บทที่ 10 โลจิสติกส์โลก บทนำ กลยุทธ์ช่องทางการกระจายสินค้าระหว่างประเทศ การจัดการระบบโลจิสติกส์โลก การจัดการสินค้าส่งออก ลักษณะด้านโลจิสติกส์ของตลาดต่างๆ ทั่วโลก เราได้เรียนรู้ตั้งแต่ คนที่ไม่รู้จักคำว่า “โลจิสติกส” จนมาถึงวันนี้เราได้เรียนรู้ถึงคำว่าว่ามีองค์ประกอบหรือส่วนประกอบมากมายด้วยกัน (จัดซื้อ ขนส่ง สินค้าคงคลัง คลังสินค้า it การบริการ อุปกรณ์ในงานคลังสินค้า ในบทนี้เราจะมองมิติของงานโลจิสติกส์กว้างขึ้น ในมุมของของภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ตลาดรวม และในประเทศต่างประเทศ เปรียบเทียบเพื่อ ความได้เปรียบทางการแข่งขัน
วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงปัจจัยที่สามารถควบคุมได้และไม่สามารถควบคุมได้ที่มีผลกระทบต่อกิจกรรมของโลจิสติกส์โลก เพื่ออธิบายกลยุทธ์ช่องทางการกระจายสินค้าระดับโลก ทั้งการส่งออกการให้ช่วงสิทธิ การร่วมทุน การเป็นเจ้าของ และการนำเข้าสินค้า เพื่อเน้นองค์ประกอบที่สำคัญของการจัดการส่งออก เพื่อแสดงองค์ประกอบขององค์กร การเงิน และการจัดการที่เกี่ยวข้องกับโลจิสติกส์โลก
ดูตัวอย่างได้ที่ http://www.thapana.net/main/download.php
ตารางที่ 10-1 กิจการที่ใหญ่ที่สุดในโลกในปี 1995 ลำดับ บริษัท ประเทศ อุตสาหกรรม ยอดขาย (ล้านเหรียญ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 Mitsubishi Mitsui Itochu General Motors Sumitomo Marubeni Ford Toyota Exxon Royal Dutch/Shell Group ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ/เนเธอร์แลนด์ การค้า รถยนต์ โรงกลั่นน้ำมัน 184,365 181,519 169,164 168,829 167,531 161,057 137,137 111,052 110,009 109,384 เราจะดูจาก สถิติของโลก ในความเป็นที่สุดในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานโลจิสติกส์ เช่น LP3 ย่อมาจาก Logistics Provider คือบุคคลที่สามที่ซึ่งดำเนินการด้านโลจิสติกส์ให้กับบริษัทต่าง ๆ
ตารางที่ 10-1 กิจการที่ใหญ่ที่สุดในโลกในปี 1995 ลำดับ บริษัท ประเทศ อุตสาหกรรม ยอดขาย (ล้านเหรียญ) 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 Nissho lwai Wal-Mart Stores Hitachi Nippon Life Insurance Nippon Telegraph AT&T Daimler-Benz IBM Matsushita Electric General Electric ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา เยอรมัน การค้า ค้าปลีก/ค้าส่ง อิเล็กทรอนิกส์ ประกันภัย การสื่อสาร รถยนต์ คอมพิวเตอร์ 97,886 93,627 84,167 83,207 81,937 79,609 72,256 71,940 70,398 70,028
ตารางที่ 10-1 กิจการที่ใหญ่ที่สุดในโลกในปี 1995 ลำดับ บริษัท ประเทศ อุตสาหกรรม ยอดขาย (ล้านเหรียญ) 21 22 23 24 25 Toman Mobil Nissan Volkswagen Siemens ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา เยอรมัน การค้า โรงกลั่นน้ำมัน รถยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ 67,756 66,724 62,569 61,489 60,674
