การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การอภิปราย หัวข้อ “การนำนโยบายสู่การปฏิบัติและเตรียม ความพร้อมรับมืออุบัติเหตุทางถนน” นายเชษฐา โมสิกรัตน์ ผอ.กองนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย.
Advertisements

การวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายสนับสนุน
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
Dr. Montri Chulavatnatol
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปรัชญา วิสัยทัศน์ ปณิธาน พันธกิจ
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
Hilda  Taba  (ทาบา).
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
“การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว” ผู้ช่วยจัดหางานจังหวัดนครสวรรค์
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
การประเมินผลการเรียนรู้
การประเมินการเรียนการสอน
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
การสร้างข้อสอบตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร
ข้อกำหนดการศึกษา (TERM OF REFERENCE)
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
การพัฒนาหลักสูตรในรูปแบบ Productive Learning
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การศึกษา ในฐานะเป็นปัจจัย กำลังอำนาจแห่งชาติ
สวัสดีครับ สวัสดีค่ะ.
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ทิศทางการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เวชระเบียน และ สถิติ Medical Record and Statistics
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
เทคนิคการเขียนข้อสอบ
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
แนวคิดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education) วิทยา ใจวิถี ผู้อำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ wittaya2503@gmail.com, 081 – 764 – 3448

“Mr.Wittaya Jaiwithee”

Education 1.0 การศึกษาที่ครูเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้สู่ผู้เรียน แบบในอดีตที่ผ่านมา Education 3.0 การส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อการสอนทุกรูปแบบ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อดิจิทัล ผสมกับการทำงานเป็นกลุ่ม และปรับการสอนให้มีรูปแบบ Interactive learning (การเรียนรู้แบบโต้ตอบ) รวมทั้งการนำสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เข้ามาเป็นเครื่องมือช่วยในการพัฒนาการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น Education 4.0 สังคมแห่งการเรียนรู้แบบใหม่ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมิใช่เพียงแค่ได้รับความรู้ แต่ต้องเป็นผู้ที่สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่ผู้สอนจะต้องพัฒนาศักยภาพเพื่อก้าวผ่านจากการเรียนการสอนระบบ Education 3.0 เข้าสู่ระบบการเรียนการสอนแบบใหม่ หรือที่เรียกว่า Education 4.0 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

“Mr.Wittaya Jaiwithee”

“Mr.Wittaya Jaiwithee”

2. ครู 1. หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ 6. การบริหารจัดการ จุดเน้น 6 ยุทธศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ การปฏิรูปการศึกษาอาชีวศึกษา 1. หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ 2. ครู 3.การทดสอบประเมินประกันคุณภาพและการพัฒนามาตรฐานการศึกษา 4. ผลิตพัฒนากำลังคนและงานวิจัยสอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาประเทศ 5. ICT เพื่อการศึกษา 6. การบริหารจัดการ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

ตัวชี้วัดของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปี 2560 ขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทยจากรายงาน (IMD 2017) (Education/Educational System) ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (V-NET) จำนวนนักศึกษาที่เข้าร่วมการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Work-integrated Learning) เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 (ทวิภาคี) ร้อยละของสถานศึกษาที่ผ่านการประเมินคุณภาพการศึกษา(การประกันคุณภาพภายใน/ประเมินคุณภาพภายนอก) ระดับความสำเร็จในการนำเทคโนโลยีสารสนเทซมาใช้ในการเรียนการศึกษาการเรียนรู้ (eDLTV/Smart Classroom) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

ตัวชี้วัดของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปี 60 ร้อยละผู้สำเร็จการศึกษาระดับอาชีวศึกษาที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระในสาขาที่เกี่ยวข้องภายใน 1 ปี ** ร้อยละผู้เข้าเรียนมัธยมศึกษาตอบปลายประเภทอาชีวศึกษา : สามัญศึกษา ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรด้านอาชีวศึกษา จำนวนสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรตามคำขอจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา** “Mr.Wittaya Jaiwithee”

