อีเทอร์และอีพอกไซด์ Ether and Epoxide

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
การจำแนกสารอินทรีย์ ฟังก์ชั่นของสารอินทรีย์
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
ความเค้นและความเครียด
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
แบบฝึกหัดที่ 3 ไฮโดรคาร์บอน
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
การรักษาดุลภาพของเซลล์
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
Basic Input Output System
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การอ่านและวิเคราะห์ บทความวิชาการ (ตัวอย่าง)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
Alkyne และ Cycloalkyne
Chemistry Introduction
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
จำนวนนิติบุคคลในจังหวัดเลย
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หมู่ฟังก์ชัน.
แบบจำลอง อะตอมของจอห์นดาลตัน
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ประติมากรรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Sculpture) โดย อาจารย์สันติสุข แหล่งสนาม ภาคการศึกษาที่ 2/2559.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อีเทอร์และอีพอกไซด์ Ether and Epoxide ผศ.ดร.ฐิติพรรณ ฉิมสุข

อีเทอร์ อีเทอร์ (ethers) เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีสูตรทั่วไป R–O–R เมื่อ R และ R แทนหมู่อัลคิลหรือหมู่อาริล ถ้าหมู่อัลคิลทั้งสองนี้เหมือนกันเรียกว่า อีเทอร์สมมาตร (symmetrical ether) ถ้าแตกต่างกันเรียกว่า อีเทอร์ไม่สมมาตร (unsymmetrical ether) อีเทอร์ใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์โดยใช้ไดเอทิลอีเทอร์ (diethyl ether) เป็นยาสลบ โดยจะออกฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางจนทำให้หมดสติ อีเทอร์ใช้เป็นตัวทำละลายอินทรีย์ในห้องปฏิบัติการเพื่อใช้ในการสกัดสารหรือตกผลึกสาร อีเทอร์สามารถละลายสารประกอบอินทรีย์ได้หลายชนิด อีเทอร์ขจัดออกได้ง่ายเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาเนื่องจากมีจุดเดือดต่ำ

อีเทอร์ สูตรโครงสร้างทั่วไปของอีเทอร์ R-O-R Ar-O-Ar Ar-O-R

อีเทอร์ diethyl ether ethyl phenyl ether ethylene oxide

การเรียกชื่ออีเทอร์ การเรียกชื่ออีเทอร์อาจเรียกชื่อสามัญว่า อัลคิล อัลคิล อีเทอร์ (alkyl alkyl ether) เรียกชื่อ IUPAC ว่า อัลคอกซีอัลเคน (alkoxy alkane)

การเรียกชื่อสามัญอีเทอร์ การเรียกชื่อสามัญของอีเทอร์จะเรียก อัลคิล อัลคิล อีเทอร์ (alkyl alkyl ether) dimethyl ether tert – butyl isopropyl ether chloromethyl methyl ether cyclohexyl isopropyl ether diphenyl ether

การเรียกชื่อ IUPAC อีเทอร์ การเรียกชื่อ IUPAC ของอีเทอร์กำหนดให้หมู่อัลคิลที่มีขนาดใหญ่กว่า (คือมีจำนวนคาร์บอนมากกว่า) ให้เป็นชื่อหลัก และจะเรียกชื่อไว้ตำแหน่งหลังสุด โดยเรียกชื่อตามจำนวนคาร์บอนเหมือนการเรียกชื่อของอัลเคน ส่วนหมู่อัลคิลขนาดเล็ก (คือมีจำนวนคาร์บอนน้อยกว่า) ให้เรียกชื่อเขียนไว้ด้านหน้าในรูปของหมู่อัลคอกซี (alkoxy group)

การเรียกชื่อ IUPAC อีเทอร์ การเรียกชื่อหมู่อัลคอกซี (R–O-) CH3 – O - methoxy CH3CH2 – O - ethoxy CH3CH2CH2 – O - n - propoxy (CH3)2CH – O - isopropoxy ตัวอย่างการเรียกชื่อ IUPAC methoxy ethane chloromethoxy methane ethoxycyclopropane

การเรียกชื่อ IUPAC อีเทอร์ 1 – butoxycyclopentane isopropoxycyclohexane methoxy benzene

ไซคลิกอีเทอร์และการเรียกชื่อ ไซคลิกอีเทอร์เป็นสารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (heterocyclic compound) ซึ่งมีโครงสร้างเป็นวง ภายในวงมีอะตอมของธาตุอื่นที่ไม่ใช่คาร์บอนอยู่ด้วยในที่นี้คืออะตอมออกซิเจน ไซคลิกอีเทอร์แบ่งออกได้ดังนี้ อีพอกไซด์ (epoxide, oxirane)

- พันธะ C-O มีขั้ว (electronegativity of the O atom ) อีพอกไซด์ (Epoxides) - โครงสร้างเป็นวงปิด 3 อะตอม ภายในโมเลกุลประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 2 -1O อะตอม อะตอมคาร์บอนเกาะกับอะตอมออกซิเจนด้วยพันธะเดี่ยว (sigma bond) - พันธะ C-O มีขั้ว (electronegativity of the O atom ) - อีพอกไซด์มีความเครียดสูง(highly strained)คล้ายไซโคล โพรเพน เมื่อมีนิวคลีโอไฟล์ (nucleophiles)เข้ามาทำปฏิกิริยาที่อะตอมคาร์บอนของพันธะC-O ทำให้เกิดการแตกของวงอีพอกไซด์ pimporn-1-57

โซ่หลัก = 6C ; C-C อ่านว่า hexane หมู่เกาะที่ตำแหน่ง 3 อ่าน เมททิล ที่ตำแหน่ง 3 และ 4ของโซ่หลัก อ่าน epoxy ( C-O-C) ชื่อ IUPAC : 3,4-Epoxy 3-methylhexane pimporn-1-57

