Building EC System การพัฒนาระบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Electronic Commerce Building EC System การพัฒนาระบบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ระบบโปรแกรมต่าง ๆ ใน EC ระบบแคตตาล๊อกสินค้า (E-Catalogs) ระบบตะกร้า (Shopping Cart) ระบบการชำระเงิน (Payment System) ระบบรักษาความปลอดภัย (Security System) ระบบติดตามสถานะการขนส่งสินค้า (Tracking) ระบบการวางแผนการผลิต (Enterprise Resource Planning : ERP ) ระบบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management : CRM) ระบบการให้บริการเฉพาะบุคคล (Personalization) ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory)
องค์ประกอบหลักและฟังก์ชั่นต่างๆ ของ EC หน้าร้าน(Front end) ถูกสร้างโดยผู้ขาย ส่วนใหญ่ที่เห็นจะเป็นแบบ B2C มีความสามารถต่างๆที่จะให้บริการ โดยหน้าร้านจะต้องมีการ เสนอขายสินค้าให้กับลูกค้าดังรายละเอียดต่อไปนี้ แคตตาล๊อกสินค้า (E-Catalogs) ตะกร้าสินค้า (Shopping Cart) การค้นหา และเปรียบเทียบสินค้า สามารถเลือกและต่อรองราคาได้ ช่องทางการชำระเงิน (ส่วนมากมักจะใช้บัตรเครดิต) และขบวนการสั่งสินค้า มีการตอบรับสินค้า มีการยืนยัน การสั่งชื้อสินค้า (order confirmation)
องค์ประกอบหลักและฟังก์ชั่นต่างๆ ของ EC หน้าร้านจะต้องมีการเสนอขายสินค้าให้กับลูกค้าดังรายละเอียดต่อไปนี้ (ต่อ) มีการติดตามดูผลการสั่งซื้อสินค้า ตรวจสอบสินค้าและบริการก่อนและหลังการขาย กระดานสนทนา สำหรับข้อแนะนำ เสนอแนะ ระบบ Credit (ความเชื่อมั่นในการให้บริการ) มีการจัดการระบบขนส่ง
www.njoy-dvd.com
www.njoy-dvd.com
การประมูลสินค้า
การประมูลสินค้า
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน สรุปหน้าร้านจะต้องประกอบด้วย 3 ระบบย่อย (subsystems) ได้แก่ ระบบของพ่อค้า หรือ หน้าร้านที่ให้บริการเกี่ยวกับ แคตตาล็อค และ shopping cart ระบบของการดำเนินการสำหรับ ระบบการสั่งซื้อ, การจ่ายเงิน และระบบอื่นๆ ช่องทางในการจ่ายเงิน – ระบบการเงิน (financial systems)
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน ฟังก์ชันที่ต้องการสำหรับพ่อค้า (Merchant’s need to:) มีการให้บริการเพื่อให้สามารถเข้าถึง catalog และ electronic shopping cart ตรวจสอบเครดิตของลูกค้า และอนุมัติการสั่งซื้อ ขั้นตอนการสั่งซื้อ (เป็นการบริการหลังร้าน : back-end service) จัดการส่งสินค้า ตรวจสอบการขนส่งสินค้าเพื่อให้มั่นใจว่าได้จัดส่งเรียบร้อยแล้ว มีการให้บริการเกี่ยวกับผู้ซื้อและผู้เยี่ยมชม ในการลงทะเบียน, แสดงความคิดเห็น, หรือแสดงในสิ่งที่ลูกค้าต้องการเพิ่มเติม
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน ต้องการรายละเอียดก่อนการเริ่มขบวนการพัฒนา รายละเอียดทีต้องพิจารณา คือ ลูกค้า พ่อค้า โปรโมชั่น วิเคราะห์ข้อมูลการตลาด แบนด์ (ยี่ห้อ) ความสามารถ และ fast loading ความง่ายของโครงสร้างเว็บ
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน การใช้ทำงานของรถเข็นใส่สินค้า แนวทางที่สะดวกเพื่อสั่งและชำระเงิน การสร้าง เครดิด การบริการทำให้เป็นส่วนบุคคล กำหนดราคาที่แท้จริง
