โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ
โครงการกำจัดโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ 2
X http://thaigcd.ddc.moph.go.th/
X http://thaigcd.ddc.moph.go.th/
พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอการกำจัด โรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือร่วมกับประเทศอื่นใน ภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2009 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการกวาด ล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ. 2553-2563 และให้ กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มีกรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในประเทศไทย พ.ศ. 2514 – 2554 ก่อนเริ่มโครงการกำจัดโรคหัด วินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการร้อยละ 2 เริ่มให้ M เด็ก 9-12 เดือน เริ่มให้ M นักเรียน ป.1 ให้ MMR แทน M ในนักเรียน ป.1 จำนวนผู้ป่วย การระบาดมีแนวโน้มลดลงหลังมีการให้วัคซีนหัดในปี พ.ศ.2527 และเพิ่มวัคซีนหัดเข็ม2 ในปี พ.ศ. 2540 ในเด็กชั้น ป.1 แต่มีการระบาดเพิ่มมากขึ้นในปี พ.ศ.2551 ในปัจจุบันอัตราป่วยอยู่ประมาณ 10 ต่อแสน ยังสูงกว่าเป้าหมาย ของการกำจัดโรคหัด (ปี 2563) ที่ 1 ต่อล้านมาก อย่างไรก็ตามต้องคำนึงด้วยว่าผู้ป่วยหัดส่วนใหญ่ของเรา เป็นการวินิจฉัยโดยใช้อาการทางคลีนิค ข้อมูลเฝ้าระวังโรค รง 506 6
แนวโน้มสัดส่วนอายุของผู้ป่วยโรคหัด กลุ่มอายุ > 15 ปี ข้อมูลจากสำนักระบาดวิทยา 7
เป้าหมาย: ภายในปี พ.ศ. 2563 โครงการกำจัดโรคหัดตามพันธะสัญญานานาชาติ กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ตรวจยืนยันโรคหัดทางห้องปฏิบัติการ
วัตถุประสงค์การดำเนินการ ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคน ในปี 2563 (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558)
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ร่าง 2559 สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การกำจัดโรคหัด (measles elimination) การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดระบบเฝ้าระวังโรคหัด การดำเนินงานเฝ้าระวัง 1. อัตราการรายงานผู้ป่วย - มีการรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัด > 2/แสน ปชก./จังหวัด/ประเทศ 2. การตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการ ส่ง serum ตรวจ measles IgM > 80 % ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง 3. การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ มีการเก็บสิงส่งตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ > 80 % ของเหตุการณ์การระบาด 4. การสอบสวนโรค มีการสอบสวนโรคเฉพาะรายผู้ป่วยไข้ออกผื่น/สงสัยโรคหัด/หัดเยอรมัน ภายใน 48 ชม หลังพบ ผป. > 80 % ของ ผป.
การเฝ้าระวังโรคหัด ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การเฝ้าระวัง (Surveillance case) หมายถึง ผู้ป่วยไข้ออกผื่น ผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันทั้งหมด ที่ถูกรายงานเข้าโครงการกำจัดโรคหัด(ME) เป็นค่าเริ่มต้น(default) ก่อนจะพิจารณาเกณฑ์ ทางคลินิกและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง ตามโครงการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ ผู้ป่วยไข้ออกผื่น หรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด หรือหัดเยอรมัน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย
ข้อมูลจากห้องปฏิบัติการ ไข้ ออกผื่น ในเด็ก Parvovirus B19 HHV6 Dengue Rickettsia Chickungunya etc. Laboratory Others: Reference: WHO/IVB/07.01
นิยามผู้ป่วยสำหรับการเฝ้าระวังโรค ผู้ป่วยไข้ออกผื่น หมายถึง ผู้ป่วยที่มีไข้ร่วมกับผื่นนูนแดง (Maculopapular rash) ซึ่งรวมถึง โรค Reseola infantum (B08.2) โรค Erythema infectiotum (B08.3) โรคไข้ออกผื่นอื่นๆ ในกลุ่มการติดเชื้อ ไวรัสอื่นๆ ที่ไม่ทราบแน่ชัด (B09)
เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น
เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2. 1 เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Genotyping - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดยการทำ Throat swab culture หรือ Nasal swab culture
ประเภทผู้ป่วย (Measles classification) ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก แต่ไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผู้ป่วยเข้าข่าย(Probable case) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วย ที่ยืนยันผล ผู้ป่วยยืนยัน(Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และมีผลบวกตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 1 ข้อ ผู้ป่วยที่ไม่ใช่โรคหัด(Non-measles case) หมายถึงผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การเฝ้าระวัง มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นลบ และไม่มีความเชื่อมโยงทางด้านระบาดวิทยากับผู้ป่วยยืนยัน