ไซคลิกอีเทอร์และการเรียกชื่อ ออกซีเทน (oxetan) ฟิวราน (furan, oxolane) ไพราน (pyran, oxane) Furan tetrahydrofuran (THF) pyran tetrahydropyran (oxane)

ไซคลิกอีเทอร์และการเรียกชื่อ ไดออกเซน (dioxane) 1, 4 – dioxane

CH3-O-CH3 CH3- CH2-O-CH2-CH3 ชนิดของอีเทอร์ : อีเทอร์ชนิดสมมาตร หรืออีเทอร์เชิงเดี่ยว : อีเทอร์ชนิดอสมมาตร หรืออีเทอร์ชนิดผสม 1. อีเทอร์ชนิดสมมาตร (Symmetrical ether) : อีเทอร์ที่มีหมู่เกาะสองข้างของอะตอมออกซิเจน เหมือนกัน CH3-O-CH3 CH3- CH2-O-CH2-CH3 pimporn-1-57

2. อีเทอร์ชนิดอสมมาตร (Unsymmetrical ether) pimporn-1-57

สมบัติของอีเทอร์ อีเทอร์เป็นโมเลกุลมีขั้ว ออกซิเจนในโมเลกุลค่อนข้างมีประจุลบแต่ความเป็นขั้วน้อยกว่าแอลกอฮอล์ อีเทอร์ละลายน้ำได้เล็กน้อยหรือไม่ละลาย และมีกลิ่นเฉพาะตัว อีเทอร์ระเหยได้และติดไฟได้ จุดหลอมเหลว และจุดเดือดของอีเทอร์ต่ำ ถ้าเปรียบเทียบจุดเดือดระหว่างอีเทอร์กับแอลกอฮอล์ที่ MW เท่ากัน อีเทอร์จะมีจุดเดือดต่ำกว่าแอลกอฮอล์ อีเทอร์ระเหยและติดไฟได้ง่าย

การสังเคราะห์อีเทอร์ การสังเคราะห์อีเทอร์ด้วยวิธีของวิลเลียมสัน (Williamson ether synthesis) เกิดจากปฏิกิริยาระหว่างอัลคอกไซด์ไอออนกับอัลคิลเฮไลด์ปฐมภูมิเป็นปฏิกิริยาการแทนที่แบบ SN2 methoxide ion 1 – iodopropane methyl n – propyl ether

ปฏิกิริยาของอีเทอร์ ปฏิกิริยาการแทนที่ของอีเทอร์ด้วยกรดไฮโดรเฮลิกเช่น กรดไฮโดรไอโอดิก (HI) กรดไฮโดรโบรมิก (HBr) กรดไฮโดรคลอริก เป็นต้น ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแอลกอฮอล์และอัลคิลโบรไมด์หรืออัลคิลไอโอไดด์ อันดับความไวปฏิกิริยาการแตกอีเทอร์ของกรดไฮโดรเฮลิกจะเป็นดังนี้ HI > HBr >> HCl diethyl ether ethyl bromide ethanol

การสังเคราะห์อีพอกไซด์ อัลคีนใช้เป็นสารตั้งต้นในการเตรียมอีพอกไซด์จากปฏิกิริยาอีพอกซิเดชันด้วยกรดเปอร์ออกซี อย่างเจือจางและละลายในตัวทำละลายที่ไม่แตกตัวเช่น CH2Cl2 กรดเปอร์ออกซีที่นิยมใช้ในปฏิกิริยาอีพอกซิเดชันคือ meta–chloro peroxybenzoic acid (MCPBA) ปฏิกิริยาอีพอกซิเดชันด้วยกรดเปอร์ออกซีจะเกิดได้อย่างรวดเร็วตรงตำแหน่งพันธะคู่ของอัลคีนเพราะมีอิเล็กตรอนอยู่มาก

การสังเคราะห์อีพอกไซด์ MCPBA (meta – chloroperoxybenzoic acid)

การสังเคราะห์อีพอกไซด์ cyclohexene cyclohexene oxide (1, 2 – epoxycyclohexane)

ปฏิกิริยาของอีพอกไซด์ การเปิดวงอีพอกไซด์นั้นเป็นการเปิดวงโดยมีกรดหรือเบสเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาและปฏิกิริยาเกิดผ่านกลไก SN2 คือ นิวคลีโอไฟล์เข้าชนคาร์บอนอะตอมใดอะตอมหนึ่งของอีพอกไซด์ ตัวอย่างการเปิดวงอีพอกไซด์ด้วยนิวคลีโอไฟล์ (Nuc-) แสดงดังรูป

ปฏิกิริยาของอีพอกไซด์ ตัวอย่างการเปิดวงอีพอกไซด์ด้วยเบส ethylene oxide ethylene glycol 2 – methoxy – 1 – ethanol

ปฏิกิริยาของอีพอกไซด์ ตัวอย่างการเปิดวงอีพอกไซด์ด้วยกรด ethylene glycol 2 – chloro – 1 - ethanol

ปฏิกิริยาของอีพอกไซด์ ตัวอย่างการเปิดวงอีพอกไซด์ด้วยกรินยาร์รีเอเจนต์ กรินยาร์รีเอเจนต์สามารถเข้าทำปฏิกิริยากับวงอีพอกไซด์ได้เนื่องจากมีอะตอมคาร์บอนที่มีประจุค่อนข้างเป็นลบทำนองเดียวกับนิวคลีโอไฟล์อื่น ๆ ได้ผลผลิตเป็นเกลือแมกนีเซียมของแอลกอฮอล์ และเมื่อไฮโดรไลส์จะได้แอลกอฮอล์