นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
งบประมาณและการเบิกจ่ายงบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
“งบประมาณ” งบประมาณ หมายความว่า แผนงาน หรืองานสำหรับประมาณการด้านรายรับและรายจ่าย แสดงในรูปตัวเลขจำนวนเงิน การตั้งงบประมาณ คือการแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
เงิน ของ อปท. เงินนอก งบประมาณ เงินที่สภาท้องถิ่นให้ความเห็นชอบ และได้รับการอนุมัติจากผู้มีอำนาจ ตามกฎหมาย (ผู้ว่าราชการจังหวัด/นายอำเภอ) รวมทั้งงบประมาณเพิ่มเติม การโอน และการแก้ไขเปลี่ยนแปลงงบประมาณ เงินงบประมาณ = เงิน ของ อปท. เงินนอก งบประมาณ เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจ่าย =
การจัดทำงบประมาณรายจ่าย ให้หัวหน้าหน่วยงานจัดทำ ให้หัวหน้าหน่วยงานคลัง ใช้แผนเป็นแนวทาง รวบรวมรายงานการเงินและสถิติต่างๆ ของทุกหน่วยงาน เพื่อใช้ประกอบการคำนวณขอตั้งงบประมาณ ประมาณการรายรับ ข้อ22 งบประมาณ ประมาณการรายจ่าย เสนอต่อเจ้าหน้าที่งบประมาณ
วิธีการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี ประมาณการ คชจ. และรายรับ จัดทำรายงานรับจริง - จ่ายจริง รวบรวมรายละเอียดขอตั้ง งปม. คณะผู้บริหารท้องถิ่น อนุมัติวงเงินให้ตั้งงบประมาณ อนุมัติ เสนอร่าง งปม. ต่อสภาท้องถิ่น (ภายใน 15 ส.ค.) สภาท้องถิ่นเห็นชอบร่าง งปม. เห็นชอบ เสนอ งปม. (ผวจ. / นอภ.) เทศบัญญัติ / ข้อบัญญัติ
ข้อบกพร่องในการจัดทำงบประมาณ ทำนอกเหนืออำนาจหน้าที่ ไม่เป็นไปตามขั้นตอนของระเบียบ ตั้งจ่ายผิดหมวด คำชี้แจงประกอบงบประมาณไม่ชัดเจน เนื้องานไม่สอดคล้องกับที่จะปฏิบัติจริง ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
แนวทางการจัดทำงบประมาณปี 2561 ร่าง ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 จัดทำร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปีจากระบบบัญชี E-LAAS ผู้บริหารเสนอร่าง งปม.ต่อสภาฯ ภายในวันที่ 15 สิงหาคม รายได้จัดเก็บเอง ภาษีจัดสรร ตั้งรับใกล้เคียงกับปีที่ผ่าน เงินอุดหนุนทั่วไป ตั้งรับทั้งปีให้ครบทุกหมวดรายรับ (22 รายการ) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
เงินอุดหนุนทั่วไปกำหนดวัตถุประสงค์ ร่าง ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 เงินอุดหนุนทั่วไปที่ตั้ง งปม.2560 ประมาณใกล้เคียงยอดวงเงินที่รับจัดสรร เงินอุดหนุนทั่วไปสำหรับดำเนินการตามอำนาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอน เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนอาหารเสริม (นม) เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนอาหารกลางวัน เงินอุดหนุนสำหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (เงินเดือนครูและค่าจ้าง ประจำ) เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาของท้องถิ่น เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนการจัดการศึกษาแก่เด็กด้อยโอกาส เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์ เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนการบริหารสนามกีฬา
เงินอุดหนุนทั่วไปกำหนดวัตถุประสงค์ ร่าง ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 9. เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 10. เงินอุดหนุนสำหรับส่งเสริมศักยภาพการจัดการศึกษาท้องถิ่น (ค่าปัจจัยพื้นฐานสำหรับนักเรียนยากจน) 11. เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 12. เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายสนับสนุนการดำเนินงานของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 13. เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายสำหรับสนับสนุนการสร้างหลักประกันรายได้ให้แก่ ผู้สูงอายุ 14. เงินอุดหนุนค่าใช่จ่ายสำหรับสนับสนุนสวัสดิการทางสังคมให้แก่ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ
เงินอุดหนุนทั่วไปกำหนดวัตถุประสงค์ ร่าง เงินอุดหนุนทั่วไปกำหนดวัตถุประสงค์ ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 15. เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนศูนย์บริการทางสังคม 16. เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนสถานสงเคราะห์คนชรา 17. เงินอุดหนุนสำหรับป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 18. เงินอุดหนุนสำหรับค่าตอบแทนพิเศษรายเดือนให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภายใต้ 19. เงินอุดหนุนสำหรับชดเชยรายได้ที่ลดลงจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภายใต้ 20. เงินอุดหนุนสำหรับการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 21. เงินอุดหนุนสำหรับงานสูบน้ำของสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า 22. เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนป้องกันแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน 11
เงินอุดหนุนทั่วไปกำหนดวัตถุประสงค์ ร่าง ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 เงินอุดหนุนทั่วไปที่ไม่ต้องนำมาตั้ง งปม. 2561 เงินอุดหนุนสำหรับสิทธิประโยชน์ข้าราชการและลูกจ้างถ่ายโอน เงินอุดหนุนสำหรับเงินเดือนและค่าจ้างสำหรับข้าราชการและลูกจ้าง ถ่ายโอน เงินอุดหนุนสำหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (การศึกษาบุตร) เงินอุดหนุนสำหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (ค่าเช่าบ้าน) เงินอุดหนุนสำหรับการจัดการศึกษาภาคบังคับ (ค่าบำเหน็จ บำนาญ) 12
แนวทางการจัดทำงบประมาณปี 2561 ร่าง ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 จัดทำงบประมาณรายจ่ายที่จ่ายจากเงินรายได้และเงินอุดหนุนทั่วไป ตามอำนาจหน้าที่และภารกิจถ่ายโอน นโยบายรัฐบาล คสช. มท. ใช้แผนฯเป็นแนวทาง และเน้นการบูรณาการให้มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด (Area Based) แผนจังหวัดและแผนชุมชน เงินสำรองจ่ายให้เพียงพอต่อการเผชิญเหตุสาธารณภัยตลอดปี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
แนวทางการจัดทำงบประมาณปี 2561 การตั้ง แนวทางการจัดทำงบประมาณปี 2561 ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือนร้อนและพัฒนาคุณภาพชีวิต (สังคมสงเคราะห์,พิษสุนัขบ้า,สาธารณภัย,ไฟป่า,แผนฯ,แพทย์ฉุกเฉิน,ทรัพยากรฯสิ่งแวดล้อม) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ (กีฬา,พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์,ปกป้องสถาบันสำคัญของชาติ) เพื่อการจัดกิจกรรมโครงการเฉลิมพระเกียรติ และสนับสนุนโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (โครงการฯเฉลิมพระเกียรติ,เศรษฐกิจพอเพียง,อนุรักษ์ทรัพยกรธรรมชาติ) ตามนโยบายของรัฐบาล คสช. และกระทรวงมหาดไทย (ยาเสพติด,ผังเมือง,แนวเขตการปกครอง,ป้องกันลดอุบัติเหตุทางถนน,พัฒนาสตรีและครอบครัว,คุณภาพชีวิต,ขยะ,ส่งเสริมอาชีพ,จัดระเบียบฯ ความสะอาด) ตามแผนงาน/โครงการของ อปท. (แนวนโยบายฯ,แนวทางการจำแนกฯ,การเลือกตั้ง อปท.,สาธารณูปโภคค้างจ่าย,ภารกิจถ่ายโอน) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
แนวทางการจัดทำงบประมาณปี 2561 การตั้ง แนวทางการจัดทำงบประมาณปี 2561 ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2989 ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารงานการคลัง (e-LAAS,แผนที่ภาษี,ฝึกอบรม) เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรท้องถิ่น (ตั้ง 12 เดือนตามกรอบฯ 3 ปี,โบนัสตั้งในค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติราชการอันเป็นประโยชน์แก่ อปท.,เงินเดือนครู/ค่าจ้าง ศพด. , ค่าตอบแทนภาคใต้ ถ่ายโอน เงินอุดหนุนเงินเดือนฯ ไม่นับรวม) ภาระผูกพัน (กบท.,ประกันสังคม,ชำระหนี้เงินกู้) ผวจ. และ นอ. กำกับดูแล จัดส่งข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ ไม่เกิน 15 วันหลังประกาศใช้ สิ้นปี งปม. ประกาศรายงานการเงิน ภายใน 30 วัน ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ประมาณการรายรับ หมวดภาษีอากร หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับและใบอนุญาต หมวดรายได้จากทรัพย์สิน หมวดรายได้จากสาธารณูปโภค และกิจการ พาณิชย์ หมวดเงินอุดหนุน หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด *** ประมาณการให้ครบทุกหมวด เงินอุดหนุนให้ประมาณการใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา *** รบ.งปม. ข้อ 17 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
งบประมาณรายจ่ายทั่วไป งบประมาณรายจ่ายประจำปี อาจจำแนกเป็น งบประมาณรายจ่ายทั่วไป (รายจ่ายงบกลาง และรายจ่ายตามแผนงาน : ประจำ , เพื่อการลงทุน) รบ.งปม. ข้อ13 งบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ (ตั้งช่วยเหลือระหว่างกันได้) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี รายจ่ายงบกลาง ประกอบด้วย - เงินสำรองจ่าย - เงินช่วยเหลืองบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ - เบี้ยยังชีพ - รายจ่ายตามข้อผูกพัน - ชำระหนี้เงินต้น - ดอกเบี้ย - สมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) - สมทบกองทุนประกันสังคม - สมทบกองทุนสวัสดิการชุมชน - สมทบกองทุนหลักประกันสุขภาพ (สปสช.) - เงินบำเหน็จบำนาญ ฯลฯ รบ.งปม.ข้อ 13 . ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
รายจ่ายตามแผนงาน ประกอบด้วย รายจ่ายตามแผนงาน ประกอบด้วย รายจ่ายประจำ งบบุคลากร - หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ - หมวดค่าจ้างชั่วคราว งบดำเนินงาน - หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ - หมวดค่าสาธารณูปโภค งบเงินอุดหนุน - หมวดเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น - หมวดรายจ่ายอื่น รายจ่ายเพื่อการลงทุน งบลงทุน - หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รบ.งปม.ข้อ 14 . ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 1. งบบุคลากร หมวดเงินเดือน (ฝ่ายการเมือง) ตั้งจ่าย 12 เดือน โดยถือรายรับจริงไม่รวมเงินเงินกู้ เงินอุดหนุนของ ปีที่ผ่านมาเป็นเกณฑ์ตั้งจ่าย หมวดเงินเดือน (ฝ่ายประจำ) ตั้งจ่าย 12 เดือน โดยถือรายรับจริงไม่รวมเงินเงินกู้ เงินอุดหนุนของ ปีที่ผ่านมาเป็นเกณฑ์ตั้งจ่าย ไม่เกิน 40% และให้จ่ายจากเงินรายได้เท่านั้น ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2. งบดำเนินงาน หมวด ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.1 หมวดค่าตอบแทน ผู้ปฏิบัติราชการอันเป็นประโยชน์แก่ อปท. - เงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ - ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้าง - เงินตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการเลือกตั้ง - เงินรางวัล - เงินทำขวัญฝ่าอันตรายเป็นครั้งคราว - ค่าเบี้ยประชุม - ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ - ค่าเช่าบ้าน - เงินช่วยเหลือการศึกษาบุตร - เงินช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาล ฯลฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