นิยามการระบาดผู้ป่วยสงสัยโรคหัด นิยามการระบาดของโรคตามโครงการกำจัดโรคหัดที่ใช้ในประเทศไทย คือ การพบผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด(B05) /หัดเยอรมัน(B06) อย่างน้อย 2 ราย ภายใน14 วัน ในหมู่บ้าน ชุมชน หรือ สถานที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น เช่น โรงงาน โรงเรียน สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก และ อื่นๆ เดียวกัน
นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกัน เป็นประจำ ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วัน ก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท บุคคลากรทางการแพทย์ที่ดูแลผู้ป่วย
การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล
เมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการ ให้เจาะเลือดส่งตรวจ measles IgM ทุกราย - ระยะเวลาเจาะเลือดที่ดีที่สุด คือหลังผื่นขึ้น 4 – 30 วัน - หากผู้ป่วยมาเร็วมาก เช่น 1 วันหลังผื่นขึ้น ยังไม่ต้องเจาะเลือด อาจนัดมาเจาะเลือดภายหลัง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาให้ติดตามในพื้นที่ ส่งเลือดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ การตรวจไม่เสียค่าใช้จ่าย (รพ.มีค่าใช้จ่ายเฉพาะการเจาะเลือด และจัดส่ง) แจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาเพื่อดำเนินการสอบสวน และรายงานต่อไป
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
เมื่อเจ้าหน้าที่ระบาด ได้รับรายงานผู้ป่วย สอบสวนเฉพาะราย (case investigation) สอบสวนผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาล ทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM เพื่อทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย ยืนยันการวินิจฉัยโรค และ ตรวจสอบการระบาดที่อาจจะมีอยู่ในชุมชน
เมื่อสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงานเข้าฐานข้อมูลสำนักระบาดวิทยา เข้า website สำนักระบาดวิทยา โครงการกำจัด โรคหัด ฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด กรอกข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หรือการ ระบาด รวมทั้งข้อมูลวันที่เจาะเลือด เมื่อมีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะรายงานให้ทราบทาง website นี้
การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด ตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA (ผู้ป่วยทุกราย) เจาะเลือดครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังผื่นออก เจาะ 3-5 มล. ดูด serum ส่งกรม/ศูนย์วิทย์ฯ ภายใต้ระบบลูกโซ่ความเย็น (ไม่ควรเก็บ serum ไว้นานเกิน 3 วัน) รายงานผลได้ภายใน 48 ชั่วโมง
การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้ทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค
รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด (เฉพาะเมื่อสอบสวนการระบาดที่เป็นกลุ่มก้อน) Throat swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก Nasal swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
แบบสอบสวนเหตุการณ์การระบาด(ME2 form)
ฐานข้อมูล online โครงการกำจัดโรคหัด
Number of reported measles by month, Thailand, 2011 - 2012
Measles elimination 2011: Outbreak 16 outbreaks were reported 5 confirmed measles 4 confirmed rubella 6 non-specified Measles outbreak Province Place Age (yr) onset Geno type 1 Samutprakan Prison 19 - 29 Feb D9 2 Lampang School 10 – 15 Sep D8 3 Petchaburi 7-11 4 Pitsanulok 25 - 34 Dec รอผล 5 Pattani - Narathiwat School-Community 5 mo. - 27 Oct - Dec พิษณุโลก และ ปัตตานี ทราบว่า confirm แต่ยังไม่ได้ลง lab Another 18 small clusters (same sub district within 14 days) 40
Confirmed Measles outbreak, 2012 (05/2012) Province Place Age (yr) Race onset %AR 1 Chiang Rai School - Community 0 - 12 Jan NA 2 Petchaboon Chicken slaughtering factory 18 – 25 Myanmar Feb 1.8 3 Kanchanaburi Prison 22 – 34, 40 Thai 0.9 4 Phuket Foreign tourist (Europe) Adult Apr 4 ราย 5 Chiang Mai (R/O measles) School 6 – 9 June 8
รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556 ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 1 ราชบุรี ศูนย์พักพิงบ้านถ้ำหิน 13 6 เดือน - 38 ปี 3 ม.ค.-12 ก.พ. กระเหรี่ยง โรคระบาดจากพม่า 2 สุรินทร์ โรงเรียนบ้านโจรก 8 11-13 ปี 10 – 22 ก.พ. เด็กไทย 3 แม่ฮ่องสอน ศูนย์พักพิง แม่ลามาหลวง 23 6 เดือน - 44 ปี 7 มี.ค.-24 เม.ย.
รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556 ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 4 ตาก โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 7 1-6 ปี 15 มี.ค.-14 เม.ย. ชายแดนพม่า, Low vaccine coverage 5 นครปฐม เรือนจำ 10 22-31 ปี 30 เม.ย.-5 พ.ค. ชายไทย 6 มหา สารคาม 26 20-34 ปี 25 มี.ค. – 6 มิ.ย.
สาเหตุที่โรงพยาบาลไม่ส่งตัวอย่างยืนยันโรคหัด แพทย์ พยาบาล จนท.ระบาดวิทยา รพ. ไม่ทราบว่ามีผู้ป่วยโครงการกำจัดโรคหัด 9 7 3 ผู้ป่วยไม่อยู่ในเงื่อนไขเวลาของการเก็บตัวอย่าง 1 ผู้ป่วยไม่มาตามนัด ไม่ได้นัดผู้ป่วย 6 ไม่มีพาหนะมาส่งตัวอย่างที่ห้อง LAB จำนวนผู้ให้ข้อมูล 10
วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรค แต่ ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการควบคุมโรค
แนวทางการป้องกันควบคุมการระบาดโรคหัด แนวทางการตรวจสอบและให้วัคซีน เพื่อการกำจัดโรคหัด การเบิกวัคซีนและการกระจายวัคซีน MMR/MR
แนวทางการตรวจสอบและ ให้วัคซีนเพื่อการกำจัดโรคหัด ระยะก่อนเกิดโรค ระยะที่มีการระบาด
ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค
ระยะก่อนเกิดโรค 1. การตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กกลุ่ม เป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบและการให้วัคซีนเพิ่มเติม 1.1 การได้รับวัคซีน M/MMR เด็กอายุครบ 1 ปี 1.2 การได้รับวัคซีน M/MMR เด็กอายุครบ 3 ปี 1.3 การได้รับวัคซีน M/MMR/MR เด็ก < 7 ปี 1.4 การได้รับวัคซีน M/MMR/MR เด็ก ป.1 และ ม.1 1.5 สถานบริการไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีนของกลุ่มเป้าหมาย ตาม 1.1 – 1.4
ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในกลุ่มเป้าหมายรายไตรมาส (> 95%) ครั้งที่ 1 : เด็กอายุ 9-12 เดือน ครั้งที่ 2 : เด็กอายุ 30 - 36 เดือน ครั้งที่ 3 : นักเรียนชั้น ป. 1 (จะยกเลิกปีการศึกษา 2559)
การให้บริการวัคซีน MR/MMR 2559
การให้วัคซีน MMR ในเด็กก่อนวัยเรียน 1. อายุ 9 เดือน ถึง ต่ำกว่า 2 ปี 6 เดือน 2. อายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง ต่ำกว่า 7 ปี
1. อายุ 9 เดือน ถึง ต่ำกว่า 2 ปี 6 เดือน ประวัติการได้รับวัคซีน M/MR/MMR การให้วัคซีน ไม่เคยได้รับวัคซีน ครั้งนี้ให้ MMR 1 ครั้ง (และให้อีก 1 ครั้ง พร้อม LAJE เมื่ออายุ 2 ปี 6 เดือน) ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ ได้รับวัคซีน ก่อนอายุ 9 เดือน เคยได้มาแล้ว หลังอายุ 9 เดือน ครั้งนี้ไม่ต้องให้ MMR
2. อายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง ต่ำกว่า 7 ปี 2. อายุ 2 ปี 6 เดือน ถึง ต่ำกว่า 7 ปี ประวัติการได้รับวัคซีน M/MR/MMR การให้วัคซีน ไม่เคย/ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ เคยได้ 1 ครั้ง ก่อน 9 เดือน 2 ครั้ง (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน) ได้ 1 ครั้ง หลัง 9 เดือน 1 ครั้ง (ห่างจากครั้งที่ 1 > 1 เดือน) ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ก่อน 9 เดือน ครั้งที่ 2 หลัง 18 เดือน 1 ครั้ง (ห่างจากครั้งที่ 2 > 1 เดือน) ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลัง 9 เดือน ครั้งที่ 2 ก่อน 18 เดือน 1 ครั้ง (ห่างจากครั้งที่ 2 > 1 เดือน) ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลัง 9 เดือน ครั้งที่ 2 หลัง 18 เดือน ครั้งนี้ไม่ต้องให้ MMR
การให้วัคซีน MR/MMR ในเด็กวัยเรียน
