นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การใช้งานระบบบริหารจัดการความเสี่ยงของสถานพยาบาล
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
1 ประกาศนโยบายการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ตามมาตรฐาน HA เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 8 ประกาศนโยบายการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ตามมาตรฐาน HA เครือข่ายบริการสุขภาพที่
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน ) PCT profile.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
Strategic Line of Sight
ผ.ศ.เสาวลักษณ์ สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
Continuous Quality Improvement
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
NKP Nursing Care Model : Integrated of Care from Entry to COC
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
CLT Profile ภาควิชา/ทีมนำทางคลินิก
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล New HA Standards นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บรรยายในการประชุม Northern Regional HA Forum “องค์กรที่มีชีวิต” 29 สิงหาคม 2551 1

Hospital Accreditation (HA) คือกลไกประเมิน เพื่อพัฒนาองค์กร Hospital Accreditation (HA) คือกลไกประเมิน เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบงานภายในของโรงพยาบาล โดยมีการพัฒนาอย่างเป็นระบบ และพัฒนาทั้งองค์กร ทำให้องค์กรเกิดการเรียนรู้ มีการประเมินและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

กรอบความคิดที่สื่อให้เห็นถึงองค์ประกอบสำคัญ มาตรฐาน HA กรอบความคิดที่สื่อให้เห็นถึงองค์ประกอบสำคัญ ของสถานพยาบาลที่มีคุณภาพ (อย่างยั่งยืน) และความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น A basis for comparison. A principle use for the measure of quality. Usual, common, customary. An explicit statement of expected quality Performance specifications that, will lead to the highest possible quality in the system.

ความหมายของกล่องและเส้น กล่องมิได้บอกแค่มีอะไร แต่ต้องคำนึงถึงว่าทำอย่างไรด้วย เส้นและลูกศร มีความสำคัญไม่น้อยกว่ากล่อง

เข้าให้ถึงแนวคิดที่ลึกซึ้งของแต่ละกล่อง กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ที่ก่อให้เกิดเป้าหมายที่ต้องเอื้อมและได้รับการนำไปปฏิบัติอย่างเต็มที่ ผลลัพธ์สำคัญตาม Critical Success Factors ได้รับการวัด วิเคราะห์ เพื่อกำหนดลำดับความสำคัญในการพัฒนา ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีความรู้ที่ต้องใช้เพื่อให้บริการสุขภาพ มีระบบการนำที่ได้ผลซึ่งจะสร้างความมั่นใจต่อความยั่งยืน ความเป็นเลิศ ความยืดหยุ่น และการมุ่งเน้นผู้ป่วยโดยไม่ผ่อนผัน ข้อมูลความต้องการที่เชื่อได้ตามกลุ่มต่างๆ ได้รับการนำมาใช้ออกแบบบริการ ระบบงานได้รับการออกแบบอย่างระมัดระวังและสร้างความมั่นใจว่ามีทักษะที่จำเป็น

ใช้มาตรฐานโดยอิงบริบท คนของเราเป็นอย่างไร มีจุดแข็งจุดอ่อนอย่างไร ต้องรับภาระงานอะไร ผู้ป่วยสำคัญของเราคือใคร มีความต้องการและคาดหวังอะไร สิ่งที่ยังตอบสนองไม่ได้คืออะไร งานของเราคืออะไร ปัจจัยนำเข้าที่จำเป็นมีอะไร จุดที่เป็นความเสี่ยงสำคัญคืออะไร

ใช้มาตรฐานโดยยึดค่านิยม คนของเรามีจุดอ่อนอะไร เรารู้ได้อย่างไร ผู้ป่วยของเราต้องการอะไร เรารู้ได้อย่างไร งานของเราดีหรือไม่ เราใช้ข้อมูลอะไรมาบอก Management by Fact