การจัดการอาชีวศึกษา : เป้าหมายที่ต้องการ พัฒนาคนให้เต็มศักยภาพโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม สร้างพลังให้คนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้การศึกษาตลอดชีวิต มีคุณวุฒิวิชาชีพ จัดการเรียนรู้แบบเปิดและยืดหยุ่น มีการรับรองและเทียบโอนประสบการณ์ ให้ความสำคัญสูงกับการอาชีวศึกษาโดยกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ มีการปฏิรูปการลงทุนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา มีเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด ในการจัดการเพื่อคุณภาพ มีการเชื่อมโยงระหว่างการศึกษาด้านต่าง ๆ การศึกษาต่อเนื่องและการทำงาน ใช้การเรียนแบบสมรรถนะเป็นฐาน โดยมีทักษะหลัก ทักษะที่จำเป็นเพื่อการดำเนินชีวิต บุคลากรต้องมีคุณวุฒิ คุณภาพ และคุณสมบัติที่เหมาะสม โดยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สถานภาพของผู้จบและผู้ทำงานในสายวิชาชีพเทียบได้กับสาขาวิชาชีพอื่น

10 ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ ผลิตและพัฒนากำลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการและรองรับการพัฒนาประเทศ หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพื่อการศึกษา ระบบตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา ระบบสื่อสารและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา พัฒนาระบบการผลิต การสรรหา และการพัฒนาครู ระบบการบริหารจัดการ สร้างโอกาสทางการศึกษา พัฒนาการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยเพื่อพัฒนา เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

11 นโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การคืนครูสู่ห้องเรียน การผลิตและพัฒนาครู การจัดการเรียนการสอนสะเต็มในสถานศึกษา การยกระดับความรู้ภาษาอังกฤษ การอ่านออกเขียนได้ ทวิภาคี ทวิศึกษา อาชีวศึกษาเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยอุดมศึกษาพี่เลี้ยง โครงการประชารัฐ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารในสถานศึกษา

Road Map 11 นโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใน1 ปี : ให้เด็กทุกคนได้เข้าถึงการศึกษาและคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน ภายใน 1 ปี:ส่งเสริมให้ครูใช้ศักยภาพในการสอนอย่างเต็มที่ ภายใน 1 ปี : จะทำให้มีครูครบตามเกณฑ์ ภายใน 2 ปี : จะทำให้มีครูประจำชั้นครบทุกห้อง ภายใน 3 ปี : จะทำให้มีครูตรงสาขา ภายใน 2 ปี : จะทำให้นักเรียนท่องจำในสิ่งที่ควรจำ และนำสิ่งที่จำไปฝึกคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ครบทุกโรงเรียน ภายใน 5 ปี : จะทำให้มีการเรียนการสอน STEM ศึกษาครบทุกโรงเรียน

Road Map 11 นโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ (ต่อ) ภายใน 3 ปี : ยกระดับภาษาอังกฤษให้นักเรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ภายในปี 2560 : ปรับระบบการสอบ O-Net ให้เป็นที่ยอมรับ และสะท้อนถึงคุณภาพของการจัดการศึกษา ภายใน 10 ปี : จะผลิตกำลังคนให้ตรงต่อความต้องการของประเทศ ผลิตคนดีออกสู่สังคม ภายในปี 2560 : ซ่อมบ้านพักครูให้แล้วเสร็จทั้งหมด การแก้ปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบ

แผนการศึกษาอาเซียน 2559 - 2563 : ประเด็นสำคัญทางด้านการศึกษา ส่งเสริมให้เกิดความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนผ่านการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และความรู้พื้นเมือง ยกระดับคุณภาพและสร้างโอกาสการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับทุกคนโดยไม่ละเลยผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส พัฒนาการใช้เทคโนโลยีและการสื่อสาร สนับสนุนการพัฒนาอาชีวศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตในภูมิภาค ส่งเสริมการดำเนินงานของทุกภาคส่วนในการพัฒนาคนให้ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สร้างความเข้มแข็งให้กับการอุดมศึกษาด้วยการพัฒนาระบบประกันคุณภาพทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมบทบาทของการอุดมศึกษาให้เข้มแข็งด้วยการสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ประกอบการกับมหาวิทยาลัย ดำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา

“Wittaya Jaiwithee”

“Wittaya Jaiwithee”

“Wittaya Jaiwithee”

“Wittaya Jaiwithee”

“Wittaya Jaiwithee”

“Wittaya Jaiwithee”

“Wittaya Jaiwithee”