ขบวนการพัฒนาหน้าร้าน การออกแบบที่ต้องคำนึงถึง คือ ต้องมีการโหลดอย่างรวดเร็ว มีความสะดวก ง่าย ในการออกแบบ และใช้งาน มีการเชื่อมต่อกับระบบสากล การจ่ายเงินต้องให้สมบูรณ์มากที่สุด และมีความปลอดภัย ให้บริการก่อนและหลังการขาย เป็นราคาที่แท้จริง
องค์ประกอบสำคัญของ Electronic catalog และ EC suites E-catalog คือ แคตตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการนำเสนอสินค้าแบบออนไลน์ โดยจะบรรจุข้อมูลสินค้าต่างๆ รูปภาพ ราคา การลดราคา การจ่ายเงินต่างๆ ในรูปแบบออนไลน์และมัลติมีเดีย โดยสามารถแบ่งหมวดหมู่ และ ประเภท ทำให้ง่ายต่อการเข้าชม และเพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้า
องค์ประกอบสำคัญของ Electronic catalog และ EC suites ลักษณะของ e-catalog มีใบสั่งซื้อแบบออนไลน์ โดยใช้หลักการทางด้าน webbase เพื่อทำให้เกิดการสั่งซื้อที่มีความปลอดภัย มีฐานข้อมูลเพื่อดูแลในส่วนของสินค้า ราคา และการสั่งซื้อของลูกค้า มีการอินทิเกรตกับซอฟต์แวร์อื่นๆ เพื่อใช้ในการคำนวณภาษี,การนำเข้า, รองรับผู้จัดจำหน่าย และเติมเต็มในส่วนอื่นๆ
องค์ประกอบสำคัญของ Electronic catalog และ EC suites มีความยืดหยุ่นมาก เปลี่ยนแปลงตามความต้องการของลูกค้า สนับสนุนหน้าที่ต่างๆ ในการทำงานให้สมบูรณ์แบบ
การเริ่มต้นทำธุรกิจออนไลน์ จัดตั้งธุรกิจ กำหนดธุรกิจที่จะทำ ศึกษาความเป็นไปได้ กำหนดทีมงาน e-business plan แผนธุรกิจ แหล่งเงินทุน ทุนส่วนตัว ทุนกู้ยืมจากสถาบันการเงิน นักลงทุน (Venture capital)
E-Business Plan : การวางแผนธุรกิจ เป้าหมายองค์กร แผนธุรกิจ (Business Planning) สารสนเทศขององค์กร แพลตฟอร์มระบบ ซอฟต์แวร์ OS สำหรับ SERVER และเครือข่าย เทคนิค กฎระเบียบปฏิบัติการใช้ระบบ การเข้าถึงระบบ
ขั้นตอนในการพัฒนา EC Application step 1 : เป็นการวางแผนโครงสร้าง/สถาปัตยกรรมประกอบด้วย เป้าหมาย และ วิสัยทัศน์ (Goals and Vision) สารสนเทศ และข้อมูลเพื่อจะนำมาเติมเต็มในส่วนของเป้าหมายและวิสัยทัศน์ โปรแกรมประยุกต์ที่จะนำมาจัดการในส่วนของสารสนเทศและข้อมูลต่างๆ กำหนดฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่จะนำมารันโปรแกรมประยุกต์ บุคลากรและกระบวนการต่างๆ ในการพัฒนาระบบ
ขั้นตอนในการพัฒนา EC Application step 2 : เลือก option ในการพัฒนา – พัฒนาเอง, จ้างบุคคลภายนอก (outsource) เป็นต้น step 3 : การติดตั้ง และการทดสอบ การทดสอบทีละหน่วย การทดสอบแบบรวมหลายๆ โมดูลเข้าด้วยกัน การทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานจากประสบการณ์ของผู้ใช้งานเว็บไซต์ ทดสอบการยอมรับ โดยการวัดว่าเว็บไซต์ได้พบกับเป้าหมายและวิสัยทัศน์ตามที่ได้วางไว้หรือไม่
ขั้นตอนในการพัฒนา EC Application step 4 : การจัดการ/ใช้งานและการบำรุงรักษาระบบ (operation and maintenance) โดยจะต้องมีการ update อยู่เสมอ
ประเภทของเว็บไซต์ เว็บข่าวสาร (Information Web site) Yahoo.com เว็บโต้ตอบ (Interactive Web site) Toyota.com, ais.co.th, hotmail.com, เว็บเพื่อธุรกรรมค้าขาย (Transaction Web site) Amazon.com, dell.com ฯลฯ