หลักพื้นฐานในการทำงานคุณภาพ ทำงานประจำให้ง่ายขึ้น พัฒนาคุณภาพแบบเรียบง่าย Simplicity Innovation Human Factors ง่าย Simplicity มันจากการได้ทำสิ่งแปลกใหม่ มันจากการไม่ถูกกดดัน มันจากสัมพันธภาพระหว่างการทำงาน มันเพราะเห็นเป็นความท้าทาย มัน Joyful CQI Evidence-based Patient Safety Clinical Tracer Trigger Tools ดีต่อตัวเองและทีมงาน ดีต่อผู้รับผลงาน ดีต่อองค์กร ดี Effective มีสุข Spirituality ฝ่ากำแพงสู่ความมีจิตใจที่งดงาม

มาตรฐานกับ maturity ของการพัฒนา

มาตรฐานมิได้ขีดเส้นผ่านเพียงเส้นเดียว Core Values & Culture (Safety, Quality, Learning) นำสู่การปฏิบัติ / ตามรอย ดักจับให้มาก (Trigger) Mini- research Process Redesign บรรเทา ความเสียหาย ป้องกัน (RCA / HFE) Process Innovation Integration Improvement Model RMS QMS Spirituality (HHC, LO) SPA &Self Enquiry คุยกันเล่น เห็นของจริง อิงการวิจัย

เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กร คุณภาพที่สมดุล หาย ไม่พิการ มีสุขภาวะ ดูแลตนเองได้ คุณค่าทางเทคนิค ผู้ประกอบวิชาชีพ ผู้บริหาร รูปลักษณ์ ทุกคน การจัดการ การส่งมอบประสบการณ์ ที่ควรค่าแก่ผู้รับผลงาน เชื่อมประสานทุกระบบ เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กร

มาตรฐานเป็นเครื่องชี้นำการพัฒนา มาตรฐานเป็นกรอบในการประเมินตนเองและการประเมินจากภายนอก Safety & Quality Health Promotion Learning & Integration นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

โครงสร้างมาตรฐาน HA/HPH (2006) มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี

โครงสร้างของมาตรฐานแต่ละหมวด หมวด/บท 2. การวางแผนกลยุทธ์ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

ผู้นำใช้กรอบแนวคิดการจัดการสู่ความเป็นเลิศ ในการนำองค์กรสู่ความสำเร็จ ความคาดหวังต่อผู้นำ ผู้นำใช้กรอบแนวคิดการจัดการสู่ความเป็นเลิศ (มาตรฐาน HA ตอนที่ I) ในการนำองค์กรสู่ความสำเร็จ

ใช้ 3P เพื่อดูแลภาพรวมของการพัฒนาทั้งองค์กร ความท้าทายขององค์กร ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ความต้องการของผู้รับบริการ สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การแข่งขัน ปัจจัยภายในองค์กร 6.1 การออกแบบระบบงาน องค์กรกำหนดงานที่เป็นความเชี่ยวชาญพิเศษของตน ออกแบบระบบงาน และกระบวนการสำคัญ เพื่อส่งมอบคุณค่าให้แก่ผู้ป่วย / ผู้รับผลงานอื่นๆ, พร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน, และบรรลุความสำเร็จขององค์กร. 6.2 ก. การจัดการกระบวนการทำงาน องค์กรนำกระบวนการทำงานสำคัญไปปฏิบัติ บริหารจัดการ เพื่อส่งมอบคุณค่าให้แก่ผู้ป่วย / ผู้รับผลงานอื่น และเพื่อบรรลุความสำเร็จขององค์กร. I - 4.1 ก. การวัดผลงานขององค์กร องค์กรจัดให้มีการวัดผลงาน โดยใช้ข้อมูลและสารสนเทศ ในทุกระดับและทุกส่วนขององค์กร. I - 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ องค์กรกำหนดกลยุทธ์ และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เพื่อตอบสนองกับความท้าทายขององค์กร และสร้างความเข้มแข็งให้กับการดำเนินงานขององค์กร. IV ผลการดำเนินงานขององค์กร องค์กรแสดงให้เห็นผลการดำเนินงานที่ดีและการปรับปรุงในประเด็นสำคัญ ได้แก่ ผลด้านการดูแลผู้ป่วย ผลด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่นๆ ผลด้านการเงิน ผลด้านบุคลากร ผลด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ผลด้านการนำ และผลด้านการสร้างเสริมสุขภาพ Analysis, Review, & Improvement I - 4.1 ข. การวิเคราะห์ ทบทวน และปรับปรุงผลงาน I - 6.2 ข. การปรับปรุงกระบวนการทำงาน II - 1.1 การพัฒนาคุณภาพที่ประสานสอดคล้องกันในทุกระดับ II - 1.2 ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ

Hospital Profile 2008 (Context, Direction, Result) 2. บริบทขององค์กร 1. ข้อมูลพื้นฐาน ก.สภาพแวดล้อมขององค์กร 2.1 ขอบเขตการให้บริการ 2.2 ประชากรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2.3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 2.4 อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร 2.5 โครงสร้างองค์กร 2.6 ผู้ป่วยและผู้รับผลงานสำคัญ 2.7 ความสัมพันธ์กับองค์กรภายนอก ค. ความท้าทายขององค์กร 2.8 การแข่งขัน ความเติบโต ความสำเร็จ 2.9 ความท้าทายที่สำคัญ 2.10 การพัฒนาคุณภาพและการเรียนรู้ 3. ทิศทางขององค์กร พันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม แผนกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ จุดเน้น/เข็มมุ่ง 4. ผลการดำเนินการ (1) โรคที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ (2) โรคที่เป็นโอกาสพัฒนา หรือมีข้อจำกัดในการให้บริการ (3) เหตุการณ์ที่มีผลต่อการพัฒนา / การเปลี่ยนแปลงนโยบาย (4) ปัญหาสำคัญที่โรงพยาบาลกำลังพยายามแก้ไข (5) ความท้าทายเชิงกลยุทธ์อื่นๆ ขององค์กร

Strategic Plan & KPI Monitoring Interview วัตถุประสงค์ เพื่อเรียนรู้วิธีการในการจัดทำแผนกลยุทธ์ของโรงพยาบาลที่จะทำให้สอดคล้องกับบริบท รวมทั้งข้อมูลต่างๆ ที่นำมาใช้วิเคราะห์เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และการจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อเรียนรู้ปัญหาอุปสรรคในการนำแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ เพื่อเรียนรู้วิธีการติดตามความก้าวหน้าและการบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ รวมทั้งการนำข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

บูรณาการ Health Promotion ในการใช้มาตรฐาน สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล บูรณาการ Health Promotion ในการใช้มาตรฐาน IS & KM จะมาสนับสนุน HP อย่างไร เป้าหมายและกลยุทธ์ HP ระดับองค์กรเป็นอย่างไร ต้องพัฒนาคนอย่างไรจึงจะเข้าใจ HP ความตื่นตัวและการมีส่วนร่วมของวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ บันทึกเวชระเบียนที่ส่งเสริม HP นโยบายสาธารณะ สิ่งแวดล้อม การเสริมพลังชุมชน

การใช้มาตรฐานให้ครบทุกพื้นที่ และพัฒนาเป็นลำดับขั้น ขั้นต้น ขั้นกลาง ขั้นก้าวหน้า Innovative Design หัวหน้าพาทำ ทบทวน หน่วยงาน I-6, II-1 Service Profile Clinical Research Clinical Tracer & CQI กลุ่มผู้ป่วย II-1.2, III ทบทวน Innovative Design ระบบงาน I, II ทบทวน PDSA Strategic Management Innovative Management องค์กร I สร้างทีม ได้ใจ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