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดรายการค่าใช้จ่ายในการฝึกเตรียมเข้าทำงาน (๒) รายละเอียดเกี่ยวกับรายการค่าใช้จ่ายในการดำเนินการฝึก ซึ่งจะได้รับการส่งเสริมตามประเภทและอัตรา ดังนี้ ก. ค่าสอนหรือค่าตอบแทนวิทยากร เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน ชั่วโมงละ ๑,๒๐๐ บาท ทั้งนี้ไม่เกินวันละแปดชั่วโมง ข. ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้ารับการฝึก ในวันที่มา รายงานตัวเข้ารับการฝึก และในวันที่เดินทางกลับภูมิลำเนาเมื่อสำเร็จ การฝึก เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินเที่ยวละ ๑,๐๐๐ บาท ค. ค่าพาหนะเดินทางสำหรับผู้เข้ารับการฝึกในระหว่างเข้ารับ การฝึก เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินวันละ ๑๐๐ บาท เฉพาะวันที่เข้ารับ การฝึก “Wittaya Jaiwithee”

ซ. ค่าจัดทำเอกสารประกอบการฝึก เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน คนละ ๓,๐๐๐ บาท ง. ค่าอาหารและค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้า รับการฝึก และผู้สอนหรือวิทยากรเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๒๐๐ บาทต่อวัน เฉพาะวันที่มีการฝึก จ. ค่าเบี้ยเลี้ยงสำหรับผู้เข้ารับการฝึกเท่าที่จ่ายจริง เฉพาะ วันที่เข้ารับการฝึก ฉ. ค่าที่พักสำหรับผู้เข้ารับการฝึก เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน เดือนละ ๓,๐๐๐ บาท หรือไม่เกินวันละ ๑๐๐ บาท ช. ค่าเครื่องแต่งกาย สำหรับผู้เข้ารับการฝึก เท่าที่จ่าย จริงไม่เกิน ๒,๐๐๐ บาท ซ. ค่าจัดทำเอกสารประกอบการฝึก เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน คนละ ๓,๐๐๐ บาท ฌ. ค่าอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล หรือเครื่องมือ ประจำตัวสำหรับผู้เข้ารับการฝึก ที่จำเป็นต้องใช้ในการฝึกอบรม ฝีมือแรงงาน เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๓,๐๐๐ บาท ญ. ค่าประกันอุบัติเหตุระหว่างการฝึกสำหรับผู้เข้ารับการฝึก เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๓,๐๐๐ บาท “Wittaya Jaiwithee”

(Science Technology Engineering Mathematics) “STEM” (Science Technology Engineering Mathematics) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

“Mr.Wittaya Jaiwithee”

เป็นคำย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา “STEM” เป็นคำย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ (Science) ศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ โดยอาศัยกระบวนการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry) เทคโนโลยี (Technology) ศึกษากระบวนการทำงานที่มีการประยุกต์ศาสตร์สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาสิ่งต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ หรือความจำเป็นของมนุษย์ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) ศึกษาการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือสร้างสิ่งต่างๆ เพื่อมาอำนวยความสะดวกของมนุษย์ โดยอาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และกระบวนการทางเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้สร้างสรรค์ชิ้นงานนั้นๆ คณิตศาสตร์ (Mathematics) ศึกษาการคำนวณ หรือวิชาที่เกี่ยวกับการคำนวณ เป็นพื้นฐานสำคัญในการศึกษาและต่อยอดทางวิศวกรรมศาสตร์  “บูรณาการเข้าด้วยกันในการดำเนินชีวิตและการทำงานรวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน” “Mr.Wittaya Jaiwithee”

ขั้นตอน STEM ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา/นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา ขั้นที่ 1 ระบุปัญหา/นวัตกรรมที่ต้องการพัฒนา ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 3 ออกแบบวิธีแก้ปัญหา (S+M+T) ขั้นที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา (E) ขั้นที่ 5 ทดสอบ ประเมินผลและปรับปรุง (E) ขั้นที่ 6 นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรือผลการพัฒนานวัตกรรม “Mr.Wittaya Jaiwithee”

ลักษณะสำคัญของการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา มุ่งเน้นการบูรณาการ ให้เห็นความสัมพันธ์กับชีวิตจริง มุ่งเน้นทักษะศตวรรษที่ 21 ท้าทายผู้เรียน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

"การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" 1. เรียนรู้จากการทำโครงงาน (Projects) 2.จัดการเรียนรู้ตามความต้องการของผู้เรียน (On-demand) 3.ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับรายบุคคล (Personalized) 4.ผสมผสานเน้นการทำงานร่วมกัน (Collaborative) 5.จัดห้องเรียนสู่ชุมชน โลกกว้างใหญ่ (Global community) 6.เรียนรู้ผ่านเครือข่าย ให้สร้างสรรค์ (Web-based) 7.ประเมินเพื่อปรับปรุงต่อเนื่อง (Formative Assessment) 8.มุ่งมั่นนำไปใช้ในชีวิต (Learning for Life) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 1. ความรับผิดชอบ และการปรับตัว 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ความคิดสร้างสรรค์และความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 4.การคิดอย่างมีวิจารณญาณและคิดเป็นระบบ 5.ทักษะการใช้ข้อมูลสารสนเทศและสื่อ 6.ทักษะระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานร่วมกัน 7.การระบุกำหนด และแก้ปัญหา 8.การกำกับตนเอง 9.ความรับผิดชอบต่อสังคม “Mr.Wittaya Jaiwithee”

1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิประเภทวิชา และสาขาวิชาต่างๆ จะต้องครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน คือ 1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป 3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ “Wittaya Jaiwithee”

จุดประสงค์ของการศึกษา Benjamin S. Bloom ได้จำแนกจุดประสงค์ ดังนี้ 1. Cognitive Domain พุทธิพิสัย 2. Psychomotor Domain ทักษะพิสัย 3. Affective Domain จิตพิสัย “Mr.Wittaya Jaiwithee”

สมรรถนะ ( Competence / Competency ) หมายถึง คุณลักษณะเชิงพฤติกรรม ที่ซ่อนอยู่ภายในตัวบุคคล ได้แก่ องค์ความรู้ ทักษะ แรงจูงใจ อุปนิสัย จินตภาพส่วนตน ทำให้ผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามเกณฑ์และเป้าหมายหรือสูงกว่าเกณฑ์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ ในความหมายของงานอาชีพหรือวิชาชีพ คือ ความสามารถในการปฏิบัติงานอาชีพ โดยใช้ความรู้ ทักษะและเจตคติที่บูรณาการกันอย่างแนบแน่น เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

หลักการและวัตถุประสงค์การจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จัดการอาชีวศึกษาที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษา อาชีวศึกษากับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานของรัฐ ร่วมกันกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย การจัดหลักสูตร แผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ การฝึกหัดทำงาน การวัดผลและการประเมินผล การจัดการศึกษา การคิดหน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต และ โครงสร้างหลักสูตร ให้เป็นไปตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิ อาชีวศึกษาแต่ละระดับ “Wittaya Jaiwithee”

ผู้เรียนมีรายได้และสวัสดิการระหว่างการฝึกอาชีพ การฝึกอาชีพ (ไม่ใช่การฝึกงาน) ในสถาน ประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ โดยมี ระยะเวลาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของการจัดการศึกษาแต่ละ ระดับ ผู้เรียนมีรายได้และสวัสดิการระหว่างการฝึกอาชีพ ปฏิบัติงานได้ตรงตามสมรรถนะที่สถานประกอบการ ต้องการ ตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพและมาตรฐาน สมรรถนะของสาขาวิชานั้นๆ สอดคล้องกับชีวิตในงานอาชีพ ใช้สมรรถนะอาชีพเป็น ตัวกำหนด เป็นหลักสูตรที่จัดกระบวนการเรียนการสอน ฝึกให้ ผู้เรียนเกิดทักษะระดับเชี่ยวชาญ ทั้งการฝึกอบรม ฝึก ทักษะ “Wittaya Jaiwithee”

การประเมินต้องไม่เน้นการใช้แบบทดสอบ บูรณาการในรายวิชาต่างๆ เป็นเนื้องานอาชีพ เดียวกันในลักษณะเป็นอาชีพใดอาชีพหนึ่ง หลักสูตรต้องพัฒนาร่วมกับสถานประกอบการ และ สถานประกอบการกำหนดว่าต้องการทักษะฝีมือ อะไรบ้าง การทำงานในสถานประกอบการ เวลาช่วงเรียนไม่ เป็นคาบ/ชั่วโมง ทำงานจริงเหมือนพนักงานปกติ ผู้เรียนทำโครงงานที่ช่วยลดค่าใช้จ่ายของงานที่ทำ และเพิ่มประสิทธิภาพงานที่รับผิดชอบ เป็นโครงงาน เล็กๆ หรือทำโครงงานวิจัยในระหว่างอยู่สถาน ประกอบการ การประเมินต้องไม่เน้นการใช้แบบทดสอบ “Wittaya Jaiwithee”