ขั้นตอนการสร้างร้านค้าออนไลน์แบบง่าย กำหนดพื้นที่เซิร์ฟเวอร์ (Web Host) การจดโดเมนเนม (Register a domain name) การกำหนดเนื้อหา (Create and manage content) การออกแบบเว็บไซต์ (Web Design) การสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ (Web Site Construction) การประชาสัมพันธ์ (Web site Promote) การทำ CRM CRM คืออะไร CRM ย่อมาจาก Customer Relationship Management คือ การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งหมายถึงวิธีการที่เราจะบริหารให้ลูกค้ามีความรู้สึกผูกพันธ์กับสินค้า ,บริการ หรือองค์กรของเรา เมื่อลูกค้าเค้ามีความผูกพันธ์ในทางที่ดีกับเรา แล้วก็ลูกค้านั้นไม่คิดที่จะเปลี่ยนใจไปจากสินค้าหรือบริการของเรา ทำให้เรามีฐานลูกค้าที่มั่้นคง และนำมาซึ่งความมั่นคงของบริษัท ดังนั้น การที่จะรู้ซึ้งถึงสถานะความผูกพันธ์กับลูกค้าได้นั้น เราก็ต้องอาศัยการสังเกตุพฤติกรรมของลูกค้า แล้วนำมาวิเคราะห์หาความเกี่ยวข้องระหว่าง พฤติกรรมของลูกค้ากับกลยุทธ์ทางการตลาดของเรา กระบวนการทำงานของระบบ CRM มี 4 ขั้นตอนดังนี้ 1.Identify เก็บข้อมูลว่าลูกค้าของบริษัทเป็นใคร เช่น ชื่อลูกค้า ข้อมูลสำหรับติดต่อกับลูกค้า 2.Differentiate วิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าแต่ละคน และจัดแบ่งลูกค้าออกเป็นกลุ่มตามคุณค่าที่ลูกค้ามีต่อบริษัท 3.Interact มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อเรียนรู้ความต้องการของลูกค้า และเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าในระยะยาว 4.Customize นำเสนอสินค้าหรือบริการที่มีความเหมาะสมเฉพาะตัวกับลูกค้าแต่ละคน CRM มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านการนำซอฟต์แวร์มาใช้ในการ พัฒนาเพื่อดึงดูดลูกค้า สร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า เช่น Web Site เป็นต้น CRM software ช่วยในการจัดการฐานข้อมูลลูกค้า วิเคราะห์ข้อมูล และเป็นช่องทางในการติดต่อกับลูกค้า ซึ่ง CRM software มักแบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้ 1.Operational CRM เป็นซอฟท์แวร์ front office ที่ใช้ช่วยจัดการกระบวนการทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับลูกค้า ไม่ว่าจะเป็น sales, marketing หรือ service เช่น การจัดการข้อมูลติดต่อลูกค้า การเสนอราคา การบริหารฝ่ายขาย การเก็บข้อมูลพฤติกรรมลูกค้า ระบบบริการลูกค้า เป็นต้น 2.Analytical CRM ระบบวิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าที่รวบรวมได้จากส่วน Operational CRM หรือจากแหล่งอื่นๆ เพื่อแบ่งลูกค้าออกเป็นกลุ่มและค้นหากลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่บริษัทสามารถนำ เสนอสินค้า หรือบริการเพิ่มเติมได้ 3.Collaborative CRM ระบบช่วยสนับสนุนในการติดต่อปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านทางช่องทางต่างๆ เช่น ติดต่อส่วนตัว จดหมาย แฟกซ์ โทรศัพท์ เว็บไซต์ E-Mail เป็นต้น รวมถึงช่วยจัดการทรัพยากรที่บริษัทมีคือพนักงาน กระบวนการทำงาน และฐานข้อมูล (Database ) ลูกค้า เพื่อนำไปให้บริการแก่ลูกค้าและช่วยรักษาฐานลูกค้าของบริษัทได้ดีขึ้น ประโยชน์ ของ CRM ต่อธุรกิจ 1.CRM ช่วยเพิ่มความสามารถในการให้บริการลูกค้าได้ดีขึ้น เช่น ใช้เว็บไซต์ในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า วิธีการใช้สินค้า และให้ความช่วยเหลือแก่ลูกค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง เป็นช่องทางให้ลูกค้าแนะนำติชมต่อบริการของบริษัทได้ง่าย ช่วยให้ลูกค้าสามารถ customize ความต้องการของตนเองได้ทันที เป็นต้น 2.CRM ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับลูกค้าให้ดีขึ้น ช่วยให้บริษัทรู้ความสนใจ ความต้องการ และพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า ทำให้บริษัทสามารถนำเสนอสินค้าที่เหมาะสม กับลูกค้าได้ และช่วยให้บริษัทสามารถให้บริการหลังการขายแก่ลูกค้าตามที่ลูกค้าต้องการได้ การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าในระยะยาวจะช่วยเพิ่ม loyalty ที่ลูกค้ามีต่อบริษัท ลดการสูญเสียลูกค้า ลดต้นทุนการตลาด เพิ่มรายได้จากการที่ลูกค้าซื้อซ้ำหรือแนะนำให้คนรู้จักซื้อสินค้าของบริษัท และนั่นหมายถึงกำไรของบริษัทที่เพิ่มมากขึ้น
1. กำหนดพื้นที่เซิร์ฟเวอร์ (Web Host) 1.1 เช่าพื้นที่ Store builder service ร้านค้าออนไลน์สำเร็จรูป ISP hosting service (ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต) Web hosting service 1.2 Self – host
ขอเช่าพื้นที่ในเว็บเซิฟเวอร์ผู้อื่น (Dedicated Server) ค่าใช้จ่ายน้อย เพราะเป็นการขอเช่าพื้นที่ในเว็บเซิฟเวอร์ของผู้อื่น มีบริษัทในและต่างประเทศที่เปิดให้บริการ ราคาจะแตกต่างกันไปตามรายละเอียด และเงื่อนไขบริการที่ให้ ปัจจัยที่ควรจะพิจารณา - ขนาดพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูล ความเร็วในการรับส่งข้อมูล มีการจำกัดประมาณข้อมูลที่รับส่งหรือไม่ มีบริการสนับสนุน CGI, ASP, PHP ในกรณีที่เราใช้โปรแกรมเหล่านี้หรือไม่
ข้อดีของ Web Hosting ที่เหนือกว่า Self-Hosting หรือ in-house Host - ประสิทธิภาพของเครื่อง Server ส่วนใหญ่จะสูงกว่า - มีผู้ดูแลตลอดเวลา ซึ่งสามารถแก้ปัญหาได้ทันท่วงทีเมื่อเกิดข้อผิดพลาด - เมื่อเทียบดูแล้วจะเสียค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่ามากเมื่อเทียบกับ in-house Host
เว็บ Hosting แบบคิดค่าบริการ 108web.com readyplanet.com microthai.com accepthost.com 9host.com thaiserver.com yourconnect.com etcyber.com
เป็นเจ้าของเอง (Own Server) มีค่าใช้จ่ายสูงที่สุด จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ค่าใช้จ่ายในการเชื่อมต่อเป็นเครื่องเซิฟเวอร์กับอินเตอร์เน็ตแบบตลอด 24 ชม. ต้องเชื่อมต่อด้วยความเร็วสูงจึงจะรองรับการส่งข้อมูลที่เกิดขึ้นตลอดเวลาได้รวดเร็วพอ เชื่อมต่อโดยใช้ lease line เชื่อมต่อเครื่องเซิฟเวอร์ของเรากับผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ใช้สาย lease line ซึ่งเป็นสายส่งข้อมูลเช่ารายเดือน (วงจรเช่า) เชื่อมต่อตลอดเวลากับ (ISP) เสียค่าบริการรายเดือน ขึ้นอยู่กับความเร็วในการส่งข้อมูลที่ใช้ เสียค่าเช่าสาย lease line รายเดือนให้กับการสื่อสารแห่งประเทศไทย
เป็นเจ้าของเอง (Own Server) ข้อดี มีเครื่องเซิฟเวอร์อยู่ในสถานที่เดียวกับเรา จัดการได้ง่าย สาย leased line เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในองค์กรกับอินเตอร์เน็ตได้ 24 ชม. เหมาะสำหรับองค์กรใหญ่ มีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจำนวนมาก และมีการให้บริการข้อมูลผ่านเว๊บไซต์ ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสูง และการรับส่งข้อมูลได้สูงสุดเท่ากับความเร็วสาย leased line ต้องใช้บุคลากรที่เชี่ยวชาญ ในการจัดการด้านเทคนิค และการดูแลอุปกรณ์ ไม่ให้ “ล่ม” ต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยค่อนข้างสูงมากสำหรับธุรกิจ e-commerce