ตารางที่ 10-2 การเปรียบเทียบระหว่างโลจิสติกส์ภายในประเทศและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ต้นทุน ประมาณ 10% ของ GNP ของสหรัฐอเมริกา ประมาณ 16% ของ GOP ของโลก วิธีการขนส่ง ใช้รถบรรทุกและรถไฟเป็นหลัก ใช้การขนส่งทางทะเลและอากาศเป็นหลักและมีการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบเพิ่มขึ้น สินค้าคงคลัง ระดับต่ำ ระดับสูง ตัวแทน LP3 ใช้น้อยมาก ใช้มากโดยเฉพาะผู้รับจัดการขนส่ง ผู้รวบรวมสินค้าและตัวแทนออกของ ความเสี่ยงด้านการเงิน ต่ำสุด สูง ความเสี่ยงในสินค้า
ตารางที่ 10-2 การเปรียบเทียบระหว่างโลจิสติกส์ภายในประเทศและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ หน่วยงานภาครัฐ เฉพาะสินค้าอันตราย หลายหน่วยงาน การบริหาร เอกสารน้อยชิ้น เอกสารจำนวนมาก การติดต่อสื่อสาร ใช้ระบบเอกสาร ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์(EDI) ความแตกต่างด้านวัฒนธรรม ไม่มีความแตกต่าง มีความแตกต่างที่สำคัญในแต่ละตลาดและสินค้า
รูปที่ 10-1 ผู้เกี่ยวข้องหลักในกระบวนการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ธนาคาร ในประเทศ ผู้ขายในประเทศ ผู้อำนวยความสะดวก ในการส่งออก หน่วยงานภาครัฐในประเทศ ผู้ขนส่งภายใน การเคลื่อนย้ายของสินค้า การไหลของข้อมูล ท่าขนส่งภายในประเทศ ผู้ขนส่งระหว่างประเทศ (อากาศ, น้ำ) หน่วยงานภาครัฐในต่างประเทศ ท่าขนส่งในต่างประเทศ ผู้ขนส่งในต่างประเทศ ธนาคารต่างประเทศ ผู้ซื้อในต่างประเทศ รูปที่ 10-1 ผู้เกี่ยวข้องหลักในกระบวนการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ
การส่งออก การส่งออก exporting คือ การขายสินค้าไปยังประเทศต่างๆ การให้ช่วงสิทธิ Lisensing การร่วมกิจการ Joint Ventures การเป็นเจ้าของโดยตรง
การนำเข้า การนำเข้า importing คือ การซื้อสินค้าและจัดส่งสินค้าจากแหล่งต่างประเทศ เช่นการนำเข้าสินค้า วัตถุดิบ ชิ้นส่วนต่างๆ โดยผ่านกระบวนการ การนำเข้า import การแลกเปลี่ยนสินค้า countertrade การขอคืนภาษี dutydrawback
รูปแบบการแลกเปลี่ยน รูปแบบของการแลกเปลี่ยน แบ่งได้ 5 ประเภท การแลกเปลี่ยน barter การซื้อคืน buyback การทดแทน compensation การแลกซื้อ counterpurchase การสับเปลี่ยน switch
รูปที่ 10-2 ขั้นตอนการขอคืนภาษี 3 4 2 5 6 รูปที่ 10-2 ขั้นตอนการขอคืนภาษี
การจัดการระบบโลจิสติกส์ ระบบโลจิสติกส์มีความซับซ้อนมากกว่าระบบเครือข่ายต้องวิเคราะห์ :- 1.การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 2.การวางแผน 3.การจัดทำโครงการ 4.การนำแผนไปปฏิบัติ 5.การควบคุมระบบโลจิสติกส์