2.2 ค่าใช้สอย รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการ ที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่นๆ ค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซมทรัพย์สิน ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.2.1 ค่าใช้สอย ประเภท รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ - ค่าถ่ายเอกสาร - ค่าเย็บหนังสือหรือเข้าปกหนังสือ - ค่าซักฟอก - ค่ากำจัดสิ่งปฏิกูล - ค่าเช่าทรัพย์สิน (ยกเว้น ค่าเช่าบ้าน) - ค่าเบี้ยประกัน - ค่าจ้างเหมาบริการ - ค่าธรรมเนียมต่างๆ - ค่าระวางบรรทุก - ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีตามคำพิพากษา - ค่าติดตั้งไฟฟ้า - ค่าติดตั้งประปา - ค่าติดตั้งโทรศัพท์ - ค่าติดตั้งเครื่องรับสัญญาณต่างๆ - ค่าโฆษณาและเผยแพร่ (รายจ่ายเกี่ยวกับการจ้างเหมาโฆษณา และเผยแพร่ข่าว ทางวิทยุ กระจายเสียง โทรทัศน์ โรงมหรสพ หรือสิ่งพิมพ์ต่างๆ) ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 3523 ลว. 20 มิ.ย.2559 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายฯ ค่าใช้สอย วัสดุ สาธารณูปโภค ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.2.1 ค่าใช้สอย (ต่อ) ประเภท รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ต่อ) 1. ค่าเช่าอาคารและที่ดิน - เช่าอาคารเพื่อใช้ปฏิบัติงาน เก็บเอกสาร/พัสดุ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน ตร.ม.ละ 500 บาท/เดือน กรณีเช่าเกินที่กำหนด ให้เบิกในวงเงินไม่เกิน 50,000 บาท/เดือน - เช่าที่ดินเพื่อใช้ในราชการ เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 50,000บาท/เดือน 2. ค่าจ้างเหมาบริการทำความสะอาดอาคารสถานที่ราชการ - ไม่เกิน 10 บาท/ตร.ม./เดือน หรือ ไม่เกิน 11,500 บาท/คน/เดือน 3. ค่าจ้างเหมาบริการรักษาความปลอดภัย - ไม่เกิน 5.90 บาท/ตร.ม./เดือน หรือ ไม่เกิน 19,000 บาท/คน/เดือน *** 12 ชม./วัน ไม่มีวันหยุด และรวมค่าบริหารจัดการ กำไร ดอกเบี้ย ภาษี อุปกรณ์เครื่องมือ *** ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 3523 ลว. 20 มิ.ย.2559 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายฯ ค่าใช้สอย วัสดุ สาธารณูปโภค ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.2.1 ค่าใช้สอย (ต่อ) ประเภท รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ต่อ) 4. ค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร 5,000 แผ่น/เดือน 2.400 บาท เกินแผ่นละ 0.35 บาท 10,000 แผ่น/เดือน 3,800 บาท เกินแผ่นละ 0.32 บาท 15,000 แผ่น/เดือน 4.800 บาท เกินแผ่นละ 0.30 บาท 20,000 แผ่น/เดือน 5,400 บาท เกินแผ่นละ 0.25 บาท - หากถ่ายเอกสารต่ำกว่า 5,000 แผ่น/เดือน ให้ใช้เครื่องถ่ายเอกสารร่วมกัน - กรณีเช่ามากกว่า 1 เครื่อง ควรคำนึงถึงส่วนลดที่ได้รับ อัตราเฉลี่ยต่อแผ่นควรต่ำกว่าอัตราข้างต้น *** ราคารวมวัสดุสิ้นเปลือง ค่าอะไหล่ ค่าบริการบำรุงรักษา และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ไม่รวมค่ากระดาษถ่าย เอกสาร *** ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 3523 ลว. 20 มิ.ย.2559 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายฯ ค่าใช้สอย วัสดุ สาธารณูปโภค ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.2.1 ค่าใช้สอย (ต่อ) ประเภท รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ต่อ) 4. ค่าเช่าเครื่องถ่ายเอกสาร 5,000 แผ่น/เดือน 2.400 บาท เกินแผ่นละ 0.35 บาท 10,000 แผ่น/เดือน 3,800 บาท เกินแผ่นละ 0.32 บาท 15,000 แผ่น/เดือน 4.800 บาท เกินแผ่นละ 0.30 บาท 20,000 แผ่น/เดือน 5,400 บาท เกินแผ่นละ 0.25 บาท - หากถ่ายเอกสารต่ำกว่า 5,000 แผ่น/เดือน ให้ใช้เครื่องถ่ายเอกสารร่วมกัน - กรณีเช่ามากกว่า 1 เครื่อง ควรคำนึงถึงส่วนลดที่ได้รับ อัตราเฉลี่ยต่อแผ่นควรต่ำกว่าอัตราข้างต้น *** ราคารวมวัสดุสิ้นเปลือง ค่าอะไหล่ ค่าบริการบำรุงรักษา และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ไม่รวมค่ากระดาษถ่าย เอกสาร *** ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 3523 ลว. 20 มิ.ย.2559 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายฯ ค่าใช้สอย วัสดุ สาธารณูปโภค ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินค่าจ้างเหมาบริการ
หลักเกณฑ์การจ้างเอกชนดำเนินงาน 1. กรณีมีความจำเป็นต้องจ้างหรือเพื่อเสริมการปฏิบัติงานตามหน้าที่ อปท. และ ไม่มีตำแหน่ง จนท./ลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ซึ่งเป็นงาน/ โครงการใหม่ หรือ มีตำแหน่งฯ แต่ไม่สามารถปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จได้ตามเวลา กำหนด เนื่องจากปริมาณงานมาก หรือ มีตำแหน่งฯ ต่อมาว่างลงหรือถูกยุบเลิก ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 7120 ลว. 9 ธันวาคม 2559
หลักเกณฑ์การจ้างเอกชนดำเนินงาน 2. ลักษณะงานที่จ้างควรเป็นงานรายชิ้น เช่น งานรักษาความปลอดภัย งานทำความสะอาด งานดูแลต้นไม้ สนามหญ้าและสวนหย่อม งาน พาหนะ งานศึกษาวิจัย งานติดตามประเมินผล งานจัดทำคำแปล งาน ผลิตและพิมพ์เอกสาร งานผลิตสื่อการประชาสัมพันธ์ งานสถิติข้อมูล สารสนเทศ งานพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ งานบันทึกข้อมูล งาน สำรวจออกแบบและควบคุม การก่อสร้าง งานซ่อมบำรุงยานพาหนะ งานพัฒนาบุคลากร งานตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน และงาน เทคนิคต่างๆ ที่เอกชนมีความชำนาญมากกว่า ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 7120 ลว. 9 ธันวาคม 2559 30
หลักเกณฑ์การจ้างเอกชนดำเนินงาน 3. ห้ามดำเนินการจ้างเกี่ยวกับความลับ หรือ งานซึ่งหากมีการเผยแพร่ ข้อมูลจะเกิดความเสียหายต่อทางราชการ หรือ งานที่มีลักษณะบังคับใช้ กฎหมายที่มีผลกระทบกับประชาชน 4. ถือปฏิบัติตามกฎหมาย/ระเบียบพัสดุฯ คัดเลือกจากผู้มีความรู้และ ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับงาน มีลักษณะที่มุ่งผลสำเร็จของงานภายใน กำหนดเวลา ผู้ว่าจ้างไม่มีอำนาจควบคุมบังคับบัญชา/สั่งการ แต่มี อำนาจตรวจตรางานและสั่งให้ปรับปรุงไขเมื่องานผิดพลาดบกพร่อง หาก ไม่มาปฏิบัติงานอาจหาผู้อื่นมาทำงานแทน/บอกกล่าวล่วงหน้า หากเกิด ความเสียหายเนื่องจากไม่มาทำงาน อาจกำหนดค่าปรับ ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 7120 ลว. 9 ธันวาคม 2559 31
หลักเกณฑ์การจ้างเอกชนดำเนินงาน 5. การจ้างบุคคลธรรมดา ให้คำนึกถึงระยะเวลาในการปฏิบัติงานตาม สัญญา/ข้อตกลง ต้องมีส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับเนื้องาน ตามปกติ จะทำสัญญาปีต่อปี หากการปฏิบัติงานไม่เต็มปีก็ให้ทำสัญญา ตามระยะเวลาปฏิบัติงานจริง หากงานมีระยะเวลาเกินปี ก็ให้ ทำสัญญาไม่เกินปี เริ่มปีใหม่ก็ต้องดำเนินการใหม่ 6. การทำสัญญากับคู่สัญญาเดิมหลังจากสัญญาจ้างสิ้นสุดจะต้อง ดำเนินการกระบวนการจัดหาใหม่ 7. กรณีเริ่มปีงบประมาณใหม่ จัดหาผู้รับจ้างแต่ไม่สามารถลงนาม ในสัญญาจ้างได้ เนื่องจาก เทศบัญญัติ/ข้อบังคับฯ ยังไม่ประกาศใช้ ให้ทำสัญญาจ้างมีผลย้อนหลังไปตั้งแต่ 1 ตุลาคม ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 7120 ลว. 9 ธันวาคม 2559 32
หลักเกณฑ์การจ้างเอกชนดำเนินงาน 8. อัตราค่าจ้างไม่จำเป็นต้องตามวุฒิฯ ให้พิจารณาจากความรู้และประสบการณ์ที่เหมาะสมกับลักษณะงาน หรืออัตราตลาด ได้แก่ อัตราค่าจ้างปกติทั่วไปที่เหมาะสมกับการจ้างนั้น โดยคำนึงถึงอัตราค่าจ้าง ขั้นต่ำและค่าใช้จ่ายอื่น กรณีกระทรวงการคลัง/ส่วนราชการได้กำหนดมาตรฐาน/ราคากลางไว้แล้ว ให้อนุโลมตามนั้น กรณีไม่มีกำหนดไว้ พิจารณาตามราคาที่เคยจ้างหรืออัตราตลาด ก่อนเบิกจ่ายต้องตรวจรับ 9. ผู้รับจ้างมีฐานะเป็นผู้รับจ้างทำของ ไม่มีสถานภาพเป็นพนักงานจ้าง ตาม พรบ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 จึงไม่อยู่ในบังคับที่จะต้องส่งเงินสมทบฯ กองทุนประกันสังคม ผู้รับจ้างสามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนได้ตาม พรบ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม ม.40 ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 7120 ลว. 9 ธันวาคม 2559 33
2.2.2 ค่าใช้สอย ประเภท รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรอง และพิธีการ - ค่ารับรอง (รายจ่ายในการรับรองหรือเลี้ยงรับรองของ อปท.) - พิธีเปิดอาคารต่างๆ - ค่าใช้จ่ายในพิธีทางศาสนา/รัฐพิธี ฯลฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ค่ารับรอง ค่ารับรอง หมายถึง ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม ค่าของขวัญ ค่าพิมพ์เอกสาร ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องในการเลี้ยงรับรองรวมทั้งค่าบริการด้วย และค่าใช้จ่ายอื่น ซึ่งจำเป็นต้องจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองเพื่อเป็นการรับรองในการต้อนรับบุคคลหรือคณะบุคคล ที่ไปนิเทศงาน ตรวจงาน หรือเยี่ยมชมหรือทัศนศึกษาดูงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งร่วมต้อนรับบุคคลหรือคณะบุคคล (1% ของรายได้จริงปีที่ล่วงมา) (ใช้หลักฐานการจ่ายเงินตามรายการที่เกิดขึ้นจริง โดยเจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการเป็นผู้รับรองการจ่าย) ค่าเลี้ยงรับรอง หมายถึง ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม เครื่องใช้ในการเลี้ยงรับรองและค่าบริการอื่นๆ ซึ่งจำเป็นต้องจ่ายที่เกี่ยวกับการเลี้ยงรับรองในการประชุมสภาฯ หรือคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการ (รับแต่งตั้งตาม กม. รบ. นส.มท. ประชุมระหว่าง อปท. /รัฐวิสาหกิจ เอกชน) (แนบบัญชีลายมือชื่อและรายงานการประชุม เป็นหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย โดยเจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการเป็นผู้รับรองการจ่าย) มท 0808.4/ว2381 ลว.28 กค 48 ดร. รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
กรณีศึกษาข้อทักท้วงของ สตง. เบิกจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการสำหรับ อปพร. (ที่ มท 0808.4/ว 1562 ลว. 15 พ.ค.2550) เบิกจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาโครงการเทศบาลพบประชาชน , ประชุมประชาคมการจัดทำแผน , อยู่เวรรักษาสถานที่ราชการ ฯลฯ (ที่ มท 0808.4/ว 1562 ลว. 15 พ.ค.2550) เบิกจ่ายค่าอาหารเช้า และวัสดุอุปกรณ์ โครงการพบปะสนทนา กาแฟยามเช้าของสมาชิกสภาฯ พนักงาน ผู้นำชุมชน ทุกวัน (ที่ มท 0808.4/ว 2381 ลว. 24 ก.ค. 2548 เบิกจ่ายค่าอาหารสำหรับการประชุมหัวหน้าส่วนราชการประจำเดือนระดับจังหวัด (รบ.เบิกจ่ายฯ ข้อ 67) เบิกจ่ายค่ารับรองเป็นค่าจ้างเหมาทำอาหารสำหรับการประชุมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิกสภาฯ ในการประชุมระดับอำเภอ (ที่ มท 0808.4/ว 2381 ลว. 24 ก.ค. 2548 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน เพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ 2.2.3 ค่าใช้สอย ประเภท ค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซมทรัพย์สิน ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน เพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ - กรณีเป็นการจ้างเหมาทั้งค่าสิ่งของและค่าแรงงาน ให้จ่ายจากค่าใช้สอย - กรณีที่ อปท. เป็นผู้ดำเนินการซ่อมแซมเองให้ปฏิบัติ ดังนี้ 1. ค่าจ้างเหมาแรงงานของบุคคลภายนอกให้จ่ายจากค่าใช้สอย 2. ค่าสิ่งของที่ซื้อมาใช้ในการซ่อมแซมให้จ่ายจากค่าวัสดุ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.2.3 ค่าใช้สอย (ต่อ) ประเภท ค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซมทรัพย์สิน (ต่อ) 1. ค่าซ่อมปกติ การซ่อมบำรุงยานพาหนะที่วัสดุอะไหล่มีอายุการใช้งานปกติระหว่าง 4-6 ปี หรือระยะทางใช้งาน 60,000-120,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน ยานพาหนะที่เข้าข่ายการซ่อมบำรุงปกติ คือ - จัดซื้อหามาใหม่และอายุการใช้งานระหว่าง 4-6 ปี หรือระยะทางใช้งาน 60,000-120,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน - ยานพาหนะเดิมที่มีการซ่อมกลางเรียบร้อยแล้ว และมีอายุใช้งานหลังซ่อมแล้ว ไม่เกิน 6 ปี หรือใช้ งานไม่เกิน 120,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน 2. ค่าซ่อมกลาง การซ่อมบำรุงยานพาหนะที่มีอายุการใช้งานครบ 6 ปี หรือระยะทางใช้งานครบ 120,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน ยานพาหนะที่เข้าข่ายซ่อมบำรุงระดับนี้ คือ - ยานพาหนะใหม่ที่มีอายุการใช้งานครบ 6 ปี /ระยะทางใช้งาน 20,000 กม.แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน - ยานพาหนะเดิมที่หลังจากการซ่อมกลางแล้ว มีอายุใช้งานหลังซ่อมครบ 6 ปี หรือระยะทางใช้งาน ครบ 120,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 3523 ลว. 20 มิ.