เชื่อมต่อโดยใช้บริการ Co-location เชื่อมต่อเครื่องเซิฟเวอร์เราไปฝากไว้ที่ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) โดยจะเชื่อมต่อเข้ากับวงจรสื่อสารของผู้ให้บริการรายนั้นโดยตรง ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีแรกมาก เพราะไม่มีค่าใช้จ่าย leased line ข้อดี ค่าใช้จ่ายถูกกว่าวิธีแรก ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เรา สามารถรับส่งข้อมูลได้ด้วยความรวดเร็วสูง ข้อเสีย ติดต่อกับเครื่องเซิฟเวอร์ของเราผ่านโมเด็ม/ADSL ซึ่งมีความเร็วจำกัด การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในเว๊บไซต์ของเราที่อยู่ในเครื่องเซิฟเวอร์จะยากกว่า ใช้เวลามากกว่าวิธีแรก
ขอพื้นที่ฟรีในเว็บเซิฟเวอร์ (Web Hosting) ข้อดี ไม่มีค่าใช้จ่าย มีเครื่องมืออำนวยความสะดวกที่แตกต่างกันไป อาจมีเว็บบอร์ด สมุดเยี่ยม อีเมล์ ตัวนับ ให้ทันทีเมื่อลงทะเบียนขอพื้นที่ สำหรับผู้เริ่มต้นควรเลือกในส่วนที่สามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด ควรเลือกเว็บที่สนับสนุน CGI คือรองรับภาษาสคริปต์ที่ใช้เขียนโปรแกรมต่าง ๆ เช่น ASP, PHP, Perl, DHTML ข้อเสีย - จำกัดพื้นที่ - จำกัดในการติดต่อข้อมูล
Free Hosting 100 Free.com 40 MB Greatnow.com 100 MB 1asphost.com 100 MB 70megs.com 70 MB Freeyellow.com 50 MB Mysitespace.com 20 MB Netfirms.com 25 MB Sitepalace.com 8 MB ifastnet.com 300 MB
Free hosting geocities.com se-ed.net angelfire.lycos.com 50megs.com tripod.lycos.com 150m.com coolfreehost.com netfirms.com f2g.net free.prohosting.com
Free hosting www.cjb.net www.v3.com www.zwap.com http://beam.to สำหรับผู้ที่ใช้เนื้อที่แบบไม่คิดค่าบริการ อาจพบปัญหาชื่อเว็บไซต์ยาวเกินไป ทำให้จดจำยาก สามารถแก้ไขโดยการไปที่เว็บไซต์เหล่านี้ www.cjb.net www.v3.com www.zwap.com http://beam.to ยกตัวอย่างเช่น www.ชื่อเว็บไซต์ที่ตั้งเอง.cjb.net
ตัวอย่างบริษัทพัฒนา Web Server Netscape IIS Webphere Domino Server Oracle Web Server Cold Fusion
ข้อกำหนดลักษณะ Host โดยทั่วไป ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ เช่น windows 2000 (Internet information server) , Linux (Apache), โปรแกรมตัวแปลภาษา เช่น ASP,PHP โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล เช่น SQL server (microsoft), MySQL (linux) ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ (เช็คจากบริการ SSL) ราคา
การทำ Mirroring คือ การที่เจ้าของเว็บไซต์ทำสำเนาข้อมูลจากเว็บไซต์ของบริษัทโดยการเชื่อมต่อ (host) และอัพโหลด (Upload) ข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์หลักของตัวเอง ไปไว้ที่คอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์เครื่องอื่นในบริเวณที่มีผู้ใช้บริการเว็บไซต์ของบริษัทหนาแน่น เพื่อให้ผู้ใช้บริการที่อยู่ในพื้นที่คนละฝั่งทวีปกับเว็บไซต์หลักสามารถดาวน์โหลดข้อมูลจากเว็บไซต์ของบริษัทได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