รูปที่ 10-3 กระบวนการจัดการโลจิสติกส์โลก การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม คำถามหลักสำหรับการวิเคราะห์ วางแผน และควบคุม การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 1. ลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละตลาดคืออะไร ลักษณะที่เหมือนกันในทุกตลาดคืออะไร 2. กิจการควรรวมกลุ่มตลาดเพื่อการดำเนินงาน/การวางแผนหรือไม่
รูปที่ 10-3 กระบวนการจัดการโลจิสติกส์โลก การวางแผน การวางแผน 3. ใครควรเป็นคนตัดสินใจเรื่องโลจิสติกส์ 4. สมมติฐานหลักของตลาดเป้าหมายคืออะไร มีเหตุผลใช้ได้หรือไม่ 5. ความต้องในการบริการลูกค้าของตลาดเป้าหมายคืออะไร 6. ลักษณะของระบบโลจิสติกส์ที่มีอยู่ในตลาดเป้าหมายคืออะไร 7. จุดแข็งและจุดอ่อนของกิจการในการแข่งขันในแต่ละตลาดคืออะไร 8. วัตถุประสงค์ของกิจการคืออะไร ภายใต้การประเมินโอกาส ความเสี่ยง และความสามารถของกิจการ 9. ดุลการชำระเงินและค่าของเงินในตลาดเป้าหมายและผลกระทบต่อระบบการกระจายสินค้าของกิจการเป็นอย่างไร รูปที่ 10-3 กระบวนการจัดการโลจิสติกส์โลก
การควบคุมโปรแกรม โลจิสติกส์ โครงสร้าง 10. จะวางโครงสร้างองค์กรโลจิสติกส์อย่างไรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนด โครงสร้าง การนำแผนไปปฏิบัติ 11. จะพัฒนาแผนดำเนินงานด้านโลจิสติกส์อย่างไร กำหนด กลยุทธ์ในวิธีการขนส่ง การบรรจุหีบห่อ การสินค้าคงคลัง และการบริการลูกค้าในแต่ละตลาดอย่างไร การนำแผนไป ปฏิบัติ การควบคุมโปรแกรมโลจิสติกส์ 12. จะวัดและติดตามการปฏบัติตามแผนอย่างไร จะมีขั้นตอนในการปฏิบัติจริงเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการได้อย่างไร การควบคุมโปรแกรม โลจิสติกส์ รูปที่ 10-3 กระบวนการจัดการโลจิสติกส์โลก
Letter of Credit เพื่อให้มั่นใจได้ว่าลูกค้าต่างประเทศจะชำระเงินค่าสินค้าที่ได้มีการจัดส่งไปแล้ว จึงมักจะมีการใช้ L/C โดยเป็นเอกสารที่ออกโดยธนาคารในนามของผู้ซื้อจะต้องชำระเงินเมื่อได้รับสินค้า ในการชำระเงินผู้ซื้อจะชำระเงินให้แก่ผู้ขายโดยธนาคารของผู้ซื้อเป็นผู้ดำเนินการแทนผู้ซื้อ
รูปที่ 10-4 การทำงานของคำขอซื้อของธนาคาร 1. ผู้ขายขอให้ผู้ซื้อจัดการออก L/C 2. ผู้ซื้อขอให้ธนาคารเป็นผู้ออก L/C ตามเงื่อนไขของผู้ขาย 3. เมื่อผู้ซื้อผ่านการอนุมัติสินเชื่อของธนาคารแล้วธนาคารผู้ซื้อจะแจ้งให้ธนาคารผู้ขายทราบว่าได้มีการเปิด L/C แล้ว 4. ธนาคารผู้ขายยืนยันการรับรอง L/C ของธนาคารผู้ซื้อ 5. ผู้ขายจัดส่งสินค้าและแสดงเอกสารส่งสินค้าต่อธนาคาร 6. ธนาคารผู้ขายตรวจสอบเอกสารและส่งต่อไปยังธนาคารผู้ซื้อโดยทางอากาศ 7. ธนาคารผู้ซื้อตรวจสอบเอกสารและหักเงินจากบัญชีผู้ซื้อและส่งไปยังธนาคารผู้ขาย 8. เมื่อได้รับเงินแล้วธนาคารผู้ขายจะนำเงินเข้าบัญชีผู้ขายต่อไป รูปที่ 10-4 การทำงานของคำขอซื้อของธนาคาร
รูปที่ 10-5 สภาพแวดล้อม ของโลจิสติกส์โลก
รูปที่ 10-6 การดำเนินงานของ NVOCCs
เอกสารในการส่งออก Air waybill Certificate of origin Commercial invoice Dock receipt Ocean bill of lading Packing List