ย.59 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายฯ ค่าใช้สอย วัสดุ และสาธารณูปโภค ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.2.3 ค่าใช้สอย (ต่อ) ประเภท ค่าบำรุงรักษาและซ่อมแซมทรัพย์สิน (ต่อ) การตั้งงบประมาณรายจ่ายค่าซ่อมบำรุงรักษา และค่าวัสดุยานพาหนะ จะต้องมี ทะเบียนอายุยานพาหนะ รายการขอซ่อมบำรุงตามลักษณะ ประมวลในแต่ละปีว่าจะมีรายการขอซ่อมบำรุงประเภทใดบ้าง และจำนวน ยานพาหนะให้สอดคล้องกับรายการซ่อมบำรุง การซ่อมบำรุงจะกำหนดตามอายุการใช้งานของวัสดุอะไหล่ หรือระยะทางการใช้งาน ของวัสดุอะไหล่ไม่เกี่ยวข้องกับอายุของยานพาหนะ เมื่อมีการซ่อมบำรุงหรือเปลี่ยน วัสดุอะไหล่ยานพาหนะตามข้อกำหนดแล้ว อายุของวัสดุอะไหล่ที่ได้รับการซ่อมบำรุง เสร็จแล้ว จะต้องถือว่าเป็นของใหม่ ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 3523 ลว. 20 มิ.ย.59 เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราค่าใช้จ่ายฯ ค่าใช้สอย วัสดุและสาธารณูปโภค ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ค่าซ่อมปกติ วัสดุและค่าแรงงาน ค่าซ่อมกลาง ค่าวัสดุและค่าแรงงาน ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษายานพาหนะ หน่วย : บาท/คัน/ปี ประเภทยานพาหนะ ค่าซ่อมปกติ วัสดุและค่าแรงงาน ค่าซ่อมกลาง ค่าวัสดุและค่าแรงงาน 1.รถยนต์นั่งธรรมดา เครื่องยนต์เบนซิน เครื่องยนต์ดีเซล 11,900 11,100 69,900 67,200 2.รถโดยสารขนาด 10-12 ที่นั่ง 11,700 80,700 81,300 3.รถยนต์บรรทุกขนาดไม่เกิน 1 ตัน 15,200 12,800 82,200 72,700 4.รถยนต์บรรทุกขนาด ไม่เกิน 1 ตัน ขับเคลื่อน 4 ล้อ 16,700 15,300 97,800 96,000 5.รถจักรยานยนต์ รถยนต์วิ่งเฉลี่ย 20,000 กม./คัน/ปี , รถจักรยายนต์ 6,000 กม/คัน/ปี , ค่าซ่อมไม่มี 3 ปีแรกอยู่ในระหว่างรับประกัน,จักรยานยนต์ไม่มีการรับประกันตั้งแต่ซื้อ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.2.4 ค่าใช้สอย ประเภท รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่นๆ - ค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้ง - ค่าใช้จ่ายในการจัดงานจัดนิทรรศการ ประกวด การแข่งขัน - ค่าใช้จ่ายในการแข่งขันกีฬานักเรียนเยาวชนและประชาชน - ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม และสัมมนา - ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร และนอกราชอาณาจักร เช่น ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าพาหนะ ค่าเช่าที่พัก ค่าบริการจอดรถ ณ ท่าอากาศยาน ค่าผ่านทางด่วนพิเศษ ค่าธรรมเนียมในการใช้สนามบิน ค่าลงทะเบียนต่างๆ - ค่าเบี้ยเลี้ยงพยาน - ค่าของรางวัล หรือเงินรางวัล - ค่าพวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้าดอกไม้ และพวงมาลา ค่าชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าสินไหมทดแทน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการบริหารสถานศึกษา (ด่วนที่สุด ที่ มท 0893.3/ว 1658 ลว. 22 มี.ค.2559) ฯลฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 41
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและ การส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 ประกาศ ณ วันที่ 19 ธันวาคม 2559 ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา 27 ธันวาคม 2559 บังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 คำนิยาม เจ้าหน้าที่ของรัฐ หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือพนักงานจ้างขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดงาน หมายความว่า การจัดงานขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ตามอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมาย โดยกำหนดไว้ในแผนงาน โครงการ ทั้งในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเองหรือจัดร่วมกับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น การส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา หมายความว่า องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่จัดส่งนักกีฬาของตนเข้าแข่งขันกีฬาที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของตนจัดเอง หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นเป็นผู้จัด หรือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดร่วมกัน หรือ จัดร่วมกับหน่วยงานอื่น และให้รวมถึงการแข่งขันกีฬาตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 คำนิยาม การจัดการแข่งขันกีฬา หมายความว่า การจัดการแข่งขันกีฬาขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นตามอำนาจหน้าที่ ตามกฎหมาย โดยกำหนดไว้ในแผนงาน โครงการ ทั้งในกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเองหรือ จัดร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น และ ให้รวมถึงการแข่งขันกีฬาตามนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ค่าใช้จ่ายพิธีทางศาสนา หมายความว่า ค่าใช้จ่ายในการประกอบพิธีทางศาสนาที่จำเป็นที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะของงานที่องค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่นจัด ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 ตั้งงบประมาณและเบิกจ่ายตามงบประมาณที่ตั้งไว้ได้ไม่เกินอัตราส่วนของรายได้จริงในปีงบประมาณที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินอุดหนุน) องค์การบริหารส่วนจังหวัด ไม่เกินร้อยละสิบ เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ไม่เกินร้อยละห้า กรณีมีความจำเป็นต้องใช้เกินอัตราที่กำหนดให้ขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นรายกรณีก่อนดำเนินการ ให้ระบุเหตุผลความจำเป็นประกอบการพิจารณา ได้ไม่เกินหนึ่งเท่า ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 1. ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน 1. พิธีทางศาสนา ไม่เกิน 30,000 บาท ตั้งแต่ 2 ศาสนาขึ้นไป ไม่เกิน 50,000 บาท 2. ค่ารับรอง อาหารว่างและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 50 บาท/คน/วัน อาหารและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 100 บาท/คน/วัน 3. ค่าสถานที่และอื่นๆ ที่จำเป็นและเกี่ยวข้อง เท่าที่จ่ายจริง ค่าสถานที่จัดงาน เช่น ค่าเช่า/บำรุง ค่าเช่า/ค่าบริการวัสดุอุปกรณ์ ค่าติดตั้งและรื้อถอน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย (ต้องไม่ซ้ำซ้อน) ค่าจ้างเหมาทำความสะอาด ค่าใช้จ่ายในการตกแต่ง จัดสถานที่ ค่าสาธารณูปโภคต่างๆ รวมถึงค่าติดตั้งค่าเช่าอุปกรณ์ และอื่นๆ ค่าเช่าค่าบริการรถสุขา
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 1. ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน (ต่อ) 4. ค่าใช้จ่ายในการประกวดหรือแข่งขัน ค่าตอบแทนกรรมการตัดสิน (ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ) เจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่เกิน 400 บาท/คน/วัน ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่เกิน 800 บาท/คน/วัน ค่าโล่ หรือ ถ้วยรางวัล ไม่เกิน 3,000 บาท/ชิ้น เงิน หรือของรางวัล ไม่เกินร้อยละ 30 ของประมาณการค่าใช้จ่ายตามโครงการ 5. ค่าจ้างเหมาจัดนิทรรศการ จำเป็นและประหยัด 6. ค่ามหรสพ การแสดง และค่าใช้จ่ายในการโฆษณาประชาสัมพันธ์งาน ไม่เกินร้อยละ 20 ของประมาณการค่าใช้จ่ายตามโครงการ 7. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่จำเป็นและเกี่ยวข้องในการจัดงาน ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 2. ค่าใช้จ่ายในการจัดการแข่งขันกีฬา 1. กรณีการแข่งขันกีฬาระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค่าเช่าหรือค่าเตรียมสนามแข่งขัน ค่าอุปกรณ์กีฬา ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ประจำสนาม ไม่เกิน 200 บาท/คน/วัน (เฉพาะวันแข่งขัน) ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่จัดการแข่งขันกีฬา ไม่เกิน 400 บาท/คน/วัน ค่าตอบแทนกรรมการตัดสิน (ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ) เจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่เกิน 400 บาท/คน/วัน ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่เกิน 800 บาท/คน/วัน (หากจำเป็นเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลฯ ให้ทำความตกลงกับ ผวจ.ก่อนดำเนินการและเบิกค่าตอบแทนไม่เกินอัตราที่การกีฬาแห่งประเทศไทยกำหนด) ค่าจัดทำป้ายชื่อ/ทีมผู้เข้าร่วมแข่งขันและหรือค่าจัดทำเกียรติบัตร/ประกาศเกียรติคุณ ค่าโล่ หรือ ถ้วยรางวัล ไม่เกิน 3,000 บาท/ชิ้น เงิน หรือของรางวัล ไม่เกินร้อยละ 30 ของประมาณการค่าใช้จ่ายตามโครงการ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เช่น พิธีเปิด-ปิด ริ้วขบวน กีฬาสาธิต เวชภัณฑ์และอุปกรณ์เวชภัณฑ์ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 2. ค่าใช้จ่ายในการจัดการแข่งขันกีฬา (ต่อ) 2. กรณีการจัดการแข่งขันกีฬาสำหรับนักเรียน เยาชน ประชาชน ค่าชุดกีฬา ไม่เกิน 200 บาท/ชุด ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 50 บาท/คน/วัน ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 100 บาท/คน/วัน ค่าใช้จ่ายอื่นให้เบิกได้ตาม ข้อ 1 3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับสถานที่ ค่าสถานที่จัดงาน เช่น ค่าเช่า/บำรุง ค่าเช่า/ค่าบริการวัสดุอุปกรณ์ ค่าติดตั้งและรื้อถอน ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย (ต้องไม่ซ้ำซ้อน) ค่าจ้างเหมาทำความสะอาด ค่าใช้จ่ายในการตกแต่ง จัดสถานที่ ค่าสาธารณูปโภคต่างๆ รวมถึงค่าติดตั้งค่าเช่าอุปกรณ์ และอื่นๆ ค่าเช่าค่าบริการรถสุขา ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขันกีฬาและการส่งนักกีฬา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 3. การส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันกีฬา 1. ค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ควบคุม/ผู้ฝึกสอน เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ และนักกีฬา เบิกจ่ายตามระเบียบค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น 2. ค่าตอบแทนสำหรับบุคคลที่มิใช่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่แต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ในการควบคุมหรือผู้ฝึกสอนหรือเจ้าหน้าที่อื่นที่จำเป็น เบิกจ่ายค่าตอบแทน ไม่เกิน 800 บาท/คน/วัน 3. ค่าใช้จ่ายในการฝึกซ้อม ฝึกซ้อมไม่น้อยกว่า 4 ชม./วัน ไม่เกิน 7 วัน ค่าอาหารและเครื่องดื่มสำหรับนักกีฬา ไม่เกิน 100 บาท/คน/วัน ค่าตอบแทนผู้ควบคุม/ผู้ฝึกสอน (4 คน) ไม่กิน 400 บาท/คน/วัน 4. กรณีจำเป็นต้องเก็บตัว เก็บตัวเพื่อฝึกซ้อมไม่เกิน 30/วัน 5. ค่าอุปกรณ์การกีฬา ค่าชุดวอร์ม ค่าชุดกีฬา รองเท้า ถุงเท้า 6. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ใช้ในแข่งขันกีฬา ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
“ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน” กรณีข้อทักท้วง “ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