ทำให้มาตรฐานเข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวัน 1. คุยกันเล่น Management by Fact Genba Genbutsu WHY (in general) มาตรฐานนี้มีเป้าหมายอะไร WHY (for us) มาตรฐานนี้จะช่วยให้ระบบของเราดีขึ้นได้อย่างไร 2. เห็นของจริง WHAT อะไรที่เราทำได้ดี อะไรที่ยังเป็นจุดอ่อน จุดอ่อนนั้นอยู่ตรงไหน กับใคร เมื่อไร ที่ใด HOW อิงบริบท เราทำงานกันอย่างไร ไปเยี่ยมชมกันอย่างสนุกๆ เล่าให้ฟัง ทำให้ดู สิว่าเราทำกันอย่างไร เราเข้าใจกันอย่างไร ความล่อแหลมหรือความเสี่ยงอยู่ตรงไหน เราป้องกันอย่างไร ถ้าเป็นอย่างนั้นจะทำอย่างไร เป็นอย่างนี้จะทำอย่างไร มีการทำจริงหรือไม่ ดูได้จากตรงไหน ถามได้จากใคร จะทำอย่างไรให้ทำได้ง่ายขึ้น (ใช้หลัก Human Factors) Management by Fact 3. อิงการวิจัย HOW MUCH ช่วยกันเป็นคนช่างสงสัย ตั้งประเด็นข้อสงสัยไว้มากๆ เลือกประเด็นสำคัญ ตั้งคำถามการวิจัย ทำ mini-research เก็บข้อมูลแต่น้อย ใช้คำถามน้อย จำนวนตัวอย่างน้อย เก็บน้อยแต่ให้ได้ข้อมูลและความรู้ที่ตรงประเด็น เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

คุยกันเล่น: เป้าหมายและจุดอ่อนของเรา บริบทของเรา มาตรฐาน Why (Concept) What Where สิทธิของประชาชน บริการที่จำเป็น ->ผลลัพธ์ที่ดี กายภาพ, ภาษา, วัฒนธรรม ค่าใช้จ่าย, เวลาให้บริการ Access บริการฉุกเฉิน ตัดสินใจรับ/ไม่รับ เตรียมความพร้อมผู้ป่วย Entry การลงนามหลังได้รับข้อมูล ผู้ป่วยที่มีปัญหาการรับรู้ Assessment ทราบปัญหา/ความต้องการ ของผู้ป่วยอย่างครอบคลุม การประเมินด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม ตอบสนองปัญหา/ความต้องการ ของผู้ป่วยอย่างครอบคลุม ไม่มีแผน ไม่มีเป้าหมาย ไม่ครอบคลุม Planning Implementation Evaluation Continuity of Care

การใช้มาตรฐานอย่างชาญฉลาด อ่านข้อกำหนดโดยรวม ค้นหาคำสำคัญที่ระบุผลลัพธ์ที่คาดหวังจากการปฏิบัติตามมาตรฐานเรื่องนั้น เชื่อมโยงกับแนวคิดการบริหารและการพัฒนาคุณภาพอื่นๆ แปลความหมายเพิ่มเติมด้วยความเข้าใจของเราตามความเหมาะสม น้อมนำเข้ามาสู่ของจริงของเรา ประเมิน gap ระหว่างสิ่งที่เป็นอยู่กับความคาดหวังของมาตรฐาน ตั้งคำถาม “What if…. ?” ถ้าไม่เปลี่ยนแปลงจะเกิดอะไรขึ้น คิดค้นวิธีการเพื่อบรรลุเป้าหมายที่เป็นหัวใจของมาตรฐานด้วยตัวเราเอง ด้วยทีมงานเอง แล้วเปรียบเทียบกับข้อกำหนดในข้อย่อยว่ามีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ถ้าแตกต่าง เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น นำสิ่งที่ทีมงานเห็นพ้องต้องกันว่าสมควรปฏิบัติ ไปสู่การปฏิบัติ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