น้ำหนักการประเมินเน้นให้ครูฝึกมากกว่าครูนิเทศ ทำการประเมินโดยใช้สภาพจริงเน้นใน 3 เรื่อง ได้แก่ การสังเกต การพูดคุย/สัมภาษณ์ การตรวจสอบชิ้นงาน ครูฝึกในสถานประกอบการเป็นผู้กำหนดเกณฑ์และให้ เกรดการให้ค่าคะแนน วิธีการประเมินใช้แบบอิงการพัฒนาการ (Growth) มากกว่าอิงเกณฑ์ กระบวนการประเมิน ใช้กระบวนการแบบต่อเนื่อง (Formative Evaluation) ประเมินทุกวัน ประเมินแบบ ไม่เป็นทางการ “Wittaya Jaiwithee”

การประเมินไม่ให้เป็นภาระงานให้สถานประกอบการที่ ต้องสร้างเครื่องมือวัด การประเมินผลและการสอนงานอยู่ในรูปของเนื้องาน การประเมินอาจใช้รูปแบบการผ่านหรือไม่ผ่านก็ได้ ไม่เน้นการประเมินแบบคะแนน “Wittaya Jaiwithee”

องค์ประกอบสำคัญในการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีบันทึกความร่วมมือ MOU (Memorandum of Understanding) ระหว่าง สอศ./สถาบัน/ สถานศึกษากับสถานประกอบการ มีสัญญาการฝึกอาชีพระหว่างสถานประกอบการกับ ผู้เรียน มีแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ตลอด ระยะเวลาการฝึกอาชีพที่กำหนดในแผนการเรียน ตลอดหลักสูตร มีการประเมินมาตรฐานการฝึกอาชีพตามข้อตกลง และตามแผนการฝึกอาชีพที่จัดทำร่วมกันระหว่าง สถานประกอบการและสถานศึกษา “Wittaya Jaiwithee”

มีครูฝึก ซึ่งมีคุณสมบัติตามพระราชบัญญัติการ อาชีวศึกษา (ปวช.,ปวส. 1 : ไม่เกิน 10) (ปริญญาตรี 1 : ไม่เกิน 8) ประชาสัมพันธ์กระบวนการเรียน การฝึกอาชีพ ให้กับสถานศึกษา ผู้เรียน และผู้ปกครองทราบ มีสวัสดิการและค่าตอบแทนที่เหมาะสมให้กับนักเรียน นักศึกษา ตามข้อตกลงระหว่างสถานประกอบการและ สถานศึกษา มีใบรับรองการผ่านงานของสถานประกอบการ เมื่อ สิ้นสุดการฝึกอาชีพ ลงนามโดยสถานประกอบการ มีวุฒิบัตรการศึกษาระบบทวิภาคีลงนามร่วมกัน 2 ฝ่าย คือ สถานประกอบการและสถานศึกษา “Wittaya Jaiwithee”

ข้อควรปฏิบัติของสถานศึกษาในการนิเทศ (ลงนามโดยผู้อำนวยการสถานศึกษา) แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ของสถานศึกษา คณะกรรมการนิเทศของแต่ละสาขางาน จัดทำแผนนิเทศ การฝึกอาชีพของผู้เรียน จัดทำปฏิทินการนิเทศและควรแจ้งสถานประกอบการก่อน การนิเทศล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ในกรณีที่สถาน ประกอบการอยู่ใกล้หรือมีผู้เรียนฝึกอาชีพอยู่ในสถานที่ เดียวกันหลายสาขางาน ให้ใช้ครูนิเทศก์ร่วมกันได้ หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จัดทำเอกสารการที่ เกี่ยวข้องกับการนิเทศ ครูนิเทศก์ออกนิเทศผู้เรียนในสถานประกอบการแห่งละไม่ น้อยกว่า 3 ครั้งต่อภาคเรียน “Wittaya Jaiwithee”