กรณีการจัดทำโครงการ (ว 3722) โครงการส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ เนื่องในเทศกาลออกพรรษา ***เบิกจ่ายเป็นค่าจ้างเหมาอาหารสำหรับผู้ร่วมโครงการ จำนวน 10,000 บาท*** อปท.ชี้แจงว่า การเลี้ยงอาหารสำหรับผู้ร่วมโครงการ มีความจำเป็นเนื่องจากอาหารเช้าสำหรับผู้ร่วมขบวนแห่ง ซึ่งต้องมาเตรียมตัว แต่งตัว ซักซ้อมรูปขบวน ตั้งแต่ 06.00 น. เพื่อตั้งขบวน 10.00 น. และต้องรับผิดชอบผู้ร่วมขบวนจนกว่ากิจกรรมจะเสร็จสิ้นในเวลา 12.00 น. จึงมีความจำเป็นต้องจัดอาหารสำหรับผู้ร่วมโครงการ ความเห็นของ สตง. ตามกำหนดการในโครงการ กำหนดไว้ เริ่มเวลา 08.00 น. ผู้ร่วมงานพร้อมบริเวณงาน จนถึงเวลา 12.00 น. เชิญผู้ร่วมพิธีรับประทานอาหารร่วมกัน มิใช่จัดอาหารเช้าตามที่ อปท. ชี้แจงแต่อย่างใด จึงเป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือสั่งการ ที่ มท 0808.4/ว 3722 ลว. 10 ส.ค.2555 ข้อ 2 และ ข้อ 3 จึงทำให้มีการเบิกจ่ายไม่ถูกต้องเป็นเงิน 10,000 บาท ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อเสนอแนะ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเรียกเงินที่เบิกจ่ายไม่ถูกต้องคืนคลังฯ จำนวน ........ บาท หากไม่สามารถดำเนินการได้ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อสอบ ข้อเท็จจริงกรณีดังกล่าวแล้วดำเนินการหาผู้รับผิดชอบตามหนังสือ กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.6/ว 2092 ลว. 1 กรกฎาคม 2540 เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของหน่วยการ บริหารราชการส่วนท้องถิ่น และดำเนินการตามควรแก่กรณีกับเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องถือปฏิบัติตามนัยหนังสือดังกล่าวโดยเคร่งครัด พร้อมขอให้ทบทวนการเบิกจ่ายกรณีดังกล่าวในโอกาสต่อไป ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 53
กรณีการจัดทำโครงการ (ว 3722) โครงการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ จัดงานในวันศุกร์.... ***กำหนดกลุ่มเป้าหมายฯ ได้แก่ เด็กระดับปฐมวัยของ ศพด. และเด็กนักเรียนของ สพฐ.ใน เขตพื้นที่ จำนวน 800 คน งบประมาณตั้งไว้ 300,000 บาท แต่ไม่ได้ระบุรายการ ค่าใช้จ่ายไว้ ความเห็นของ สตง. การจัดงานมุ่งเน้นการแจกจ่าย จัดเป็นการเบิกจ่ายเกินความจำเป็น ไม่ประหยัด ไม่คำนึงถึงฐานะการคลัง เป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ไม่ถูกต้องในกับเด็ก และ ไม่สอดคล้องกับการบรรลุวัตถุประสงค์หลักของโครงการ ไม่เป็นไปตามหนังสือสั่งการ ที่ มท 0808.4/ว 3722 ลว. 10 ส.ค.2555 ข้อ 2 และ ข้อ 3 จึงทำให้มีการเบิกจ่าย ไม่ถูกต้องตาม ดังนี้ 1. เบิกจ่ายเป็นค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 800 ชุดๆละ 25 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท 2. ค่าของรางวัล จำนวน 320 รายการ เฉลี่ยชิ้นละ 169 บาท เป็นเงิน 54,130 บาท แต่มีรายชื่อผู้รับของรางวัลที่ร่วมกิจกรรมเพียง 287 คน (33x169) เบิกเงิน 5,577 บาท ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อเสนอแนะ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเรียกเงินที่เบิกจ่ายไม่ถูกต้องคืนคลังฯ จำนวน ........ บาท หากไม่สามารถดำเนินการได้ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อสอบ ข้อเท็จจริงกรณีดังกล่าวแล้วดำเนินการหาผู้รับผิดชอบตามหนังสือ กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.6/ว 2092 ลว. 1 กรกฎาคม 2540 เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของหน่วยการ บริหารราชการส่วนท้องถิ่น และดำเนินการตามควรแก่กรณีกับเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องถือปฏิบัติตามนัยหนังสือดังกล่าวโดยเคร่งครัด และ พิจารณาทบทวนในการจัดงานวันเด็กเฉพาะวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคม ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2507 เท่านั้น หากปล่อยปละละเลยและมีเจตนา หลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามฯ จนเป็นเหตุทำให้เกิดความเสียหายต่อทางราชการ อาจต้อง รับโทษตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยวิจัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.2544 พร้อมขอให้ทบทวนการเบิกจ่ายกรณีดังกล่าวในโอกาสต่อไป ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 55
กรณีการจัดทำโครงการ โครงการจัดงานประเพณีสงกรานต์และวันผู้สูงอายุแห่งชาติ ***วัตถุประสงค์เพื่อสืบสานอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีและทำให้เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน*** ความเห็นของ สตง. มีการเบิกจ่ายบางรายการไม่เป็นไปตามหนังสือสั่งการ ที่ มท 0808.4/ว 3722 ลว. 10 ส.ค.2555 ข้อ 2 และ ข้อ 3 จึงทำให้มีการเบิกจ่ายไม่ถูกต้องตาม รบ.มท.ว่าด้วย การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินของ อปท. พ.ศ.2547 ข้อ 67 ดังนี้ 1.ค่าอาหารผู้สูงอายุและแขกผู้มีเกียรติ พนักงาน และชุมชนที่มาร่วมงาน ประเพณีสงกรานต์ 1,000 คน (ภาคเย็น)100 โต๊ะๆละ 1,000 บาท 2.ค่าของขวัญของชำร่วยให้ผู้สูงอายุ 150 ชุดๆละ 250 บาท 3. ค่าสนับสนุนการจัดขบวนแห่ของชุมชน 9 ชุมชนๆละ 5,000 บาท ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
กรณีการจัดทำโครงการ (ว 3722) โครงการเทศบาลพบประชาชน ***วัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาชุมชน*** ความเห็นของ สตง. มีการเบิกจ่ายบางรายการไม่เป็นไปตามหนังสือสั่งการ ที่ มท 0808.4/ว 3722 ลว. 10 ส.ค.2555 ข้อ 2 และ ข้อ 3 จึงทำให้มีการเบิกจ่ายไม่ถูกต้องตาม รบ.มท.ว่าด้วย การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินของ อปท. พ.ศ.2547 ข้อ 67 ดังนี้ 1. ค่าบริการ (ค่านวด) เป็นค่าตอบแทนบุคลากรการแพทย์แผนไทย จำนวน 15 คน ๆ ละ 2,890 บาท เป็นเงิน 43,350 บาท 2. ค่าจ้างเหมาดนตรีลูกทุ่งพรสวรรค์ เป็นเงิน 40,000 บาท 3. ค่าจ้างเหมาทำอาหารพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2,000 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 20,000 บาท 4. ค่าจ้างเหมาเครื่องปั่นไฟ เครื่องเสียง และไฟประดับ เป็นเงิน 40,000 บาท รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
โครงการจัดงานอื่นๆ 1. โครงการจัดงานวันแม่แห่งชาติ เบิกจ่ายเป็น ค่าดนตรี เวที แสง สี เสียง พร้อมดนตรี เครื่องปั่นไฟ ไฟประดับ ค่าจ้างจัดดอกไม้บริเวณเวที ค่าประกอบอาหาร 2. โครงการดนตรีต้านยาเสพติด เบิกจ่ายเป็นค่าจ้างศิลปินนักร้อง ศิลปินตลก ค่าเช่าเครื่องเสียงไฟ/ไฟประดับเวทีและวงดนตรีแบคอัพ 3. โครงการเปิดตำนานกระยาสารทของดีบ้านยาง เบิกจ่ายเป็น ค่าจ้างทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์งานฯ มีรูปภาพนายกฯ พร้อมชื่อ-ตำแหน่ง ปรากฏเด่นชัดบนป้าย 4. โครงการวันเข้าพรรษา เบิกจ่ายเป็น ค่าเช่าเครื่องขยายเสียง ค่าจัดสถานที่ ค่าขบวนแห่เทียน ฯลฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 58
ข้อพิจารณา อปท.ไม่สามารถนำพิสูจน์ได้ว่าใช้หลักเกณฑ์ใดกำหนดอัตราค่าจ้างเหมาและค่าตอบแทน และรายการที่เบิกจ่ายส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายที่เน้นทางด้านการบันเทิงและเป็นการจัดกิจกรรมในช่วงเวลากลางคืน เช่น ค่าจ้างเหมาจัดหาศิลปิน นักร้อง ตลก นักเต้น เวทีพร้อมเครื่องเสียง ประกอบอาหาร ค่าตอบแทนการจัดการแสดงฯลฯ จัดเป็นการใช้จ่ายเงินที่เกินความจำเป็นในการจัดงาน ไม่ประหยัดไม่คำนึงถึงฐานะการคลัง และไม่สอดคล้องกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการโดยแท้จริง ซึ่งหากไม่มีการจ้างเหมารายการดังกล่าวก็สามารถดำเนินการตามโครงการให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้โดยไม่ต้องใช้จ่ายเงินงบประมาณของทางราชการในจำนวน ที่สูงเกินความจำเป็น จึงเป็นการไม่ถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 59
ข้อเสนอแนะ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเรียกเงินที่เบิกจ่ายไม่ถูกต้องคืนคลังฯ จำนวน ........ บาท หากไม่สามารถดำเนินการได้ ให้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อสอบ ข้อเท็จจริงกรณีดังกล่าวแล้วดำเนินการหาผู้รับผิดชอบตามหนังสือ กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.6/ว 2092 ลว. 1 กรกฎาคม 2540 เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของหน่วยการ บริหารราชการส่วนท้องถิ่น และดำเนินการตามควรแก่กรณีกับเจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องถือปฏิบัติตามนัยหนังสือดังกล่าวโดยเคร่งครัด และ ขอให้ผู้อนุมัติโครงการและอนุมัติการเบิกจ่ายเงินพิจารณาทบทวนระมัดระวังการใช้ จ่ายในลักษณะดังกล่าว โดยคำนึงถึงฐานะการคลังของหน่วยงาน และประโยชน์สูงสุด ที่ประชาชนโดยส่วนรวมพึงจะได้รับ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 60
กรณีศึกษาการแข่งขันกีฬา โครงการจัดการแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด - เบิกจ่ายค่าชุดกีฬา ไม่มีหลักฐานการจ่ายชุดกีฬา - เบิกค่าเบี้ยเลี้ยง จนท.ประจำสนาม โดยใช้หลักฐานการลงเวลาปฏิบัติงาน ในวันปกติและวันหยุดตั้งแต่เวลา 17.00-21.00น. ประกอบการเบิกจ่าย - เบิกค่าจ้างเหมาจัดหาศิลปินนักร้อง (วงไอน้ำ) - เบิกค่าจ้างเหมาจัดหาศิลปินตลก (บอลเชิญยิ้ม) - เบิกค่าจ้างเหมาดนตรี เวที นักเต้น แสง สี เสียง - เบิกเงินค่าจ้างเหมาประกอบอาหาร - เบิกเงินสนับสนุนทีม - เบิกเงินรางวัลกองเชียร์ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี กรณีข้อทักท้วง สตง. “โครงการศึกษาดูงาน” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 62
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี นิยามศัพท์ จำเป็น หมายถึง ต้องเป็นอย่างนั้น ต้องทำ ขาดไม่ได้ ประหยัด หมายถึง ยับยั้ง ระมัดระวัง ใช้จ่ายแต่พอควรแก่ฐานะ จารีตประเพณี หมายถึง ประเพณีนิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดหรือชั่ว ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง พื้นความรู้ความสามารถท้องที่ใดท้องที่หนึ่งโดยเฉพาะ วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะวิถีชีวิตของหมู่คณะ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 63
ข้อทักท้วงของ สตง.กรณีการจัดทำโครงการศึกษาดูงาน โครงการฝึกอบรมเพิ่มพูนประสิทธิภาพผู้สูงอายุ กำหนดกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงอายุ จำนวน 186 คน เบิกค่าอาหารกลางวัน จำนวน 300 คนๆ ละ 150 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คนละ 35 บาท/มื้อ วันแรก จัดอบรม ณ อปท. อปท.ชี้แจงว่า ก่อนเริ่มโครงการฯ ทำการสำรวจฯ และมีผู้ตอบรับเข้าร่วมโครงการ จำนวน 300 คน ความเห็นของ สตง. ตามบัญชีรายชื่อมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมเพียง 186 คน จึงเป็นการเบิกค่าอาหารสูงไป จำนวน 114 คน รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ข้อเสนอแนะ 1. สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเรียกเงินที่เบิกจ่ายไม่ถูกต้องคืนคลังฯ จำนวน ........ บาท หากไม่สามารถดำเนินการได้ ให้แต่งตั้ง คณะกรรมการเพื่อสอบข้อเท็จจริงกรณีดังกล่าวแล้วดำเนินการหา ผู้รับผิดชอบตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.6/ว 2092 ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2540 เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความ รับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ของหน่วยการบริหารราชการส่วน ท้องถิ่น และดำเนินการตามควรแก่กรณีกับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ 2. สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องถือปฏิบัติตามนัยหนังสือดังกล่าวโดย เคร่งครัด และขอให้ผู้อนุมัติโครงการและอนุมัติการเบิกจ่ายเงิน พิจารณาทบทวนระมัดระวังการใช้จ่ายในลักษณะดังกล่าว โดยคำนึงถึง ฐานะการคลังของหน่วยงาน และประโยชน์สูงสุดที่ประชาชนโดยส่วนรวม พึงจะได้รับ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 65