1. ค้นหาคำสำคัญ เชื่อมโยงความหมาย Living Org: สื่อสารผ่าน Informal Network, ใส่ตัวกวนที่เหมาะสม หัวข้อ/บทย่อย (Category) 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง (LED.1) ผู้นำระดับสูงชี้นำองค์กร สื่อสารและส่งเสริมผลการดำเนินงานที่ดี ให้ความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ. ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร ข้อกำหนดโดยรวม (Overall Requirement) เรื่อง (Area) การทำงานที่มีผลงานที่ดี คือมีความยืดหยุ่น มีนวตกรรม มีการแบ่งปันความรู้และทักษะ มีการสื่อสารที่ดี มีการกระจายสารสนเทศที่ดี มีจุดเน้นสอดคล้องกับเป้าหมายขององค์กร มุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงานอื่นๆ ตอบสนองต่อความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไป นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

2. น้อมนำเข้ามาสู่ของจริงของเรา 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง (LED.1) ผู้นำระดับสูงชี้นำองค์กร สื่อสารและส่งเสริมผลการดำเนินงานที่ดี ให้ความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ. ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร วิสัยทัศน์ ค่านิยม จุดเน้นขององค์กรคืออะไร มีพลังพอที่จะส่งเสริมให้เกิดผลงานที่ดีเพียงใด ผู้นำชี้นำและสื่อสารให้บุคลากรเข้าใจได้ลึกซึ้งเพียงใด What if…… ถ้าไม่ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในเรื่องนี้จะเกิดอะไรขึ้น นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

3. คิดค้นหาวิธีการด้วยตัวเราเอง 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง (LED.1) ผู้นำระดับสูงชี้นำองค์กร สื่อสารและส่งเสริมผลการดำเนินงานที่ดี ให้ความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ. ก. วิสัยทัศน์และค่านิยม ข. การสื่อสารและจุดเน้นขององค์กร (1) ผู้นำระดับสูงสื่อสารกับบุคลากร, ให้อำนาจการตัดสินใจ , และจูงใจบุคลากรทุกคนทั่วทั้งองค์กร. ผู้นำระดับสูงกระตุ้นให้เกิดการสื่อสารสองทางที่ตรงไปตรงมาทั่วทั้งองค์กร. ผู้นำระดับสูงมีบทบาทเชิงรุกในการให้รางวัลและการยกย่องชมเชย เพื่อหนุนเสริมการมุ่งเน้นผู้ป่วย / ผู้รับผลงาน, การมุ่งเน้นคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ, และการมุ่งเน้นผลงานที่ดี. (2) ผู้นำระดับสูงกำหนดจุดเน้นที่การปฏิบัติเพื่อปรับปรุงผลงาน การบรรลุวัตถุประสงค์และวิสัยทัศน์ขององค์กร รวมทั้งระดับความคาดหวังในจุดเน้นดังกล่าว. ผู้นำระดับสูงทบทวนตัวชี้วัดผลการดำเนินงานอย่างสม่ำเสมอเพื่อระบุการดำเนินการที่จำเป็น. เป็นตัวของตัวเอง เอาเป้าหมายตั้ง เป็นอิสระที่จะใช้วิธีของเราเอง เรียนรู้จากข้อกำหนดในข้อย่อย อะไรเหมือน อะไรต่าง หาเหตุผลของความแตกต่างจากข้อกำหนด นำสิ่งที่มีเหตุผลมาปรับปรุง นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

แนวการทำงานของ พรพ. กับ รพ. Technical Support SPA (Practice Focus) Web Conference Field Consultation Field Catalyst Campaign Through Alliance Action (ปฏิบัติ) Planning Analysis Coordination General Support (ที่ปรึกษาประจำเขตพื้นที่) Evaluation Self Enquiry Facilitated Self Assessment Accreditation Survey Design (ออกแบบ) Learn (เรียนรู้ / ประเมิน) DALI (PDSA) Improve (ปรับปรุง) นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล นำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหาร พรพ. 25 กรกฎาคม 2551