ครูนิเทศก์รายงานผลการนิเทศให้ผู้บริหารสถานศึกษา ทราบ สามารถนับชั่วโมงนิเทศการฝึกอาชีพในสถาน ประกอบการ ให้คิดเป็นเวลาชั่วโมงสอนปกติ หาก ชั่วโมงสอนที่สอนเกินภาระงานที่กำหนด สามารถเบิก ค่าสอนเกินภาระงานได้ตามระเบียนราชการ ผู้เรียนสามารถรายงานผลการฝึกอาชีพของตนเองและ เพื่อน มายังสถานศึกษาทางระบบสารสนเทศได้อีกทาง หนึ่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษามอบหมายให้ครูที่ปรึกษา/ครู นิเทศก์ ติดตามแก้ปัญหาการฝึกอาชีพของผู้เรียน ให้ใช้รถยนต์ของสถานศึกษา (ถ้ามี) เพื่อการนิเทศใน สถานประกอบการ “Wittaya Jaiwithee”

กรณีใช้รถยนต์ส่วนตัว ให้ขออนุญาตเบิก ค่าชดเชยน้ำมันเชื้อเพลิงได้ตามของระเบียบ ราชการ กรณีใช้ยานพาหนะประจำทาง/รถรับจ้าง ให้ขอ อนุมัติเบิกค่าพาหนะเดินทางได้ตามระเบียบของ ราชการ “Wittaya Jaiwithee”

แนวทางจัดทำ แผนการฝึกอาชีพ “Wittaya Jaiwithee”

การจัดทำแผนการฝึกอาชีพ สถานประกอบการและสถานศึกษาร่วมประชุม ปรึกษา แนวคิดการทำแผนการฝึกโดยสถานประกอบการ (ทักษะ ความรู้ พฤติกรรมที่ดี) ศึกษากระบวนการการทำงานของสถานประกอบการ (หลักสูตรตามสาขาวิชาที่เปิดสอน) สรุปกระบวนการ > งานตามสาขาวิชา > วิเคราะห์งาน > (งานหลัก,งานย่อย) ทำแผนการฝึก > กำหนดระยะเวลาการฝึก / เนื้อหา ศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะและกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก กำหนดรูปแบบแผนการฝึก “Wittaya Jaiwithee”

การกำหนดแผนการฝึกอาชีพ สถานศึกษา โดยครูผู้สอน จัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้/ ประมวลการสอน เป็นเครื่องมือการสอน สถานประกอบการ โดยครูนิเทศและครูฝึก นำหัวข้อการสอนกับ ลักษณะงาน มาจัดทำ แผนการฝึกอาชีพ “Wittaya Jaiwithee”

แผนการเรียนทวิภาคีอย่างน้อยครึ่งหลักสูตรจัดอย่างไร ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 กลุ่มรายวิชา กลุ่มรายวิชา แผนการเรียนรู้ครึ่งหลักสูตร มาจัดทำแผนการฝึกอาชีพ วิเคราะห์รายการสอนรายวิชาเป็นลักษณะงานในแผนการฝึกอาชีพ ผู้สอนเจ้าของวิชาเติมเต็มเนื้อหาวิชาหรือรายวิชาที่ขาด ผู้สอนรายวิชา/ครูฝึก นิเทศและประเมินผลการฝึกอาชีพเป็นรายวิชา “Wittaya Jaiwithee”

การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา 1. ตำแหน่ง (Job Position) ลักษณะงาน (Job Description) 1. 2. 3. 2. ตำแหน่ง (Job Position) “Wittaya Jaiwithee”

(Performance Criteria) แผนการฝึกอาชีพ ........................................................................ ชื่อสถานประกอบการ .................................ปีการศึกษา .........................ภาคเรียนที่................ ระดับ ....................................สาขาวิชา ......................สาขางาน......................... ที่ งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน/ รายการสอน  1    2  3  4  5 รวมระยะเวลาการฝึก................................สัปดาห์ “Wittaya Jaiwithee”

(ตัวอย่าง) การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ   งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา ตำแหน่ง (Job Position) □ ช่างซ่อม เครื่องยนต์ ลักษณะงาน (Job Description) 1. งานบริการอุปกรณ์ระบบแก็สรถยนต์ 2. งานบริการอุปกรณ์ควบคุมระบบแก็ส รถยนต์ 3. งานบริการปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้ ระบบแก็ส “Mr.Wittaya Jaiwithee”