การให้วัคซีน MR/MMR ในเด็กวัยเรียน (ป.1/ม.1) ประวัติการได้รับวัคซีน M/MR/MMR การให้วัคซีน MR/MMR ไม่เคย/ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ เคยได้ 1 ครั้ง ก่อน 9 เดือน 1 ครั้ง ได้ 1 ครั้ง หลัง 9 เดือน 1 ครั้ง ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ก่อน 9 เดือน ครั้งที่ 2 หลัง 18 เดือน ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลัง 9 เดือน ครั้งที่ 2 ก่อน 18 เดือน 1 ครั้ง ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลัง 9 เดือน ครั้งที่ 2 หลัง 18 เดือน ไม่ต้องให้ MMR ได้ 1 ครั้ง หลัง 4 ปี ไม่ต้องให้ MMR
ระยะก่อนเกิดโรค ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน ของเด็กในพื้นที่ และการให้วัคซีนเพิ่มเติม (เก็บตก) 2. ให้วัคซีนเสริมในประชากรกลุ่มเสี่ยงสูง ก่อนเกิดโรค
ระยะก่อนเกิดโรค 2. การให้วัคซีนเสริมในประชากร กลุ่มเสี่ยงสูง @ เด็กที่อยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร @ เด็กด้อยโอกาส @ เด็กในกลุ่มแรงงานต่างชาติ
กรณีไม่มีหลักฐานการได้รับวัคซีน ของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน กรณีมีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ (2) สสอ./สสจ. วางแผนรณรงค์ให้ MMR แก่เด็กทุกคน โดยไม่คำนึงถึงประวัติการเจ็บป่วย ประวัติการได้รับวัคซีนในอดีต
แนวทางการให้วัคซีนเมื่อพบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคลรวมกันเป็นจำนวนมาก พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 1 ราย ดำเนินการเช่นเดียวกับ ในระยะก่อนเกิดโรค ดำเนินการควบคุมโรค
เกณฑ์การระบาด พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายในระยะเวลา 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคล รวมกันเป็นจำนวนมาก
แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี) กลุ่มวัยเรียน ผู้ใหญ่ พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)
> 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ การระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุต่ำกว่า 7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ (MMR1 และ 2) ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน M/MR/MMR > 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ ติดตามเด็กเฉพาะราย ที่ยังไม่ได้รับวัคซีน มารับวัคซีนทันที ให้ MMR แก่เด็ก > 9 เดือน ถึง 6 ปี เก็บตก +ทุกคน ในหมู่บ้าน + หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค ควรให้เสร็จโดยเร็ว (เดิม - ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก) ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน แต่ให้แยกเลี้ยงเด็ก เพื่อไม่ให้เด็กคลุกคลีกับผู้ป่วย
แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี) กลุ่มวัยเรียน ผู้ใหญ่ พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)
ใช้ตารางเดียวกับ : การให้วัคซีน MR/MMR ในเด็กวัยเรียน (ป.1/ม.1) ประวัติการได้รับวัคซีน M/MR/MMR การให้วัคซีน MR/MMR ไม่เคย/ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ เคยได้ 1 ครั้ง ก่อน 9 เดือน 1 ครั้ง ได้ 1 ครั้ง หลัง 9 เดือน 1 ครั้ง ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ก่อน 9 เดือน ครั้งที่ 2 หลัง 18 เดือน ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลัง 9 เดือน ครั้งที่ 2 ก่อน 18 เดือน 1 ครั้ง ได้ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลัง 9 เดือน ครั้งที่ 2 หลัง 18 เดือน ไม่ต้องให้ MMR ได้ 1 ครั้ง หลัง 4 ปี ไม่ต้องให้ MMR
แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี) กลุ่มวัยเรียน ผู้ใหญ่ พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)
อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ การระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” 1. ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนปี 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขตการให้วัคซีน ขึ้นอยู่กับผลการสอบสวน และแบบประเมินฯ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % > 2 % ไม่ให้ MMR ให้ MMR/MR ควรให้เสร็จโดยเร็ว (เดิม - ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก) ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์
การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ) การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ) 2. ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ปี 2533 ตรวจสอบการได้รับ MMR/MR เมื่อเข้า ป.1 ประวัติวัคซีน MMR/MR เมื่อเข้า ป.1 ได้รับ ไม่เคยได้รับ/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ ไม่ให้ MMR ให้ MMR/MR ควรให้เสร็จโดยเร็ว (เดิม - ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก) ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์
แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี) กลุ่มวัยเรียน ผู้ใหญ่ พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)
ข้อแนะนำสำหรับพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด มีโรคหัดเกิดขึ้นในพื้นที่ สสอ./สสจ แจ้ง พื้นที่ใกล้เคียง ค้นหากลุ่มเสี่ยง ตรวจสอบประวัติได้รับวัคซีน เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส เด็กแรงงานต่างชาติ เด็กก่อนวัยเรียน เด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) ให้ MR/MMR ตามประวัติการได้รับวัคซีน ให้ MR/MMR ทุกคน
การจัดหาและกระจายวัคซีน เพื่อป้องกัน/ควบคุมโรคหัด การจัดหาและกระจายวัคซีน เพื่อป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
สปสช. วัคซีนพื้นฐาน กรม คร. บทบาทในการจัดหาและสนับสนุนวัคซีน (EPI Routine) + การเก็บตก + การปูพรม สปสช. รณรงค์ไข้หวัดใหญ่ ในบุคลากร การกำจัดกวาดล้าง โรคหัดและโปลิโอ การควบคุมการระบาดและ การรณรงค์เสริม กรม คร. ผู้เดินทางไปต่างประเทศ บุคลาการ
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน (1) กรมควบคุมโรค และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ได้ประชุมหารือ เรื่อง บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เมื่อ 23 มิถุนายน 2554 ที่ประชุมมีมติให้ กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไป รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีน OPV และ MMR (Urabe) ในโครงการกวาดล้างโรคโปลิโอ และการกำจัดโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ ในทุกกรณี ที่ไม่ใช่การให้ วัคซีนตามระบบปกติ (EPI routine)
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน (2) สปสช. รับผิดชอบในการจัดหา และสนับสนุนวัคซีนอื่นๆ ที่ใช้ใน EPI routine รวมถึงกรณีดังต่อไปนี้ (ยกเว้น OPV และ MMR ใน (1) ) เพื่อเก็บตกในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ที่ไม่ได้ วัคซีนครบตามเกณฑ์ เพื่อการรณรงค์ให้วัคซีนแก่เด็กก่อนวัยเรียน/เด็กวัยเรียน ที่ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนไม่ได้ หรือในกลุ่มเสี่ยงสูง เมื่อมีการระบาดของโรคติดต่ออื่นๆ เช่น โรคคอตีบ (DTP-HB, DTP, dT)