HA Alliance เป็นการสร้าง recognition ให้แก่พันธมิตรที่ทำงานร่วมกับ HA และส่งเสริมให้มีบทบาทในการขยายผลการพัฒนาเฉพาะเรื่องมากให้มากยิ่งขึ้น : สร้างความรู้, ให้คำปรึกษา, เป็น campaign node, หาทุนทำงาน Toward Clinical Excellence Network (TCEN) DM Thai Hospital Indicator Project (THIP) CoP IV Therapy IC Society HA Alliance VAP HA Alliance Sepsis HA Alliance PSG:SIMPLE นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล นำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหาร พรพ. 25 กรกฎาคม 2551

SPA : Standards –Practice - Assessment Information & Empowerment เป็นเครื่องมือช่วยให้ รพ.เห็นแนวทางการนำมาตรฐานไปสู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และบอกแนวทางการสรุปข้อมูลสำคัญที่จะบันทึกส่งให้คณะผู้เยี่ยมสำรวจ ซึ่งจะช่วยลดภาระของ รพ.และผู้เยี่ยมสำรวจในเรื่องการจัดทำเอกสาร นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล นำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหาร พรพ. 25 กรกฎาคม 2551

(3) ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออยู่บนพื้นฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ เป็นไปตามข้อกำหนดในกฎหมาย และจัดทำแนวทางปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. กิจกรรมที่ควรดำเนินการ • ICN และคณะกรรมการ IC ร่วมกันเลือกสรร scientific evidence (หลักฐานวิธีการที่ได้รับการพิสูจน์ว่าได้ผลจากการศึกษาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์) ที่ update จากแหล่งที่เหมาะสม เช่น CDC, ชมรมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • นำข้อมูลหลักฐานดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติงานที่ใช้อยู่ (ถ้ามีการจัดทำไว้แล้ว) mบทวนแนวทางปฏิบัติให้ทันสมัยกับ evidence • ทำ gap analysis เพื่อหาช่องว่างของการปฏิบัติกับมาตรการที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว กำหนดเป้าหมายและแผนการปรับปรุง • จัดทำแนวทางปฏิบัติงานเท่าที่จำเป็น เพื่อเป็นที่ใช้อ้างอิง ทำความเข้าใจ และธำงให้การปรับปรุงที่เกิดขึ้นมีความยั่งยืน ประเด็นที่ควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป • ตัวอย่าง scientific evidence ที่นำมาใช้ในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ

Self Enquiry Enquiry = examine, explore, inspection, investigate, probe เปลี่ยนโทนจากการเยี่ยมสำรวจภายใน มาเป็นการวิจัยสืบค้นตนเอง นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล นำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหาร พรพ. 25 กรกฎาคม 2551

Self Enquiry: Process Management ถามหัวหน้าหน่วย • จาก service profile ที่หน่วยงานจัดทำไว้ มีการนำไปใช้ประโยชน์ในการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน ค้นหาโอกาสพัฒนา ควบคุมกำกับการทำงาน และติดตามการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงานอย่างไร • เลือกกระบวนการสำคัญของหน่วยงานมาหนึ่งกระบวนการ พูดคุยกันถึงเรื่องการใช้ความต้องการของผู้รับผลงานและข้อมูลอื่นๆ เพื่อสรุปว่า process requirement (ข้อกำหนดของกระบวนการหรือคุณลักษณะที่คาดหวังจากกระบวนการ) คืออะไร แล้วนำ process requirement นั้นไปใช้ออกแบบกระบวนการ และกำหนดวิธีการติดตามกำกับให้บรรลุ requirement ได้อย่างไร