ข้อทักท้วงของ สตง.กรณีการจัดทำโครงการศึกษาดูงาน โครงการฝึกอบรมและทัศนศึกษาดูงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ***เบิกค่าเข้าชมโรงถ่ายภาพยนตร์ตำนานสมเด็จพระนเรศวร*** อปท.ชี้แจงว่า การเข้าชมฯ มีความจำเป็นเนื่องจากเห็นว่าเหมาะสมและสมควรตามเจตนารมณ์ของโครงการ ซึ่งเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ความเห็นของ สตง. การเบิกจ่ายฯ มีลักษณะฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น และไม่เป็นไปตาม รบ.มท.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ จึงทำให้มีการเบิกจ่ายไม่ถูกต้องตาม รบ.มท.ว่าด้วย การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินของ อปท. พ.ศ.2547 ข้อ 67 รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง.กรณีการจัดทำโครงการศึกษาดูงาน โครงการฝึกอบรมและทัศนศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาศักยภาพของคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่น พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำและพนักงานจ้าง ในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน วันแรก จัดอบรม ณ อปท. วันที่สอง-สาม ศึกษาดูงาน ณ เทศบาล และสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ วันสุดท้าย ไม่มีกิจกรรมใดๆ ที่จัดเป็นการฝึกอบรม (เดินทางไปตลาดต่างๆ และ ไปวัดต่างๆ ของแต่ละจังหวัดที่ผ่าน ไม่อาจถือว่าเป็นการศึกษาดูงานตามระเบียบฯ) ความเห็นของ สตง. การเบิกจ่ายฯ มีลักษณะฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น และไม่เป็นไปตาม รบ.มท.ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมฯ จึงทำให้มีการเบิกจ่ายไม่ถูกต้องตาม รบ.มท.ว่าด้วย การรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินของ อปท. พ.ศ.2547 ข้อ 67 **** จากกรณีดังกล่าวให้คืนเงินค่าเช่าที่พักคืนวันที่สาม และค่าอาหารครบทุกมื้อ ในวันที่สุดท้ายของการไปศึกษาดูงาน**** ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
นิยาม การฝึกอบรม บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน ดูงาน การอบรม การประชุม การสัมมนา (วิชาการ/เชิงปฏิบัติการ) บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน ดูงาน มีโครงการ/หลักสูตร และช่วงระยะเวลาจัดที่แน่นอน เพื่อพัฒนาบุคคล/เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญา/ประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน - ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมทำงาน
นิยาม การอบรม การให้ความรู้โดยการบรรยายและการตอบปัญหาจากวิทยากรเพียงฝ่ายเดียว การสัมมนาทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การประชุมในลักษณะเป็นการระดมความคิด การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น เพื่อนำข้อสรุปที่ได้ไปพัฒนาหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และอาจกำหนดให้มีการฝึกปฏิบัติด้วยก็ได้ การบรรยายพิเศษ การให้ความรู้โดยการบรรยายในเรื่องที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเห็นสมควรให้ความรู้พิเศษเพิ่มเติมแก่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น การฝึกศึกษา การเพิ่มพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการศึกษาและฝึกปฏิบัติ
นิยาม การดูงาน การเพิ่มพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการสังเกตการณ์ ซึ่งได้กำหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตรให้มีการดูงานก่อน ระหว่างหรือหลัง การฝึกอบรม และหมายความรวมถึงโครงการหรือหลักสูตรที่กำหนดเฉพาะการดูงานภายใน ประเทศที่ อปท. หรือหน่วยงานอื่นของรัฐจัดขึ้น การฝึกงาน การเพิ่มพูนความรู้หรือประสบการณ์ด้วยการปฏิบัติงาน ซึ่งกำหนดในหลักสูตรหรือโครงการ และหมายความรวมถึงการปฏิบัติงานภาคสนามด้วย
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.3 ค่าวัสดุ หมายถึง สิ่งของโดยสภาพไม่คงทนถาวร ปกติมีอายุการใช้งาน ไม่ยืนนาน สิ้นเปลือง หมดไป หรือเปลี่ยนสภาพในระยะเวลาอันสั้น รวมถึง 1. รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงวัสดุ 2. ค่าจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท 3. รายจ่ายในการจัดหาสิ่งของที่ใช้ในการซ่อมแซมบำรุงรักษา ทรัพย์สิน 4. รายจ่ายที่ชำระพร้อมกับค่าวัสดุ เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย และค่าติดตั้ง ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ราคาวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่นยานพาหนะ หน่วย : บาท/ลิตร ชนิดของวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่นยานพาหนะ อัตราราคา 1. แก๊สโซฮอล์ออกเทน 91 23.08 2. แก๊สโซฮอล์ออกเทน 95 23.50 3. แก๊สโซฮอล์ E20 21.14 4. แก๊สโซฮอล์ E85 18.09 5. ดีเซล 20.00 6. ก๊าซธรรมชาติ (NGV) กิโลกรัมละ 13.50 7. น้ำมันหล่อลื่นสำหรับรถยนต์ เบนซิน 230.00 8. น้ำมันหล่อลื่นสำหรับรถยนต์ ดีเซล 180.00 9. น้ำมันหล่อลื่นสำหรับรถยนต์ ก๊าซ 100.00 10. น้ำมันหล่อลื่นสำหรับรถจักรยานยนต์ 110.00 รถยนต์วิ่งเฉลี่ย 20,000 กม./คัน/ปี , รถจักรยายนต์ 6,000 กม/คัน/ปี , ค่าซ่อมไม่มี 3 ปีแรกอยู่ในระหว่างรับประกัน ,จักรยานยนต์ไม่มีการรับประกันตั้งแต่ซื้อ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 2.4 ค่าสาธารณูปโภค หมายถึง รายจ่ายค่าสาธารณูปโภคสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี - ค่าไฟฟ้า - ค่าน้ำประปา ค่าน้ำบาดาล - ค่าบริการโทรศัพท์ - ค่าบริการไปรษณีย์ - ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม เครื่องปรับอากาศห้องประชุม 1,200 บีทียู/ตร.ม. เครื่องปรับอากาศห้องทำงานที่มีคนเข้าออกปกติ 900 บีทียู/ตร.ม. ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 3. หมวดเงินอุดหนุน เงินอุดหนุน หมายความว่า เงินที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งงบประมาณอุดหนุน ให้แก่หน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุนเพื่อให้ดำเนินการตามภารกิจที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2559 ประกาศ ณ วันที่ 24 พฤษภาคม 2559 ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา 27 พฤษภาคม 2559 บังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ******************************************************************** เงินอุดหนุน หมายความว่า เงินที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งงบประมาณอุดหนุน ให้แก่หน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุนเพื่อให้ดำเนินการตามภารกิจที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย - ไม่มีลักษณะเป็นเงินทุนหมุนเวียน - ประชาชนในเขต อปท.ผู้ให้เงินอุดหนุนต้องได้รับประโยชน์ - ให้ความสำคัญกับโครงการอันเป็นภารกิจหลักตามแผนฯ ที่จะต้องดำเนินการเอง และสถานะทางการคลังก่อนให้ฯ - ต้องบรรจุไว้ในแผนฯ และตั้งงบประมาณ/เพิ่มเติม หมวดเงินอุดหนุน ห้าม จ่ายจากเงินสะสม ทุนสำรองเงินสะสม เงินกู้ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ******************************************************************** หน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุน 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 2. ส่วนราชการ ได้แก่ ส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 3. รัฐวิสาหกิจ ได้แก่ การไฟฟ้า และการประปา ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ******************************************************************** 4. องค์กรประชาชน ได้แก่ องค์กรซึ่งเป็นการรวมของประชาชนที่จัดตั้งโดยถูกต้องตามกฎหมายระเบียบหรือข้อบังคับของหน่วยงานของรัฐ หรือหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทยและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องมาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี 5. องค์กรการกุศล ได้แก่ องค์กรทางศาสนา/องค์กรซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อดำเนินงานการกุศลหรือบำเพ็ญสาธารณประโยชน์มิใช่การมุ่งแสวงหากำไรที่จัดตั้งโดยถูกต้องตามกฎหมาย หรือระเบียบ หรือข้อบังคับของหน่วยงานของรัฐ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ******************************************************************** การตั้งงบประมาณเงินอุดหนุน ***ไม่เกินอัตราส่วนของรายได้จริง(ไม่รวมเงินอุดหนุนที่รัฐจัดสรรในปีงบประมาณที่ผ่านมา*** 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ไม่เกินร้อยละสิบ 2. เทศบาลนคร ไม่เกินร้อยละสอง 3. เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบล ไม่เกินร้อยละสาม 4. องค์การบริหารส่วนตำบล ไม่เกินร้อยละห้า **** กรณีตั้งงบประมาณเกินอัตราที่กำหนดให้ขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นรายกรณีก่อนตั้งงบประมาณ (ได้ไม่เกินหนึ่งเท่า) และระบุเหตุผลความจำเป็นและประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับประกอบการพิจารณา **** ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ******************************************************************** กรณีอุดหนุนรัฐวิสาหกิจ - จัดทำประมาณการค่าใช้จ่าย - บรรจุไว้ในแผนพัฒนาท้องถิ่น - ตั้งงบประมาณในหมวดเงินอุดหนุนของ งปม.รายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติม กรณีอุดหนุนลักษณะที่เป็นการเฉพาะ - อาหารกลางวัน อสม. ฯลฯ - เสนอโครงการโดยไม่ต้องมีงบประมาณสมทบ *** ไม่นับรวมคำนวณในอัตราส่วนที่กำหนดไว้**** ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ******************************************************************** กรณีอุดหนุนส่วนราชการ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/องค์กรประชาชน/องค์กรการกุศล - เสนอโครงการขอรับเงินอุดหนุน - อยู่ในอำนาจหน้าที่ของผู้ขอรับเงิน - แสดงเหตุผลความจำเป็นและรายละเอียดของกิจกรรม ในโครงการฯ - มีงบประมาณของตนเองร่วมสมทบ - ทำบันทึกข้อตกลงกับหัวหน้าหน่วยงาน/ผู้แทนฯ 3 คน ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ******************************************************************** - ให้ติดตามประเมินผล - หากเบิกจ่ายเงินไปก่อนวันที่ระเบียบประกาศใช้ ถือปฏิบัติตาม นส.มท ที่ มท 0808.2/ว 74 ลว. 8 มกราคม 2553 (การตั้งและการใช้) ที่ มท 0808.2/ว 2916 ลว. 27 กันยายน 2553 (ไฟฟ้า ประปา) ที่ มท 0808.2/ว 2697 ลว. 15 มิถุนายน 2555 (กีฬา) - หากยังมิได้เบิกจ่าย ให้ปฏิบัติตาม นส.ตามหนังสือสั่งการข้างต้นต่อไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
สรุประเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ***ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 3616 ลว. 24 มิ.ย.2559*** ******************************************************************** 1. ยกเลิก นส.มท ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 74 ลว. 8 ม.ค.2553 และ ที่ มท 0808.2/ว 2916 ลว. 27 ก.ย.2553 2. หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการตั้งงบประมาณและการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนของ อปท. ดังนี้ 2.1 หน่วยขอรับเงินอุดหนุนเสนอโครงการตามแบบที่กำหนด 1 ยกเว้น รัฐวิสาหกิจ (ไฟฟ้า ประปา) ให้จัดทำประมาณการฯ 2.2 ตรวจสอบสถานะทางการคลังแล้ว จึงเบิกเงินอุดหนุนให้แก่หน่วยขอรับฯ ภายในปีงบประมาณนั้น 2.3 ตรวจสอบว่าหน่วยขอรับเงินอุดหนุนมีระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์หรือวิธี ปฏิบัติเพียงพอที่จะนำเงินอุดหนุนไปใช้ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2559 ***ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 3616 ลว. 24 มิ.ย.2559*** ******************************************************************** 2.4 ก่อนการเบิกจ่ายฯ ให้จัดทำบันทึกข้อตกลงรับเงินฯ ตามแบบที่กำหนด 2 2.5 เมื่อหน่วยขอรับเงินอุดหนุนได้รับเงินแล้ว จะต้องออกใบเสร็จรับเงิน เว้นแต่ไม่มี ใบเสร็จรับเงินใช้ในลักษณะปกติให้ออกใบสำคัญรับเงินแทน 2.6 แต่งตั้งคณะทำงานติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายเงินฯ และรายงานให้ ผู้บริหารฯ ทราบ หากไม่ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ให้เรียกเงินคืน 2.7 ให้แจ้งหน่วยขอรับเงินอุดหนุนรายงานผลการดำเนินการตามแบบที่กำหนด 3 พร้อมสำเนาใบเสร็จรับเงินและหรือเอกสารหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่โครงการแล้วเสร็จ หากมีเงินเหลือให้ส่งคืน 3. ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอกำกับดูแลการตั้งงบประมาณและการเบิก จ่ายเงินอุดหนุนฯ ให้เป็นไปตามกฎหมายฯ ประกาศ คสช. ระเบียบฯ โดยเคร่งครัด ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 85