2. การจดโดเมนเนม (Register a domain name) การจดทะเบียนชื่อโดเมนเสมือนการจดทะเบียนชื่อบริษัทในระบบปกติ การจดชื่อโดเมนจะไม่มีการซ้ำกันเนื่องจากมีหน่วยงานกลางในการดูแล การเลือกชื่อโดเมนเป็นเรื่องที่ยากในปัจจุบัน ซึ่งต้อง สั้น กระชับ จำง่าย และสื่อความหมายถึงสินค้าหรือบริการนั้นๆ ตัวอย่างหน่วยงาน thairegister.com networksolution.com thnic.co.th
เทคนิคการตั้งชื่อโดเมนเนม สั้นๆ จำง่าย ได้ความหมายธุรกิจ สะกดผิดยาก โดยใช้ตัวอักษร a-z , 0-9 และเครื่องหมาย - โดยต้องไม่ขึ้นต้น หรือลงท้ายด้วยเครื่องหมาย - และต้องไม่มี Space และต้องจด โดเมนเนม อย่างน้อย 2 ตัวอักษร
เทคนิคการตั้งชื่อโดเมนเนม ถ้ามีบริษัท ชื่อสินค้า หรือบริการ ก็ใช้ชื่อเหล่านั้นตั้งเป็นชื่อเว็บไซต์ www.hanami.com, www.hutch.co.th, www.ais.co.th ชื่อเว็บแสดงลักษณะของบริการของเว็บ pappayon.com, Thaimate.com สั้น จำง่ายๆ พูดง่ายและสะกดง่าย (sanook.com, kapook.com) บางครั้งชื่อยาวก็จำง่ายเหมือนกัน (www.ThaiSecondhand.com, www.CheapHotelBooking.com) ระวังการเติม S หรือไม่เติม S www.HotelThailand.com (ไม่มี S) และ www.HotelsThailand.com (มี S) ระวังการใช้คำพ้องเสียง 4, U, 2 www.bankasia4u.com หลีกเลี่ยงการใช้ (ขีดกลาง หรือ Hyphen) www.one-2-call.com การตั้งชื่อแบบไม่มีความหมายเลยก็ได้ google.com, yahoo.com
วินาศ ศิลปชัย WIN ART .COM WINART โดเมนเนม คือสิ่งสำคัญที่สุด Read Your Domain name Carefully… ศิลปชัย WIN ART .COM WINART วินาศ โดเมนเนม คือสิ่งสำคัญที่สุด เพราะมันจะใช้แสดงความมีตัวตนของธุรกิจของคุณ
เคล็ดลับการตั้งชื่อเว็บไซต์ ตั้งชื่อจากประเภทของสินค้า เช่น เว็บไซต์ขายของเด็กเล่น ให้มีคำว่า Toy อยู่ในชื่อ หรือเว็บไซต์ขาย DVD ก็ให้มีคำว่า DVD อยู่ในชื่อเป็นต้น หากเป็นองค์กร บริษัท ห้างร้าน ให้คงชื่อเดิมไว้ให้มากที่สุด ไม่แนะนำให้เปลี่ยน ตั้งชื่อโดยดูจากรูปแบบเว็บไซต์ เช่น ถ้าเว็บไซต์ของคุณมีสีสันสดใส นำเสนอเรื่องสบายๆ ชื่อที่ใช้ควรให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน
โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม “ภาษาไทย” Sample : http://กสิกร.ธนาคาร.พาณิชย์.ไทย
3. การกำหนดเนื้อหา (Create and manage content) Text Graphic Audio File VDO File
4. การออกแบบเว็บไซต์ (Web Design) การวางโครงสร้าง web page เพื่อง่ายต่อการดูแลและปรับปรุง การจัดโครงสร้าง Web pages ที่ดี เทคนิคการปรับปรุงเนื้อหา Web pages ที่จำเป็น ความจำเป็นในการดูแล และปรับปรุงตลอดเวลา ระยะเวลาปรับปรุงที่เหมาะสม เนื้อหาที่ควรปรับปรุงเป็นประจำ
สิ่งจำเป็นสำหรับเว็บไซต์ E-Commerce ชื่อเว็บไซต์ ระบบค้นหาสินค้า (Search) สินค้าแนะนำ หมวดหมู่สินค้า หัวข้อที่น่าสนใจ รูปภาพสินค้า ราคาที่ดึงดูด ช๊อปปิ้งการ์ด (ตะกร้าสินค้า)
โครงสร้างเว็บไซต์ โครงสร้างแบบลำดับชั้น (Hierarchical) Homepage Member Customer Service Product Catalog About us Online Manual FAQ My acc. Pro.1 Pro. 2 Pro.3 Shopping Payment Contact
โครงสร้างเว็บไซต์แบบเส้นตรง (Linear) Tutorial Introduction Executive Summary Business description Market Analysis Competitor Operations Mission Statement Goals Project Objectives Analysis Grid
สีสัน หน้าตาของเว็บไซต์สำคัญอย่างไร http://www.acshop.netfirms.com/