Self Enquiry: Process Management ถามหัวหน้าหน่วย • ถ้ามองภาพรวมการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงานทุกรูปแบบ การพัฒนาเหล่านั้นครอบคลุมโอกาสพัฒนาที่ได้รับการระบุไว้เพียงใด การพัฒนาเหล่านั้นสอดคล้องกับเป้าหมายและประเด็นสำคัญของหน่วยงานและของโรงพยาบาลเพียงใด มีอะไรที่เป็นเรื่องสำคัญสมควรเร่งพัฒนาในช่วงนี้ • ได้เรียนรู้จากผลการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงานอื่นอย่างไร มีการนำผลการพัฒนาคุณภาพของหน่วยงานอื่นมาปฏิบัติในหน่วยงานของผู้ถูกสัมภาษณ์อะไรบ้าง การขยายผลนั้นผ่านทางช่องทางใด

Self Enquiry: Process Management ถามผู้ปฏิบัติงาน • ขอให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เลือกงานในหน้าที่ของตนขึ้นมาพูดคุยกัน ให้เล่าถึงเป้าหมายของงานนั้น วิธีการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การรับรู้ว่าสิ่งที่ทำนั้นบรรลุเป้าหมายหรือไม่ โอกาสพัฒนาในงานนั้น อาจจะรวมไปถึงความต้องการและการตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยหรือผู้ที่จะรับงานไปทำต่อ

(Patient Care Process) Self Enquiry Part III (Patient Care Process) Access Entry Assessment Investigation Diagnosis Plan of Care Discharge Plan Reassess Care of Patient Communication Information & Empowerment Discharge Continuity of Care

เครื่องมือเพื่อประเมินและปรับปรุง กระบวนการดูแลผู้ป่วย Clinical Population Clinical Tracer Proxy Disease Adverse Event PSG: SIMPLE Med Rec Review Process Bedside Review People-Centered 38 The Bi-Regional Forum of Medical Training Institutions on People-Centered Health Care, Philippines, 1 July 2008

การทบทวนเวชระเบียนตามมาตรฐาน

Assessment Med Rec Review: Ac Appendicitis - Preop assessment & timely record before operation

+ ผู้ป่วยได้รับการประเมินตามแนวทางของ GINA การประเมินผู้ป่วย Med Rec Review: Asthma + ผู้ป่วยได้รับการประเมินตามแนวทางของ GINA

Assessment Trigger: re-op, AE: delayed Dx Appendicitis + Trial of CareMap emphasis Hx & clinical sign

ตามรอย SIMPLE

หาโรคที่เป็นตัวแทนหรือต้นแบบคุณภาพในแต่ละกระบวนการ Proxy Disease Access Entry หาโรคที่เป็นตัวแทนหรือต้นแบบคุณภาพในแต่ละกระบวนการ Assessment Investigation Diagnosis Plan of Care Discharge Plan Reassess Care of Patient Communication Information & Empowerment Discharge Continuity of Care

เครื่องมือเพื่อประเมินและปรับปรุง กระบวนการดูแลผู้ป่วย Clinical Population Clinical Tracer Proxy Disease Adverse Event PSG: SIMPLE Med Rec Review Process Bedside Review People-Centered 45 The Bi-Regional Forum of Medical Training Institutions on People-Centered Health Care, Philippines, 1 July 2008

Facilitated Self Assessment (Scoring) ผู้แทนของ พรพ. ทำหน้าที่เป็นสักขีพยานและยืนยันการประเมิน ใช้คะแนนเป็นเครื่องบ่งชี้จุดที่จะต้องพัฒนา และให้รางวัลแก่ รพ. ลดความกังวลในเรื่องการสอบได้สอบตก นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล นำเสนอในการประชุมคณะกรรมการบริหาร พรพ. 25 กรกฎาคม 2551

การพัฒนาที่มี maturity เป็นลำดับขั้น ใช้ scoring guideline เพื่อส่งเสริมการพัฒนาจากง่ายไปหายาก เน้นการยกระดับ maturity ด้วย EI3O Systematic Evaluation & Improvement Integration Innovation Good Outcome นำแนวคิดที่เป็นนามธรรมมาใช้ร่วม Core Values Humanized Healthcare Living Organization นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