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 86
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 87
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 88
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 89
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีเงินอุดหนุน ได้รับอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสมค่าขยายเขตไฟฟ้า อปท.ชี้แจงว่า จ่ายขาดเงินสะสมตาม รบ.เบิกจ่าย 47 ข้อ 89 (1) และไม่ได้ ตั้งงบประมาณประจำปี เนื่องจากเลยช่วงระยะเวลาในการจัดเทศบัญญัติ หากจะนำไปตั้งเทศบัญญัติในปีถัดไป จะทำให้เกิดความล่าช้า ข้อทักท้วง สตง. กรณีการจ่ายขาดเงินสะสมอุดหนุนขยายเขตไฟฟ้า ไม่สามารถกระทำได้ เนื่องจากต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี และ เบิกจ่ายในหมวดเงินอุดหนุน ตามระเบียบฯ ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2541 และเป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 74 ลว. 8 มกราคม 2553 และ ที่ มท 0808.2/2916 ลว. 27 กันยายน 2553 ทำให้เบิกจ่ายรายการดังกล่าวไม่ถูกต้องตาม ระเบียบ และหนังสือสั่งการ”
4. งบรายจ่ายอื่น ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล พัฒนาระบบต่างๆ มิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 5. งบลงทุน การจัดหาครุภัณฑ์ 1. ให้จัดหาตามที่กำหนดในบัญชีราคามาตรฐานครุภัณฑ์ 2. กรณีไม่สามารถดำเนินการตามข้อ 1 ได้ เพราะต้องการรุ่น หรือคุณสมบัติ หรือลักษณะพิเศษนอกเหนือบัญชีมาตรฐานครุภัณฑ์ให้ตั้งงบประมาณตามราคาในจังหวัด หรือท้องถิ่น หรือจัดหาอย่างประหยัด และชี้แจงเหตุผลให้ชัดเจนในคำชี้แจงประกอบงบประมาณรายจ่าย การจัดหาครุภัณฑ์ 22มิย.52 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ค่าครุภัณฑ์ หมายถึง สิ่งของซึ่งโดยสภาพมีความคงทนถาวร ปกติมีอายุการใช้งานยืนนาน ไม่สิ้นเปลือง หมดไป หรือเปลี่ยนสภาพไปในระยะเวลาอันสั้น รวมถึง 1. รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ 2. ค่าจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อชุดเกิน 20,000 บาท 3. รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องจักรกล ยานพาหนะ ซึ่งไม่รวมค่าซ่อมบำรุงปกติ หรือค่าซ่อมกลาง 4. รายจ่ายค่าจ้างที่ปรึกษาในการจัดหา หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ 5. รายจ่ายที่ชำระพร้อมกับครุภัณฑ์ เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกัน และ ค่าติดตั้ง ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 93
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่ติดตรึงกับที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ดังนี้ 1. รายจ่ายเพื่อจัดหาที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 2. รายจ่ายเพื่อปรับปรุงที่ดิน รวมถึงค่าดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง ซึ่งทำให้ที่ดิน สิ่งก่อสร้างมีมูลค่าเพิ่มขึ้น 3. รายจ่ายเพื่อติดตั้งปรุงระบบไฟฟ้า ระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคาร ทั้งที่เป็นการดำเนินการพร้อมกัน หรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร 4. รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้เอกชน หรือนิติบุคคล 5. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหา หรือปรับปรุงที่ดิน หรือสิ่งก่อสร้าง 6. รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 94
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมและทุนสำรองเงินสะสมของ อปท. ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี เงินสะสม เงินสะสม หมายความว่า เงินที่เหลือจ่ายจากเงินรายรับ ตามงบประมาณรายจ่ายประจำปี และหรืองบประมาณ รายจ่ายเพิ่มเติม และให้หมายความรวมถึงเงินรายรับอื่น ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับไว้ภายในวันสิ้น ปีงบประมาณหลังจากที่ได้หักทุนสำรองเงินสะสมไว้แล้ว และรวมทั้งเงินสะสมปีก่อนๆ ด้วย ทุนสำรองเงินสะสม หมายความว่า ยอดเงินสะสมจำนวน ร้อยละยี่สิบห้าของยอดเงินสะสมประจำทุกสิ้น ปีงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
เงินสะสม (ทุนสำรองเงินสะสม) ทุกสิ้นปีเมื่อปิดบัญชีรายรับ รายจ่าย แล้ว ให้กันเงินสะสมไว้ 25 % เพื่อเป็นทุนสำรองเงินสะสม (ข้อ 87) อปท.สามารถใช้จ่ายเงินทุนสำรองเงินสะสมได้ ดังนี้ 1. กรณีที่ยอดเงินสะสมมีเหลือไม่เพียงพอต่อการบริหาร ต้องขอความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่นและขออนุมัติจาก ผู้ว่าราชการจังหวัด 2. ปีใดมียอดเงินทุนสำรองเงินสะสมเกินร้อยละ 25 ของงบประมาณประจำปีนั้น สามารถใช้ได้ตามเงื่อนไข ข้อ 89(1) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี เงินสะสม (ยืม) ข้อ 88 งบประมาณประจำปีมีผลบังคับใช้แล้ว ในระยะ 3 เดือนแรกรายได้ยังไม่ได้เข้ามา หรือมีไม่เพียงพอ โดยเบิกจ่ายล่วงล้ำเงินสะสมได้ และบันทึกบัญชีเป็นค่าใช้จ่ายปกติ -กรณีที่เป็นรายจ่ายที่จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐบาลระบุวัตถุประสงค์ ได้รับแจ้ง ยอดจัดสรรแล้ว ยังไม่ได้รับโอนเงินให้ยืมเงินสะสมทดรองจ่ายไปก่อน(ยกเว้นงบลงทุน) -กรณี อปท.มีกิจการพาณิชย์ หากมีความจำเป็นกิจการพาณิชย์ อาจขอ ยืมเงินสะสมไปทดรองจ่ายเพื่อบริหารกิจการก่อนได้ โดยขอความเห็นชอบจากสภา ท้องถิ่นและส่งใช้เงินยืมสะสมเมื่อสิ้นปีงบประมาณ -กรณี อปท.มีผู้รับบำนาญที่ย้ายภูมิลำเนาและประสงค์จะโอนการรับเงินบำนาญ ไปรับใน อปท.ประเภทเดียวกันในท้องที่ที่ย้ายไปอยู่ใหม่ อาจยืมเงินสะสมทดรองจ่าย ให้กับผู้รับบำนาญได้ โดยอำนาจของผู้บริหารท้องถิ่นและเมื่อได้รับเงินคืนให้บันทึกส่งใช้ เงินยืมสะสม ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี เงินสะสม (จ่ายขาด) กรณี อปท.มีความจำเป็น และไม่สามารถโอนเงินงบประมาณรายจ่ายเนื่องจากงบประมาณมีไม่เพียงพอ อปท. สามารถใช้จ่ายเงินสะสมได้ โดยได้อนุมัติจากสภาท้องถิ่น ซึ่งต้องเป็นกิจการตามอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. เกี่ยวกับด้านบริการชุมชนและสังคม 2. กิจการที่เป็นการเพิ่มพูนรายได้ 3. กิจการที่จัดทำเพื่อบำบัดความเดือดร้อนของประชาชน ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามแผนพัฒนาของ อปท. หรือตามที่กฎหมายกำหนด และ จะต้องส่งเงินสมทบกองทุนส่งเสริมกิจการ อปท.แล้ว มีเงินสะสมคงเหลือ เพียงพอที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายประจำและกรณีเกิดสาธารณภัย โดยคำนึงถึงฐานะ การคลังและเสถียรภาพในระยะยาว ***ก่อหนี้ภายในไม่เกินปีงบประมาณถัดไปมิฉะนั้นเป็นอันพับไป (ข้อ 89)*** ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี เงินสะสม (จ่ายขาด) ผู้บริหารท้องถิ่นอนุมัติให้ใช้จ่ายจากเงินสะสมได้กรณีดังต่อไปนี้ 1. รับโอน เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือนพนักงานส่วนท้องถิ่น 2. สิทธิประโยชน์ของพนักงาน ลูกจ้างและผู้บริหาร ซึ่งมีสิทธิได้รับตามกฎหมาย ฯลฯ ในระหว่างปี (ข้อ 90) 3. กรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้น (ข้อ 91) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี การกำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสม ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามมาตรการสนับสนุน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจและสังคมภายในท้องถิ่น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2559 หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 6222 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2559 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี หลักการ มติ ครม. เห็นชอบในหลักการมาตรการสนับสนุนการใช้จ่ายเงินของ อปท. ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ ทั้งนี้ ให้กระทรวงการคลัง รับความเห็นชอบของกระทรวงมหาดไทย สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และประธานกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ไปประกอบการพิจารณาดำเนินการต่อไป ให้กระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานหลักร่วมกับกระทรวงการคลัง สำนักงบประมาณ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หารือร่วมกันเพื่อกำหนดแนวปฏิบัติในการดำเนินมาตรการฯ ให้ชัดเจนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขอมาตรการฯ และประชาชนได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึง ก่อนดำเนินการต่อไป ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. 1. เจตนารมณ์ของ รบ.มท.ว่าด้วยการรับเงินฯ 2547 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้ อปท. มีเงินสะสมเพื่อให้มีฐานะการเงินการคลังที่มั่นคง พร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ หรือ นำไปใช้เพื่อการจัดบริการสาธารณะแก่ประชาชนให้ทั่วถึงและมีคุณภาพ ดังนั้น จึงควรพิจารณาใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง เพื่อมิให้เกิดผลกระทบต่อการบริหารงานตามอำนาจหน้าที่ฯ ในระยะยาว ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. 2. ตรวจสอบยอดเงินสะสมที่นำไปใช้ได้ หัก เงินสะสมที่ส่งฝากเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล (ก.ส.ท.) เงินทุนส่งเสริมกิจการองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ก.ส.อ.) เงินสะสมที่รับอนุมัติแล้ว แต่ยังไม่ได้ดำเนินการ/เบิกจ่าย 3. ก่อนนำไปใช้ ให้สำรองเงินสะสมไว้สำหรับรายจ่าย ดังนี้ 3.1 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ประมาณ 3 เดือน - คำนวณจากฐานเงินเดือน ค่าจ้างบุคลากรท้องถิ่น 3.3 สำรองจ่ายกรณีสาธารณภัย ร้อยละ 10 - ร้อยละสิบของเงินสะสมคงเหลือหลังจากหักรายการ ตามข้อ 2 และ ข้อ 3.1 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. 4. ลักษณะและประเภทโครงการที่สามารถนำเงินสะสมไปใช้จ่ายได้ 4.1 ต้องอยู่ในอำนาจหน้าที่ของ อปท. ในด้าน (1) การบริการชุมชนและสังคม หรือ (2) กิจการที่เป็นการเพิ่มพูนรายได้ หรือ (3) กิจการเพื่อบำบัดความเดือดร้อนของประชาชน และอยู่ในแผนพัฒนาท้องถิ่นของ อปท. ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. ทั้งนี้ การนำเงินสะสมไปใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจและสังคมภายในท้องถิ่นตาม มติ ครม. ให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังนี้ 4.1.1 โครงการลงทุน ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ซึ่งจะมีส่วนช่วยสนับสนุนการสร้างรายได้ของประชาชนและการกระตุ้นเศรษฐกิจในท้องถิ่น ให้ดำเนินการ ดังนี้ 4.1.1.1 กรณีมีเงินสะสมเพียงพอ ให้พิจารณาดำเนินการแก้ไขปัญหาความเดือนร้อน โดยเฉพาะปัญหาที่เรื้อรังมาเป็นเวลานาน เช่น สิ่งสาธารณประโยชน์ขาดแคลน ชำรุด เสียหาย เป็นต้น ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. 