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน (3) สสจ. ส่งหนังสือขอเบิก ไปยังสำนักโรคติดต่อทั่วไป (สรต.) เพื่อพิจารณาก่อนทุกกรณี สรต. แจ้งให้ สปสช. ทราบ สปสช. แจ้งต่อไปยัง GPO เพื่อสนับสนุนวัคซีนให้แก่ ฝ่ายเภสัชกรรม CUP” 75
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MR/MMR (1) สำนักโรคติดต่อทั่วไป สนับสนุนวัคซีน MR/MMR ทั้งในระยะก่อนเกิดโรค และระยะที่มีการระบาด โดย สสจ. สามารถขอรับ การสนับสนุนวัคซีนได้ใน 2 กรณี กรณีที่ 1 ใช้รณรงค์ ในเด็กก่อนวัยเรียน (< 7 ปี) และเด็กวัยเรียน (ป.1-ม.6) ที่ไม่ได้รับวัคซีน M/MR/MMR ครบตามเกณฑ์อายุ 76
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MR/MMR (2) กรณีที่ 2 ควบคุมการระบาด หรือ รณรงค์ให้วัคซีนเสริมแก่กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในอดีตไม่ได้ รวมถึงกรณีดังต่อไปนี้ สถานบริการไม่มีหลักฐานการได้รับ วัคซีนของเด็กก่อนวัยเรียน/วัยเรียน หรือ มีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่รับผิดชอบ 77
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MR/MMR (3) ชื่อหน่วยงานที่ขอเบิกวัคซีน เหตุผลการขอเบิก (กรณีที่1 หรือ 2) ระบุกลุ่มเป้าหมาย และจำนวนกลุ่มเป้าหมาย ชนิดของวัคซีนที่ขอเบิก จำนวนวัคซีนที่ขอเบิก (รวมอัตราสูญเสีย ร้อยละ 10) วันที่ต้องการได้รับวัคซีน และวันที่จะให้บริการวัคซีน รายงานผลไปยัง สรต. หลังการให้วัคซีน ภายใน 2 สัปดาห์
แนวทางการสนับสนุนวัคซีน MR/MMR (4) หากต้องการใช้วัคซีนอย่างรีบด่วน เพื่อควบคุมการระบาด ขอให้ สสจ. แจ้ง สคร. ให้แจ้งต่อไปยัง กลุ่มบริหารเวชภัณฑ์ โทรศัพท์ 0-2590-3222 และ 0-2590-3365 โทรสาร 0-2591-7716 หรือ e-mail : pharma_gcd@hotmail.com สำนักโรคติดต่อทั่วไป จะจัดส่งโดยวิธีต่างๆ เช่น - จัดส่งให้เอง - จ้างหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน จัดส่งวัคซีนแทน
แบบคัดกรองการขอรับการสนับสนุนวัคซีน MR/MMR เพื่อการควบคุมโรค
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MR/MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (1) ข้อมูลการระบาดเบื้องต้น การระบาดของโรค.............................. สถานที่พบผู้ป่วย................................ หมู่.........ตำบล...................อำเภอ........................... จังหวัด............................................ วันเริ่มป่วยของผู้ป่วยรายแรก ...../......./....... วันที่พบผู้ป่วยรายแรก ...../......./......
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MR/MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (2) อัตราป่วยแยกรายกลุ่มอายุ กลุ่มอายุ จำนวนป่วย จำนวนทั้งหมด Attack rate (%) 15-19 ปี 20-24 ปี 25-29 ปี 30-34 ปี 35-39 ปี 40 ปีขึ้นไป รวม
แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MR/MMR สำหรับการควบคุมโรคในผู้ใหญ่ (3) จำนวนวัคซีนที่ต้องการเบิก ........... ขวด วันที่เริ่มให้วัคซีน ....../............./ ...... ผู้ให้ข้อมูล .................................... สถานที่ทำงาน .................................... เบอร์โทรศัพท์ที่ทำงาน ......................... เบอร์โทรศัพท์เคลื่อนที่ ......................... วันที่ส่งแบบประเมิน ...../................/......
จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) จำแนกตามกลุ่มอายุ พ.ศ.2555
แนวทางเร่งรัดการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคหัด 25 เม.ย. 56 แนวทางเร่งรัดการให้บริการวัคซีนป้องกันโรคหัด 25 เม.ย. 56 กระทรวงสาธารณสุข ขอแจ้งรายละเอียดแนวทางการปฏิบัติงานสำหรับสถานบริการ ในปีงบประมาณ 2556 ดังนี้ การเพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมวัคซีน MMR เข็มที่หนึ่ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ในพื้นที่ปกติ ขอให้สถานบริการจัดบริการให้วัคซีน ทำทะเบียนประวัติเด็กในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อตรวจสอบติดตามเด็กที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามกำหนด รายงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามตัวชี้วัดของสำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข สำหรับในพื้นที่ที่ดำเนินการได้ยากให้พิจารณาจัดรณรงค์ให้วัคซีนเสริม โดย ขอรับการสนับสนุนวัคซีนจากกรมควบคุมโรค
การติดตามให้วัคซีนในนักเรียนระดับประถมและมัธยมศึกษาทั่วประเทศให้ครบถ้วน ขอให้สถานบริการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และติดตามเก็บตกเด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนภายในเทอมแรกของ ปีการศึกษา 2556 หากมีวัคซีนไม่เพียงพอให้ขอสนับสนุนวัคซีนจากกรมควบคุม โรค
X ในนักเรียนระดับมัธยม หากสามารถตรวจสอบประวัติวัคซีนได้สามารถดำเนินการเก็บตกได้เช่นเดียวกับนักเรียนชั้นประถมศึกษา หากไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนได้ จำเป็นต้องฉีดวัคซีนใหม่ให้กับเด็กชั้นมัธยมศึกษา เป็นจำนวนมาก เกินกว่าร้อยละ 20 ของจำนวนเด็กทั้งหมดรายโรงเรียน ขอให้วางแผนและแจ้งจำนวนวัคซีนที่ต้องใช้เพื่อการดำเนินงานในปี 2557 ไปยังกรมควบคุมโรค เพื่อจัดสรรงบประมาณจัดหาวัคซีนให้เพียงพอ X
มาตรการด้านวัคซีน ในระยะต่อไป
ข้อเสนอมาตรการในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เพิ่มและรักษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็ก ปรับอายุการให้วัคซีน MMR เข็มที่สอง จากเดิมให้บริการในชั้น ป.1 ปรับให้เร็วขึ้น เป็นอายุ 2 ปีครึ่ง (พร้อม JE3)
สำเนาคู่ฉบับ ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ว 356 กระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ว 356 กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ 9 กรกฎาคม ๒๕๕๗ เรื่อง การปรับอายุของเด็กในการให้วัคซีน MMR เข็มที่ ๒ จากอายุ ๗ ปี เป็นอายุ ๒ ปีครึ่ง เรียน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สิ่งที่ส่งมาด้วย เอกสารกำกับยาวัคซีน PriorixTM (วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน) จำนวน 5 แผ่น เอกสารกำกับยาวัคซีน M-M-R II (วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน) จำนวน 6 แผ่น ตัวอย่างแบบฟอร์มขอเบิกวัคซีนในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (แบบ ว.3/1)จำนวน 1 แผ่น
แนวทางการให้วัคซีน MR เข็มที่ 2 เพื่อเร่งภูมิคุ้มกันต่อโรคหัด ในเด็กอายุ 2.5 - 7 ปี พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิด้านเวชกรรมป้องกัน ผู้อำนวยการศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ กรมควบคุมโรค
การให้วัคซีนหัด เดิม ใหม่ : สิงหาคม 2557 อายุ อายุ อนาคตยกเลิก 9 - 12 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) เข็มที่ 2 อายุ : สิงหาคม 2557 9 - 12 เดือน เข็มที่ 1 7 ปี (ป. 1) อายุ 2 ½ ปี เข็มที่ 2 อนาคตยกเลิก พฤษภาคม – กันยายน 2558 ใหม่
การปฏิบัติในเรื่อง MMR2 สปสช ได้จัดหาวัคซีนเพิ่ม และดำเนินการตามมติดังกล่าวได้ตั้งแต่ สค. 57 นอกจากนี้ เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อเด็กกลุ่มนี้ กรมควบคุมโรคจะจัดหาวัคซีน เพื่อปิด gap immunity แก่เด็กอายุระหว่าง 2.5-7 ปี พร้อมกันครั้งเดียวในปี 2558 ปิด gap (เริ่ม 2558) 9 เดือน (เข็มหนึ่ง) 2.5 ปี (เริ่ม สค 2557) 7 ปี/ป.1 (ยกเลิกปี 59)
เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย ส.ค. 57 เด็กกลุ่มที่ต้องให้วัคซีน พ.ค. - ก.ย. 58 กำหนดเวลา ปฏิบัติงาน เด็กเกิด เด็กเกิด ก.พ. 55 เป็นต้นไป เด็ก 7 ปี กำหนดตาราง เดิม MMR 2 อายุ 7 ปี (ป.1) ปี 2558 พ.ค. 58 เด็กเกิด พ.ค. 51 เด็ก ป.1 ปี 58 พ.ค. 59 31 ม.ค. 55 ก.ย. 58 เด็กอายุ 3 ปี 3 เดือน ถึง 6 ปี 11 เดือน ยกเลิก MMR 2 (ป.1) เหลือเก็บตก บางราย สิ้นสุด การให้ MR 2 เริ่ม MMR 2 อายุ 2.5 ปี 1 มิ.ย. 51 เริ่ม การให้
ข้อเสนอมาตรการในบุคคลอายุมากกว่า 5 ปี ติดตามให้วัคซีนในนักเรียนประถมและมัธยม และออกบัตรรับรองการได้รับวัคซีน ทำข้อตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนเมื่อเข้าเรียนทุกระดับชั้น (อนุบาล ถึง ปริญญา) รณรงค์ Mop up วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ที่อยู่รวมกันจำนวนมาก เช่น ในโรงงาน ค่ายทหาร
สรุปสถานการณ์โรคหัด ประเทศไทยยังมีการเกิดโรคหัดภายในประเทศอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็ก ทั้งก่อนวัยเรียน จนถึงระดับปริญญา จำเป็นต้องปรับมาตรการด้านวัคซีน ให้เหมาะสมมากขึ้น มีความพร้อมของการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ได้มาตรฐาน และรับตรวจฟรี
บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า
ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ ธันวาคม 2556 เรื่อง โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน เรียน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ชุด 2. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/327 ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2556 จำนวน 1 แผ่น 3. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/707 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 จำนวน 1 แผ่น 4. แนวทางการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ขุด 5. ตัวอย่าง “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียน ชั้น ป. 6” จำนวน 1 แผ่น
รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ การบันทึกรหัสวัคซีน ปี 2557-8 1. ปรับการให้วัคซีนรวมหัด-คางทูม-หัดเยอรมันในเด็กนักเรียนชั้น ป.1 เปลี่ยนเป็นให้ในเด็กอายุ 2 ปีครึ่ง (073) 2. วัคซีน MR ที่ให้บริการในนักเรียน ป.1 ให้บันทึกรหัสเดิม (072) 3. รณรงค์ให้วัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก ในกลุ่มผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี (901) รหัสที่ใช้บันทึก (มาตรฐาน สนย.) ชื่อวัคซีนภาษาอังกฤษ ชื่อวัคซีนภาษาไทย ประเภท อายุ 073 MMR 2 หัด คางทูม หัดเยอรมัน ฉีด 2 ปี 6 เดือน 072 MMRs ป.1 901 dTC ดีทีซี สำหรับการรณรงค์
วัคซีนที่มีส่วนผสมของหัด Measles (M) - ไม่แนะนำในประเทศไทย เนื่องจากเด็กทุกคนจำเป็นต้องได้รับ Rubella vaccine ด้วย Measles-Rubella (MR) - ใช้กรณีหา MMR ไม่ได้ Measles-Mumps-Rubella (MMR) - ดีที่สุด ตามสิทธิเด็กไทย Measles-Mumps-Rubella-Vericella (MMR-V) ใช้ในภาคเอกชน ราคาแพง
สถานการณ์วัคซีน MMR ที่ควรรู้ EPI อนุญาตให้ใช้เฉพาะ MMR ที่ผลิตจาก คางทูมสายพันธุ์ Urabe และ Jeryl lynn ยิ่งทำให้หาวัคซีนยากขึ้น (ไม่อนุญาตให้ใช้สายพันธุ์ L-Zagreb เนื่องจากพบว่ามี side effect สูงกว่า) ปัจจุบัน สายพันธุ์ Urabe ที่เคยใช้ในเด็ก ป.1 บริษัทเลิกผลิต ยิ่งทำให้การจัดหามีปัญหามากขึ้น (ปี2557 ป.1 จึงใช้ MR) อย่านำ MMR ของเด็กเล็กไปให้นักเรียน มิฉะนั้นจะเกิด MMR ขาดช่วง (ปลายปี 2557) เหมือนเมื่อปีที่ผ่านมา
MR (multiple dose) MMR (single dose) (MSD) MMR (single dose) Priorix 3 – 6 ปี และ นักเรียน MMR (single dose) (MSD) เด็ก 9-12 เดือน และ 2.5 ปี MMR (single dose) Priorix เด็ก 9-12 เดือน และ 2.5 ปี