การคิดคะแนนบวกเพิ่มในภาพรวมของแต่ละบท นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล การประชุม 9th HA National Forum 13 มีนาคม 2551

รพ.ใช้เครื่องมือที่ พรพ.พัฒนาขึ้นให้เกิดประโยชน์ ความคาดหวัง รพ.ใช้เครื่องมือที่ พรพ.พัฒนาขึ้นให้เกิดประโยชน์ และช่วย พรพ.พัฒนาเครื่องมือให้ดียิ่งขึ้น

วิเคราะห์เพื่อใช้เครื่องมือให้เกิดผล Force Field Analysis วิเคราะห์เพื่อใช้เครื่องมือให้เกิดผล Forces FOR change Forces AGAINST change Simple & easy Workload Joyful Complicate, difficult Visible benefits Overwhelm with changes Recognition Tools for Quality Improvement Professional autonomy Social demand Never heard before Professional responsibility New & unfamiliar term Reputation

Action Plan กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ กำหนดเสร็จ การติดตาม

IHPQS International Conference on Health Promotion and Quality in Health Services 19-21 November 2008 Global Sharing: People and Integration as Key to Success

Key Components in Domain 3 Health Care Organization Empowerment Patient education Family involvement Self-management Counselling Patient Care Environment Coordination Multidisciplinary Team Safe, Quality, Ethical Model of care Leadership Capacity In championing people-centred healthcare People at the Centre of Health Care can be integrated with the existing initiatives The Bi-Regional Forum of Medical Training Institutions on People-Centered Health Care, Philippines, 1 July 2008

“Lean & Seamless Healthcare” 10th HA National Forum “Lean & Seamless Healthcare” 10-13 มีนาคม 2552

Lean คือการขจัดความสูญเปล่าทุกชนิดออกจากระบบงาน • Lean ในระดับปัจเจก คือการลดความมีตัวตนลง (self-less) • Lean ในระดับทีมนำ (ระดับกลาง) คือการลดช่องว่างของการสื่อสาร ประสานงาน • Lean ในระดับทีมนำระดับสูง คือ การลดความสูญเปล่าของทรัพยากร (ที่เสียไปเพราะ manage ไม่เหมาะสม) • Lean ในระดับองค์กร คือการปรับปรุงผลิตภาพขององค์กรให้มีประสิทธิภาพสูงสุดและได้คุณภาพควบคู่ไปด้วย • Lean ในระดับชาติคือการขจัดความสูญเปล่าของการใช้ทรัพยากรโดยรวม

Seamless Healthcare Seamless อาจมองในความหมายที่ตรงข้ามกับ fragmentation และไปให้ไกลยิ่งกว่า de-fragmentation หรืออาจจะเทียบได้ใกล้เคียงกับ integration • Seamless ในการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่องตลอด episode หรือ course ของการเจ็บป่วย นั่นคือเรื่องของการประสานการดูแลระหว่างสถานพยาบาลระดับต่างๆ อย่างแนบสนิท • Seamless ในการดูแลด้วย bio-medical approach กับ mind-body approach หรือการใช้ western medicine กับ alternative medicine • Seamless ในการทำงานระหว่าง health sector กับภาคส่วนอื่นๆ • Seamless ในการผลิตและการใช้บุคลากร (Workforce production & engagement) • Seamless ระหว่างสาขาวิชาชีพที่ทำงานร่วมกัน • Seamless ระหว่างการสร้างความรู้กับการใช้ความรู้ (Knowledge generation & utilization) • Seamless ระหว่างภาคบริการสุขภาพกับสมาชิกในสังคม • Seamless ระหว่างภูมิปัญญาพื้นบ้านกับความรู้แบบตะวันตก • Seamless ระหว่างคนกับงาน