ตัวอย่างการแสดงอัตราส่วนรูปภาพกับข้อความบนเว็บเพจ รูปภาพประมาณ 20% ของหน้าเว็บเพจ ข้อความประมาณ 80% ของหน้าเว็บเพจ ตัวอย่างการแสดงอัตราส่วนรูปภาพกับข้อความบนเว็บเพจ
สีสัน หน้าตาของเว็บไซต์สำคัญอย่างไร สีของเว็บไซต์กับสินค้าต้องสัมพันธ์กัน ใช้สีที่ทำให้ร้านดูดี แต่ไม่จำเป็นต้องใช้สีในโทนร้อนแรง สีโทนอ่อนจะช่วยให้ผู้เยี่ยมชมสบายตา สีที่นำมาควรจะสื่อถึงสินค้า เช่น เว็บไซต์ขายผลิตภัณฑ์ที่มาจากธรรมชาติ สีที่นำมาใช้คือ สีเขียว และสีน้ำตาลเป็นต้น สีโทนเข้มควรนำมาใช้ในลักษณะการแต่งขอบ
สีสัน หน้าตาของเว็บไซต์สำคัญอย่างไร หากไม่แน่ใจว่าจะใช้สีใด แนะนำให้ใช้สีเทาอ่อนกับสีขาว เพราะว่าเป็นสีที่นิยมในการออกแบบ เพราะสามารถใช้ได้กับสินค้าเกือบทุกประเภท
ลักษณะของเว็บไซต์ที่ดี ข้อความอ่านง่าย เรียบร้อย การใช้โทนสีในการตกแต่ง ต้องเข้ากันได้ดี การเชื่อมโยงลิงค์ควรมีความน่าสนใจ มีข้อมูลและรูปภาพของสินค้าให้ชัดเจน ทุกหน้าของเว็บเพจจะต้องมีช่องทางการติดต่อถึงเจ้าของเว็บไซต์ ต้องรองรับการแสดงผลทั้ง Internet Explorer และ Netscape
ระยะเวลาในการโหลด ความเร็วในการโหลดหน้าเว็บไซต์ เป็นปัญหาที่เราไม่สามารถควบคุมได้เต็มที่ เนื่องจากขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ปัจจัยที่ทำให้โหลดเว็บไซต์ช้าได้แก่ รูปภาพมีขนาดใหญ่เกินไป ไม่เหมาะสมในการนำมาใส่ในเว็บไซต์ การใช้คำสั่งที่ไม่จำเป็น การแสดงไฟล์ประเภท Multimedia
เว็บบอร์ด (Webboard) การสร้างร้านค้าออนไลน์จำเป็นต้องมีเว็บบอร์ด เพื่อให้ลูกค้าฝากข้อความติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสินค้า บริการ การขนส่ง เป็นต้น เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบอร์ดฟรี www.212cafe.com/freewebboard www.dnaboard.com www.bbznet.com www.icygang.com/ www.feebod.com
ตัวนับจำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์(counter) เว็บไซต์ที่ให้บริการจำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ฟรี www.freestats.com www.digits.com www.counted.com www.zcounter.com http://www.free-counters.co.uk/
5. การสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ (Web Site Construction) 1. Insourcing : เป็นการพัฒนาโปรแกรมด้วยตนเอง ข้อดี ตรงตามความต้องการ ข้อเสีย เสียเวลาและบุคลากรในการทำงานอื่นๆ ผู้พัฒนาอาจมีความรู้ไม่เพียงพอในการทำโปรแกรม ช้า
การพัฒนาโปรแกรมด้วยตนเอง การสร้างเว็บเพจและ Graphic ที่จำเป็น วิธีการสร้างเว็บเพจแบบ Reverse Engineering เป็นวิธีการ “ลอกและดัดแปลง” ซึ่งเป็นวิธีการที่รวดเร็ว และง่ายที่สุด เขียน Html เอง
การพัฒนาโปรแกรมด้วยตนเอง โปรแกรมสำหรับการออกแบบ โปรแกรมด้านกราฟฟิก เช่น PhotoShop โปรแกรมสำหรับพัฒนา Editor tools : Editplus, Notepad What you see What you get : DreamWeaver โปรแกรมมัลติมีเดีย : ภาพเคลื่อนไหว กราฟฟิก เสียง วีดีโอ : Flash, Director, Authorware, Java
การเขียนโปรแกรม (Building) การเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมในส่วนของการจัดการฐานข้อมูลสินค้า (Database) ข้อมูลลูกค้า หรือผู้ที่มาเยี่ยมชม เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการทำกลยุทธในการทำE-commerce ต่อไป นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มลูกเล่นอื่น เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ความหลากหลายให้กับเว็บไซต์เพิ่มเติม ด้วยการใช้หลัการ Common Gateway Interface (CGI) ภาษาที่ใช้หลักการ CGI เช่น ASP, PHP, Perl, DHTML, Java Script