4.1.1.2 กรณีมีเงินสะสมไม่เพียงพอ แต่มีความจำเป็นต้องทำเพื่อแก้ไขปัญหาเดือนร้อนเป็นการเร่งด่วน อาจจัดทำโครงการขอรับการสนับสนุนฯ จากรัฐบาลตามมาตรการลงทุนร่วมระหว่างรัฐบาลและ อปท. (Matching Fund) ภายใต้กรอบวงเงินตามมติ ครม. ข้อเสนอการจัดงบประมาณสมทบของรัฐบาล (Matching Fund) 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ไม่เกิน 5 ล้านบาท 2. เทศบาลนครและเทศบาลเมือง ไม่เกิน 3.5 ล้านบาท 3. เทศบาลตำบล ไม่เกิน 1.5 ล้านบาท 4. องค์การบริหารส่วนตำบล ขนาดใหญ่ ไม่เกิน 1.5 ล้านบาท 5. องค์การบริหารส่วนตำบล ขนาดกลาง ไม่เกิน 1.5 ล้านบาท 6. องค์การบริหารส่วนตำบลขนาดเล็ก ไม่เกิน 1 ล้านบาท ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1) คัดเลือกโครงการจากแผนฯ และไม่ซ้ำซ้อนกับข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งปม.2560 2) ต้องจ่ายเงินสะสมไม่น้อยกว่างบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรสมทบให้ 3) สามารถขอได้มากกว่า 1 โครงการ แต่ไม่เกินวงเงินที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ ต้องมีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที 4) จัดทำโครงการขออนุมัติสภาท้องถิ่น และจัดส่งโครงการฯ ภายใน 30 พ.ย. 2559 5) ตรวจสอบและกลั่นกรองจากคณะกรรมการฯ พิจารณาความคุ้มค่า ความเป็นธรรม ความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ และประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับเป็นสำคัญ 6) ส่งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ภายใน 15 ธันวาคม 2559 7) ก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายให้เสร็จสิ้นภายในไตรมาสที่ 2 ของปี งปม.2560 (มีค.60) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. 4.1.2 โครงการ ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน มีแนวทาง ดังนี้ 4.1.2.1 เป็นโครงการพัฒนาการศึกษาท้องถิ่น หรือ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส เด็กกำพร้า หรือ ผู้เจ็บป่วยเรื้อรังในท้องถิ่น 4.1.2.2 โครงการที่จัดทำจะต้องไม่มีลักษณะเป็นการท่องเที่ยว ศึกษาดูงานหรือแจกวัสดุสิ่งของ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. 4.2 ต้องเป็นเพื่อประโยชน์และสนองตอบความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ทั้งนี้ ขอให้นำข้อมูลปัญหา และความต้องการพื้นฐานของประชาชนจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ) (Local Sufficiency Plan : LSEP) มาประกอบการพิจารณาจัดทำโครงการ 5. การรายงานผลการใช้จ่ายเงินสะสม - กรณีขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาล (4.1.1.2) - กรณีโครงการด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต (4.1.2) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ขยายเวลาการก่อหนี้ผูกพันและเบิกจ่ายเงินโครงการตามมาตรการสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เศรษฐกิจและสังคมภายในท้องถิ่น และการส่งโครงการขอรับการสนับสนุนเพิ่มเติม หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 3263 ลงวันที่ 13 มิถุนายน2560 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. ใหม่ หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1) คัดเลือกโครงการจากแผนฯ และไม่ซ้ำซ้อนกับข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งปม.2560 2) ต้องจ่ายเงินสะสมไม่น้อยกว่างบประมาณที่รัฐบาลจัดสรรสมทบให้ 3) สามารถขอได้มากกว่า 1 โครงการ แต่ไม่เกินวงเงินที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ ต้องมีความพร้อมที่จะดำเนินการได้ทันที 4) จัดทำโครงการขออนุมัติสภาท้องถิ่น และจัดส่งโครงการฯ ภายใน 30 มิถุนายน 2560 5) ตรวจสอบและกลั่นกรองจากคณะกรรมการฯ พิจารณาความคุ้มค่า ความเป็นธรรม ความมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ และประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ เป็นสำคัญ 6) ส่งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ภายใน 10 กรกฎาคม 2560 7) ก่อหนี้ผูกพัน ภายใน 30 กันยายน 2560 และเบิกจ่ายตามงวดงาน ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
กรณีข้อทักท้วง สตง. “เงินสะสม” กรณีข้อทักท้วง สตง. “เงินสะสม” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม 1. ได้รับอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสม -จัดซื้อพัดลมติดผนัง -จัดซื้อโทรทัศน์สีจอแบน -ปรับปรุงอาคารสำนักงาน (ทาสีสำนักงาน) -โครงการ TO BE NUMBER ONE ควรตั้งไว้ใน งปม. หรือโอนฯ ตาม รบ.มท.งปม. ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม “กรณีการจ่ายขาดเงินสะสมเป็นค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่มิใช่เรื่องเร่งด่วนให้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี ตาม รบ.มท.ว่าด้วย งปม. ซึ่งพิจารณาแล้วเห็นว่า การดำเนินการดังกล่าวเป็นการไม่ปฏิบัติตาม รบ.มท.ว่าด้วย การรับเงิน ฯ (ฉ.2) ข้อ 89 (1) กล่าวคือ อปท.อาจใช้จ่ายใช้จ่ายเงินสะสมได้ โดยได้รับอนุมัติจากสภาฯ ภายใต้เงื่อนไขให้กระทำได้เฉพาะกิจการซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ของ อปท.ซึ่งเกี่ยวกับด้านการบริการชุมชนและสังคม หรือกิจการที่เป็นการเพิ่มพูนรายได้ของ อปท. หรือกิจการที่จัดทำเพื่อบำบัดความเดือดร้อนของประชาชน ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามแผนพัฒนาของ อปท. หรือตามที่กฎหมายกำหนดและการจัดซื้อรายการดังกล่าวข้างต้นมิใช่เรื่องเร่งด่วน จึงควรตั้งไว้ใน งปม.หรือโอนตาม รบ.งปม. ทำให้เบิกจ่ายรายการดังกล่าวไม่ถูกต้องตามระเบียบ และหนังสือสั่งการ” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม 2. ได้รับอนุมัติให้จ่ายขาดเงินสะสมและเงินทุนสำรองเงินสะสม เพื่อจ่ายชำระหนี้ค่ากระแสไฟฟ้าค้างชำระ อปท.ชี้แจงว่า เนื่องจากประปา เป็นกิจการเทศพาณิชย์และ มีงบประมาณเฉพาะการ และอปท .มีเงินงบประมาณจำกัดไม่สามารถตั้งงบประมาณเพื่อช่วยเหลือได้ จึงขอความเห็นชอบสภาฯ และขออนุมัติ ผวจ. ตาม รบ.มท.ว่าด้วย การรับเงินฯ ข้อ 87 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม ความเห็น สตง. กองการประปาเป็นกิจการเทศพาณิชย์ และ มีงบประมาณเฉพาะการ จึงควรตั้งไว้ในงบประมาณ หมวด งบกลาง ประเภทเงินช่วยเหลือกิจการเฉพาะการ -รบ.มท.ว่าด้วย วิธีการงบประมาณของ อปท. พ.ศ.2541 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม -รบ.มท. ว่าด้วย การรับเงิน การเบิกจ่าย การฝากเงิน การเก็บ รักษาเงินและการตรวจเงินของ อปท. พ.ศ.2547 ข้อ 87 วรรค 2 “การจ่ายเงินทุนสำรองเงินสะสมจะกระทำได้ต่อเมื่อยอดเงินสะสม ในส่วนที่เหลือ มีไม่เพียงพอต่อการบริหาร ให้ขอความเห็นชอบจากสภา ท้องถิ่น และ ขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีการเบิกจ่ายหมวดรายจ่ายอื่น 3. การเบิกจ่ายเงินหมวดรายจ่ายอื่น - ค่าใช้จ่ายในโครงการสงเคราะห์ศพของผู้ยากไร้ หรือไร้ญาติ อปท.ชี้แจงว่า ถือปฏิบัติตาม นส.สถ. ด่วนมาก ที่ มท 0804.3/10835 ลว. 29 พ.ย.2547 และ ด่วนมาก ที่ มท 0891.3/4301 ลว. 4 เม.ย.2550 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีการจ่ายงบกลาง ความเห็น สตง. “กรณีการเบิกจ่ายเงินหมวดรายจ่ายอื่น เป็นค่าใช้จ่ายในโครงการสงเคราะห์ศพของผู้ยากไร้หรือไร้ญาติ เป็นการปฏิบัติไม่เป็นไปตาม นส.สถ. ที่ มท 0804.3/12145 ลว. 21 ก.ย.2550 เรื่องขอหารือแนวทางปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินสงเคราะห์ในการจัดการศพ กล่าวคือ การดำเนินการสงเคราะห์ในการจัดการศพ อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และตาม ม.53 , 54 แห่ง พรบ.ท.2496 ไม่ได้กำหนดให้ ท.มีอำนาจในการสงเคราะห์ฯ และ ม.16 ตาม พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. 2542 ไม่ได้กำหนดให้ ท.มีอำนาจและหน้าที่ฯ” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม 3. การตรวจสอบเงินสะสมที่สามารถนำไปใช้ได้ ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 มีจำนวน 2,600,000 บาท แต่ในปีงบประมาณ 2559 เพียงวันที่ 30 มิถุนายน 2559 อปท. เบิกจ่ายขาดเงินสะสม เป็นเงิน 5,400,000 บาท มีผลทำให้มีการเบิกจ่ายสูงกว่าเงินสะสมที่สามารถนำไปใช้ได้ จำนวน 2,800,000 บาท
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม ***เทศบาลฯ ชี้แจงว่า เนื่องจากเร่งปิดงบการเงินสิ้นปี กองคลังฯ จัดทำงบแสดงฐานะการเงินประจำปี 2558 มียอดเงินสะสมที่สามารถนำไปใช้ได้ จำนวน 8,500,000 บาท ทำให้สภาฯ เข้าใจว่ามีเงินสะสมเพียงพอสำหรับจ่ายขาดเงินสะสมได้ เป็นเงิน 5,400,000 บาท และไม่ตั้งเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 เนื่องจากระยะเวลาดังกล่าวได้เลยช่วงในการจัดทำเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2559 มาแล้ว หากจะนำไปตั้งเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2560 จะทำให้เกิดความล่าช้า****
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม สตง. เห็นว่า การจ่ายขาดเงินสะสมเกิดกว่าเงินสะสมที่สามารถนำไปใช้ได้สาเหตุเกิดจากความผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน ซึ่งมีผลทำให้มียอดเงินสะสมคงเหลือไม่เพียงพอที่จะจ่ายค่าใช้จ่ายประจำและกรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้น และส่งผลต่อเสถียรภาพทางการคลังในระยะยาว เป็นการไม่ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547 ข้อ 89 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 และ การกระทำดังกล่าว เป็นการนำเงินทุนสำรองเงินสะสมออกมาใช้โดยไม่ได้ขอความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่นและขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม ข้อเสนอแนะ ขอให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ในกรณีที่อนุมัติให้มีการเบิกจ่ายขาดเงินสะสมสูงกว่าเงินสะสม ที่สามารถนำไปใช้ได้ และพิจารณาโทษควรแก่กรณี และให้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบปฏิบัติตามระเบียบและหนังสือสั่งการโดยเคร่งครัด เพื่อมิให้เกิดกรณีเช่นนี้อีก
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม 4. การเบิกจ่ายขาดเงินสะสมเป็นค่าครุภัณฑ์ยานพาหนะ และขนส่ง โครงการจัดซื้อรถบรรทุกขยะฯ อปท.ชี้แจงว่า ได้บรรจุโครงการจัดซื้อรถยนต์บรรทุกขยะฯ ไว้ในแผนพัฒนาสามปี แต่มิได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี เนื่องจากไม่มีงบประมาณเพียงพอในการที่จะโอนฯ และได้ทำการจำหน่ายรถบรรทุกขยะคันเก่า ทำให้มีรถยนต์เพื่อใช้ในการเก็บขยะไม่เพียงพอต่อปริมาณขยะในแต่ละวัน ซึ่งปัญหาดังกล่าวต้องดำเนินการแก้ไขในทันที ทั้งนี้เพื่อบำบัดความเดือนร้อนของประชาชน ไม่อาจรองบประมาณประจำปีได้
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม สตง. เห็นว่า การจ่ายขาดเงินสะสมดังกล่าว เป็นภารกิจปกติของ อปท. ที่สามารถดำเนินการได้จากเงินงบประมาณ จึงควรดำเนินการตั้งงบประมาณ ตาม รบ.มท. ว่าด้วยวิธีการงบประมาณของ อปท. พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และไม่ใช่กรณีเร่งด่วนในการใช้จ่ายเงินสะสม จึงเป็นการไม่ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ว 2150 ลว. 27 พฤษภาคม 2556 เรื่อง ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท. ข้อ 3 ซึ่งกำหนดว่ากรณีการจ่ายขาดเงินสะสมเป็นค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่มิใช่เรื่องเร่งด่วนให้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีหรือเพิ่มเติม หรือโอนฯ
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีจ่ายขาดเงินสะสม ข้อเสนอแนะ ขอให้กำชับเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 1438 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2559 เรื่องหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินสะสมของ อปท.ในโอกาสต่อไป และขอให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ติดตามดูแลการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบอย่างใกล้ชิด อย่าให้เกิดข้อบกพร่องเช่นนี้อีก
เงินช่วยเหลือประชาชน ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย ในการสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ยากไร้ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2560 นส. ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 1234 ลว. 7 มีนาคม 2560 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 129
