนาจจิตใจ (Voluntary) อยู่นอกอำนาจจิตใจ (Involuntary)
ชนิดของกล้ามเนื้อ สิ่งเปรียบเทียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ 3. การควบคุม การทำงาน อยู่ใต้อำนาจจิตใจ (Voluntary) อยู่นอกอำนาจจิตใจ (Involuntary) 4. ตำแหน่งที่พบ มักยึดกับกระดูก องค์ประกอบของอวัยวะภายใน ผนัง และคลายตัวเป็นจังหวะต่อเนื่องกันตลอดชีวิต 5. ลักษณะการทำงาน หดตัวได้แรง และคลายตัวได้เร็ว จึงเหมาะต่อการเคลื่อนที่และการใช้กำลังมากๆ หดตัว และคลายตัวอย่างช้าๆ หดตัว และคลายตัวเป็นจังหวะต่อเนื่องกันตลอดชีวิต 6. ปริมาณในร่างกาย มากที่สุด รองลงมา น้อยที่สุด

13 แอกตินและไมโอซินแต่การจัดเรียงโครงสร้างต่างกัน
ชนิดของกล้ามเนื้อ สิ่งเปรียบเทียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ 7. ความต้องการ พลังงาน ต้องการพลังงานมากโดยเฉพาะขณะออกกำลังกายอย่างหนัก จึงหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจนได้ดีเป็นพิศษ ต้องการพลังงานน้อย จึงไม่มีการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน ต้องการพลังงานมากที่สุด ดังนั้นภายในเซลล์จึงมีไมโทคอนเดรียมากที่สุด ไม่มีการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน 8. โปรตีนที่เป็นองค์ประกอบหลัก แอกตินและไมโอซินแต่การจัดเรียงโครงสร้างต่างกัน 9. ขนาดของเซลล์ ใหญ่ที่สุด เล็กที่สุด ปานกลาง 10. ความเร็วในการ หดตัว เร็วที่สุด ช้าที่สุด ปานกลาง

14 กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ
ชนิดของกล้ามเนื้อ สิ่งเปรียบเทียบ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ ความสามารถในความคงทนของการหดตัว น้อยที่สด มากที่สุด ปานกลาง


ดาวน์โหลด ppt Muscular tissue = เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google