รูปแบบการพัฒนาโปรแกรม EC 2. Buy the applications ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ ข้อดี มีแพ็คเกจเยอะ ประหยัดเวลา บริษัทรู้ว่าจะได้รับอะไรบ้าง ไม่ได้เป็นผู้ใช้คนแรก คือมีคนใช้โปรแกรมเยอะ
รูปแบบการพัฒนาโปรแกรม EC 2.Buy the applications ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ (ต่อ) ข้อเสีย โปรแกรมไม่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริง ยากต่อการปรับปรุง ไม่สามารถควบคุมต่อการเปลี่ยนแปลงเวอร์ชัน ยากต่อการอินทิเกรต ผู้ซื้ออาจจะลดปริมาณการซื้อ หรือ ออกจากการดำเนินธุรกิจไป
รูปแบบการพัฒนาโปรแกรม EC 3. เช่าระบบ เป็นการเช่าระบบจาก outsource ให้บริการทางธุรกิจถึงผู้ซื้อ โดยเสียค่าใช้จ่ายไม่มากต่อเดือน และสามารถออนไลน์เพื่อใช้อุปกรณ์ และซอฟต์แวร์ต่าง ๆ จากผู้จัดหาการให้บริการ (ASP-Application Service Provider)
รูปแบบการพัฒนาโปรแกรม EC 4. ใช้บริการ ASP (ผู้ให้บริการระบบ EC) ผู้ให้บริการระบบสารสนเทศทางธุรกิจ : ASP (Application Service Providers : ASP) ลักษณะให้บริการครบวงจร ให้คำปรึกษาด้านการวิเคราะห์ความต้องการระบบที่สอดคล้องกับลักษณะธุรกิจ การวิเคราะห์และออกแบบระบบ EC ติดตั้ง และดูแลระบบสารสนเทศ EC
ตัวอย่างบริษัทให้บริการ รูปแบบการพัฒนาโปรแกรม EC ใช้บริการ ASP (ผู้ให้บริการระบบ EC) ตัวอย่างบริษัทให้บริการ ข้อดี datamat.co.th Thaibiz.com Metrosystems.co.th บริษัทไม่ต้องลงทุนพัฒนาระบบเอง ไม่ต้องซื้อ H/W, S/W ไม่ต้องมีจนท.ดูแลระบบ ไม่ต้องลงทุน setup ระบบ และ Data
รูปแบบการพัฒนาโปรแกรม EC 5. จัดจ้างบริษัทอื่นพัฒนาให้ 6. อื่น ๆ –นำสินค้า-บริการไปฝากไว้กับเว็บ E-marketplace เว็บประมูลสินค้า ผสมผสาน โดยเลือกแต่ละวิธีที่ดีที่สุดมาใช้ หลาย ๆ วิธี
ข้อคำนึงถึงทางเลือกการพัฒนา Function ต่างๆ ของการพัฒนา ความต้องการข้อมูล ทรัพยากรฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การติดตั้ง การบริการบำรุงรักษา ความปลอดภัย ราคาประเมิน ต้นทุนโดยประมาณ (โครงการ EC) กำไรที่จะได้รับ บุคลากร(การวางแผนทีมงาน) การขยายระบบ
ข้อคำนึงถึงทางเลือกการพัฒนา อัตราการเจริญเติบโต(การเจริญเติบโตของผู้ใช้) ประสิทธิภาพความพร้อมใช้ตลอดเวลา เครื่องมือในการวัด(จำนวนของการดำเนินการที่ถูกทำให้สำเร็จ) ความน่าเชื่อถือ ความมั่นคง Database format และ ปรับเปลี่ยนได้ โปรแกรมประยุกต์และการเก็บข้อมูลข้อมูล ขอบเขตการให้บริการ การสนับสนุนการบริการ
แบบฝึกหัดบทที่ 4 การออกแบบเว็บไซต์ต้องคำนึงถึงปัจจัยใดบ้าง E-catalog คืออะไร ขั้นตอนในการพัฒนา EC-Application มีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง ขั้นตอนการสร้างร้านค้าออนไลน์มีอะไรบ้าง การตั้งชื่อโดเมนต้องคำนึงถึงเรื่องใดบ้าง สิ่งจำเป็นสำหรับการสร้างเว็บ E-Commerce การเน้นสีสันในการออกแบบเว็บไซต์ ควรมีลักษณะอย่างไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ จงอธิบายลักษณะของเว็บไซต์ที่ดี Counter คืออะไร ระบบโปรแกรมต่าง ๆ ใน E-Commerce มีอะไรบ้าง