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการสงเคราะห์ผู้ป่วยที่ยากไร้ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด ******************************************************************** - ขอรับจาก พม. ก่อน หากไม่เพียงพอฯ จึงขอ อบจ. - ขอรับจาก อบจ. เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินครั้ง 2,000 บาท/คน คนละไม่เกิน 3 ครั้ง/ปี งปม. - ยื่นคำขอรับฯ ณ เทศบาล อบต. และต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ - สัญชาติไทย - ภูมิลำเนาในเขตฯ - เข้ารับการรักษาสถานพยาบาลของรัฐ ****กรณีมีความจำเป็นขอเกินกว่า 3 ครั้ง/ปี ให้ขอความเห็นชอบ ผวจ.**** ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 130
ซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อช่วยเหลือประชาชนกรณีเกิดสาธารณภัย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ มท 0808.2/ว 3215 ลว. 6 มิถุนายน 2559 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 131
การใช้จ่ายงบประมาณเพื่อช่วยเหลือประชาชน กรณีเกิดสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ******************************************************************** - เงินสำรองจ่าย - เงินสะสม - ไม่ซ้ำซ้อน และรายงาน ผวจ./นอ. - ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือนร้อนจากสาธารณภัย - ให้ความช่วยเหลือได้ทันที ภายใต้กรอบอำนาจหน้าที่ ****ไม่ต้องรอประกาศภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินตาม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย เงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2556**** ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 132
หลักเกณฑ์ว่าด้วยการตั้งงบประมาณ เพื่อการช่วยเหลือประชาชนตามอำนาจหน้าที่ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2543 ที่ มท 0313.4/ว 3050 ลว. 22 กุมภาพันธ์ 2543 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี 133
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี การช่วยเหลือประชาชน กิจการที่จะให้การช่วยเหลือต้องอยู่ในอำนาจหน้าที่ เช่น การส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร การแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพ การสังคมสงเคราะห์ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การป้องกันและระงับโรคติดต่อ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี การตั้งงบประมาณช่วยเหลือประชาชน กิจการที่จะให้การช่วยเหลือต้องอยู่ในอำนาจหน้าที่ วิธีการตั้งงบประมาณ - จัดทำโครงการ แล้วบรรจุเข้าแผนฯ - จัดทำเป็นร่างข้อบัญญัติ / เทศบัญญัติ วิธีการให้ความช่วยเหลือ - ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการฯ - ให้ถือปฏิบัติตามแนวทางการช่วยเหลือสงเคราะห์ ประชาชนที่หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอยู่ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี วิธีการให้ความช่วยเหลือ (ต่อ) - กรณีที่มีความจำเป็นจะต้องจัดซื้อวัสดุหรือครุภัณฑ์เพื่อ ดำเนินการตามโครงการ จัดซื้อวัสดุ เพี่อนำไปแจกจ่ายให้แก่ราษฎร เช่น พันธุ์พืช ปุ๋ย ยารักษาโรค ผ้าห่ม วัสดุอุปโภคและบริโภค จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อให้ราษฎรยืมไปใช้ตามโครงการ เช่น เครื่องสูบน้ำ จักรเย็บผ้า เครื่องมือการเกษตร ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี แนวทางการช่วยเหลือสงเคราะห์ประชาชนที่หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอยู่ เช่น ระเบียบกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ว่าด้วยการสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2552 - ช่วยเหลือด้านการเงิน/สิ่งของ วงเงินไม่เกินครั้งละ 3,000 บาท และช่วยเหลือติดต่อกันได้ไม่เกิน 3 ครั้ง/ครอบครัว/ปีงบประมาณ ตามรายการ ดังนี้ - ค่าเครื่องอุปโภคบริโภค ค่าใช้จ่ายในการครองชีพตามความจำเป็น - ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา ค่าพาหนะ ค่าอาหารระหว่างติดต่อรักษาพยาบาล - ค่าซ่อมแซมที่อยู่อาศัยเท่าที่จำเป็น ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2546 แก้ไข พ.ศ.2549 หลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2556 (ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. 2556 เป็นต้นไป) ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี การช่วยเหลือผู้ประสบภัย ให้ดำเนินการช่วยเหลือเป็น สิ่งของ หรือจ่ายเป็นเงิน โดยคำนึงถึงสภาพและเหตุการณ์ตามความเหมาะสม ดังนี้ ค่าอาหารจัดเลี้ยง มื้อละไม่เกิน 30 บาท/วัน/คน ค่าถุงยังชีพ ชุดละไม่เกิน 550 บาท/ครอบครัว ค่าเครื่องนุ่มห่ม คนละไม่เกิน 1,000 บาท ค่าวัสดุซ่อมแซม/ก่อสร้างที่อยู่อาศัย หลังละไม่เกิน 33,000 บาท ฯลฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี การช่วยเหลือผู้ประสบภัย ค่าเครื่องมือประกอบอาชีพ/เงินทุน เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน 11,000 บาท เครื่องกันหนาว (อากาศหนาวจัดผิดปกติ ต่ำกว่า 8 องศา ติดต่อ 3 วัน) พันธุ์พืช (พืชอายุสั้น ไม้ผลยืนต้น) อาหารสัตว์ รักษาสัตว์ พันธุ์สัตว์ ฯลฯ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ด้านการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ค่าซ่อมครุภัณฑ์/ยานพาหนะ ทางราชการ เอกชน ที่นำมา ช่วยเหลือโดยสมัครใจ และไม่คิดมูลค่า (ซึ่งชำรุดระหว่าง ปฏิบัติงาน) ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ค่าไฟฟ้า สําหรับเครื่องสูบน้ำ ของทางราชการ เอกชนกรณีของราชการไม่เพียงพอ กรณีเครื่องสูบน้ำไม่เพียงพอ ให้เช่า/จ้างเหมา เป็นรายวัน ค่าจ้างเหมา/จ้างแรงงาน แบกหามสิ่งของ (ตามค่าแรงขั้นต่ำ) ค่าเบี้ยเลี้ยง เบิกตามหนังสือสั่งการ มท ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย น้ำท่วมฉับพลัน (หนังสือ ด่วนที่สุด มท 0808.2/ว4224 ลว.10 ต.ค. 54) ให้ อปท.ที่ไม่ประสบอุทกภัย และมีพื้นที่ติดต่อหรือใกล้เคียง หรือ อปท.อื่น ที่มีศักยภาพและประสงค์จะเข้าช่วยเหลือ นำบุคลากร เครื่องจักร เครื่องมือเครื่องใช้ วัสดุ อุปกรณ์ เข้าดำเนินการได้ - นำของบริจาคไปแจกประชาชนใน อปท.ที่เกิดภัย เบิกค่าใช้จ่ายได้ - อปท.ที่ไปช่วยเหลือเบิก ค่าเบี้ยเลี้ยง พาหนะ น้ำมันเชื้อเพลิง ได้ - การเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงของข้าราชการ พนักงาน พนักงานจ้าง และภาคประชาชนที่ อปท.มอบหมายให้ช่วยปฏิบัติงาน ถือตามวิทยุสื่อสาร ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
กรณีข้อทักท้วงของ สตง. “การช่วยเหลือประชาชน” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ข้อทักท้วงของ สตง. 1. จ่ายขาดเงินสะสม เพื่อจ่ายเป็นค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ กรณีการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ อปท.ชี้แจงว่า เบิกจ่ายค่าตอบแทนให้ จนท. ที่มีคำสั่งให้มาปฏิบัติหน้าที่นอกเวลาราชการ ในขณะเกิดทุกภัยและงบประมาณรายจ่ายประเภทค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาฯไม่เพียงพอ จึงขออนุมัติใช้เงินสะสมตาม รบ.มท.ว่าด้วย การรับเงินฯ ข้อ 91 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ข้อทักท้วงของ สตง. ความเห็น สตง. ตาม นส.กรมป้องกันสาธารณภัย ด่วนที่สุด ที่ มท 0617/ว 3364 ลว. 27 มี.ค.2556 โดยให้ถือปฏิบัติตาม นส.กค. ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.3/ว 35 ลว. 26 มี.ค.2556 เรื่อง การปรับปรุงแก้ไขหลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ได้กำหนดหลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2556 เกี่ยวกับด้านการปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยให้เบิกค่าใช้จ่ายตามข้อ 5.6.5 ค่าตอบแทน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา ค่าใช้จ่ายในการเดินทางสำหรับ จนท. ออกปฏิบัติงานให้ความช่วยเหลือฯ กรณี งปม. ไม่เพียงพอหรือมิได้ตั้งไว้ และให้เบิกจ่ายตามระเบียบของทางราชการ และข้อ 5.5.6 ค่าอาหารจัดเลี้ยง จนท. และผู้มาให้ความช่วยเหลือวันละ ไม่เกิน 3 มื้อๆละ ไม่เกิน 30 บาท/คน ทั้งนี้ต้องไม่ได้รับเงินอื่นใดจากทางราชการอีก อปท.เบิกค่านอกเวลาราชการฯให้กับ จนท. ที่ประจำศูนย์ช่วยเหลือฯ และมีการเบิกค่าจ้างเหมาทำอาหาร จึงเป็นการซ้ำซ้อน ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งไม่เป็นไปตาม นส.ที่ มท 0808.4/ว 1562 ลว. 15 พค.2550 เรื่อง การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาฯ กล่าวคือ งานที่เบิกจ่ายมิใช่งานตามหน้าที่ปกติ และการขออนุมัติต้องระบุเหตุผลความจำเป็นพร้อมปริมาณงานที่ต้องปฏิบัติเพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาอนุมัติ ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ข้อทักท้วงของ สตง. 2. การเบิกจ่ายงบกลาง ประเภทเงินสำรองรายจ่าย -จัดซื้อครุภัณฑ์และจ้างเหมาปรับปรุงป้ายชื่อ สนง. อปท. ชี้แจงว่า เนื่องจาก ตาม รบ.มท.ว่าด้วย วิธีงบประมาณฯ ข้อ 19 กำหนดให้มีเงินสำรองจ่าย เพื่อกรณีจำเป็นตามความเหมาะสม โดยอาศัยอำนาจของคณะผู้บริหาร ตาม พรบ.เทศบาลฯ 2496 และ (ฉ.11) 2543 ม.50 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ข้อทักท้วงของ สตง. กรณีการจ่ายงบกลาง ความเห็น สตง. “กรณีการเบิกจ่ายเงินงบกลาง ไม่ใช่รายจ่ายเพื่อการ สาธารณภัย และไม่ใช่เป็นกรณีฉุกเฉินที่เกิดสาธารณภัยขึ้น หรือเป็นการบรรเทาปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนเป็นส่วนรวม ตาม นส.มท. ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2342 ลว. 28 พ.ค.2555 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของ อปท. ข้อ 2 วรรคห้า ซึ่งกำหนดการตั้งงบประมาณประเภทเงินสำรองจ่าย ว่าให้ตั้งจ่ายเพียงพอต่อการเผชิญเหตุสาธารณภัยตลอดปี และให้นำเงินสำรองจ่ายไปใช้จ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้นหรือบรรเทาปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนเป็นส่วนรวมเท่านั้น” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ข้อทักท้วงของ สตง. 3. การเบิกจ่ายงบกลาง ประเภทเงินสำรองรายจ่าย -จัดซื้อครุภัณฑ์ ได้แก่ กล้องดิจิตอล เครื่องขยายเสียง โม่ผสมปูนพร้อมมอเตอร์ เครื่องปั่นไฟพร้อมเชื่อมตู้เชื่อมพร้อมอุปกรณ์ ม้านั่งหินอ่อน อปท.ชี้แจงว่า ไม่ได้บรรจุเข้าแผนพัฒนาสามปี ไม่ได้ตั้งงปม./โอน เนื่องจากการนำเรื่องเข้าที่ประชุมสภาฯใช้เวลานาน ทำให้ไม่ทันต่อความจำเป็น จึงขออนุมัติจ่ายจากเงินสำรองจ่าย ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ข้อทักท้วงของ สตง. ความเห็นของ สตง. “กรณีการเบิกจ่ายเงินงบกลาง ไม่ใช่รายจ่ายเพื่อ การสาธารณภัย และไม่ใช่เป็นกรณีฉุกเฉินที่เกิดสาธารณภัยขึ้น หรือเป็นการบรรเทาปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนเป็นส่วนรวม ตาม นส.มท. ด่วนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2342 ลว. 28 พ.ค.2555 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ของ อปท. ข้อ 2 วรรคห้า ซึ่งกำหนดการตั้งงบประมาณประเภทเงินสำรองจ่าย ว่าให้ตั้งจ่ายเพียงพอต่อการเผชิญเหตุสาธารณภัยตลอดปี และให้นำเงินสำรองจ่ายไปใช้จ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้นหรือบรรเทาปัญหาความเดือนร้อนของประชาชนเป็นส่วนรวมเท่านั้น” ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี
ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง Ph.D. RATTANAPORNTOY@GMAIL.COM ถามมา – ตอบไป ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง Ph.D. RATTANAPORNTOY@GMAIL.COM 086-5093040 IDLINE toy4661 ดร.รัตนาภรณ์ คชมะเริง นักวิชาการเงินและบัญชี