แผนการฝึกอาชีพ วิชางานเทคนิคยานยนต์ 3 (Performance Criteria) แผนการฝึกอาชีพ วิชางานเทคนิคยานยนต์ 3 ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 2 ระดับ ปวส. สาขาวิชาเทคนิค เครื่องกล สาขางานยานยนต์ งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน 1. งานบริการอุปกรณ์ระบบแก็สรถยนต์ บริการอุปกรณ์ระบบแก็ส NGV ตามคู่มือที่กำหนด .แผนการใช้เครื่องมือได้จัดทำอย่าชัดเจน เครื่องมือได้จัดเตรียมไว้พร้อมใช้งาน วัสดุได้จัดเตรียมตามข้อกำหนด บริการอุปกรณ์ระบบแก็ส NGV ตามคู่มือกำหนด 60   งานระบบแก็ส ยานยนต์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การบริการอุปกรณ์แก็สยานยนต์ (อุปกรณ์ NGV ) รายการสอน 1.การวางแผนการใช้เครื่องมือ 2.การบริการอุปกรณ์แก็ส NGV ยานยนต์ 3.การตรวจสอบผลงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

แผนการฝึกอาชีพ วิชาการประกอบคอมพิวเตอร์ (Performance Criteria) แผนการฝึกอาชีพ วิชาการประกอบคอมพิวเตอร์ ที่ งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน 1 การประกอบคอมพิวเตอร์ ประกอบคอมพิวเตอร์ตามหลักวิชาการ   1. แผนการใช้เครื่องมือได้จัดทำอย่างชัดเจน 2. เครื่องมือได้จัดเตรียมไว้พร้อมใช้งาน 3. วัสดุได้รับการจัดเตรียมตามข้อกำหนด 4. คอมพิวเตอร์ได้ประกอบตามขั้นตอน 5. คอมพิวเตอร์ผ่านการตรวจสอบในสภาพพร้อมใช้ 6. บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานได้ผ่านการทำความสะอาดหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน 6 นายสมพงศ์ .. หน่วยที่ 5 การประกอบคอมพิวเตอร์ รายการสอน 1. การวางแผนการใช้เครื่องมือ 2. การประกอบคอมพิวเตอร์ 3. การตรวจสอบผลงาน “Wittaya Jaiwithee”

การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา 1. ตำแหน่ง (Job Position) งานเวชระเบียน 1 งานห้องบัตร ลักษณะงาน (Job Description) งานจัดเรียงเวชระเบียนผู้ป่วย งานบริการทำประวัติผู้ป่วยนอก (รายใหม่) งานสืบค้น และบันทึกประวัติผู้ป่วยนอก (รายเก่า) จัดเก็บข้อมูลแฟ้มประวัติผู้ป่วย ตรวจสอบสิทธิผู้ประกันตน “Wittaya Jaiwithee”

การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา 2. ตำแหน่ง (Job Position) งานเวชระเบียน 2 งานเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ลักษณะงาน (Job Description) งานสรุปสถิติผู้มาใช้บริการ ตรวจสอบรหัสโรค (Code ICD – 10) งานเอกสารผู้ป่วย Admit งานเอกสารผู้ป่วย Refer “Wittaya Jaiwithee”

การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา 3. ตำแหน่ง (Job Position) งานเวชระเบียน 3 งานเวชระเบียนผู้ป่วยใน ลักษณะงาน (Job Description) จัดทำ-ตรวจสอบรหัสโรคตามหลัก ICD 10 และ ICD 9 CM ของผู้ป่วยที่เบิกเงินตามสิทธิต่าง ๆ จัดทำ-ตรวจสอบรหัสโรคตามหลัก ICD 10 และ ICD 9 CM ของผู้ป่วยที่ส่งเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล เช็ค DRG จัดทำ-ตรวจสอบและให้รหัสโรคผ่าตัด ค่าใช้จ่ายสูงสิทธิประกันสังคมเครือข่ายอื่น ๆที่เรียกเก็บ งานบริการแก่ผู้ป่วยและตัวแทนประกันชีวิต ด้านการขอสำเนาประวัติเวชระเบียนและใบรับรองแพทย์ “Wittaya Jaiwithee”

การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา 4. ตำแหน่ง (Job Position) งานเวชระเบียน 4 งานเวชระเบียนอื่น ๆ ลักษณะงาน (Job Description) ตรวจสอบและรับผิดชอบการเบิกวัสดุครุภัณฑ์ที่ใช้ในหน่วยงานเวชระเบียน ตรวจสอบค่าใช้จ่ายของลูกหนี้เพื่อส่ง Fax Claim ตรวจสอบความถูกต้องของหัตถการทางการแพทย์ OPD / IPD เพื่อส่งให้ผู้ตรวจสอบก่อนจ่ายให้แพทย์ บริการยืม- คืน แฟ้มประวัติผู้ป่วย “Wittaya Jaiwithee”

การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา ตำแหน่ง (Job Position) เจ้าหน้าที่ห้องยา คลังยา ลักษณะงาน (Job Description) การจัด - จ่ายยา เวชภัณฑ์ตามคำสั่งของเภสัชกร ขั้นตอนจ่ายยาและวิธีการอธิบายวิธีทานยาให้ผู้มาใช้บริการ การตรวจเช็คยาให้เพียงพอใช้จ่ายใน 24 ชั่วโมง การตรวจสอบลงบันทึกยาควบคุม , ยาเสพติด , วัตถุออกฤทธิ์ทางจิต การใช้อักษรย่อในแผนกเภสัชกรรม การลงรายการยาที่รับยาในคอมพิวเตอร์ สมุด และสต๊อกการ์ด การตรวจสอบยาที่คงเหลือน้อยในสต๊อกเพื่อรายงานส่งฝ่ายจัดซื้อ “Wittaya Jaiwithee”

ลักษณะงาน (Job Description) ดูแลความสะอาดอุปกรณ์ภายในหน่วยงาน ตรวจสอบจำนวนยาที่เบิกจากคลัง จัดยาในชั้นวางตามคำแนะนำของผู้ควบคุมห้องยา จัดทำรายงานยาหมดอายุ ตรวจเช็คยาที่ไม่ได้จ่ายเพื่อรายงานเภสัชกร ตรวจสอบ ใบ Invoice กับยาต้องเป็นไปตามเงื่อนไขในใบสั่งซื้อ เก็บยาเข้าสต๊อก แยกตามประเภท เรียงตามลำดับตัวอักษร ตัดสต๊อกการ์ด และลงจำนวนยาคงเหลือในใบเบิกเพื่อตรวจสอบกับของจริง ลงรายการโอนยาจากคอมพิวเตอร์ไปที่ห้องยา ส่งใบรายงานการรับยาให้เภสัชกรตรวจสอบ “Wittaya Jaiwithee”

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 โครงสร้าง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชา เทคนิคเครื่องกล “Mr.Wittaya Jaiwithee”

1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มทักษะภาษาและการสื่อสาร (ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต) 1.2 กลุ่มทักษะการคิดและการแก้ปัญหา (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 1.3 กลุ่มทักษะทางสังคมและการดำรงชีวิต (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 2. หมวดวิชาทักษะชีพ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน (15 หน่วยกิต) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ (21 หน่วยกิต) 2.3 กลุ่มทักษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต) 2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) “Mr.Wittaya Jaiwithee”

3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์)   รวม ไม่น้อยกว่า 83 หน่วยกิต “Mr.Wittaya Jaiwithee”

มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเทคนิคเครื่องกล ประกอบด้วย 1. ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ 1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่ ความเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริตกตัญญูกตเวที อดกลั้น ละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน มีจิตสำนึกและเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพและสังคม เป็นต้น 1.2 ด้านพฤติกรรมลักษณะนิสัย ได้แก่ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความรักสามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ เชื่อมั่นในตนเอง ขยัน ประหยัด อดทน พึ่งตนเอง ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยอาชีวอนามัย การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 1.3 ด้านทักษะทางปัญญา ได้แก่ ความรู้ในหลักทฤษฎี ความสนใจใฝ่รู้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ เป็นต้น “Mr.Wittaya Jaiwithee”

2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ได้แก่ 2.1 สื่อสารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในชีวิตประจำวันและเพื่อพัฒนางานอาชีพ 2.2 แก้ไขปัญหาและพัฒนางานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2.3 มีบุคลิกภาพและคุณลักษณะเหมาะสมกับการปฏิบัติงานอาชีพและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น 2.4 ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์และเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมและพัฒนางานอาชีพ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

3. ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ 3.1 วางแผน ดำเนินงาน จัดการและพัฒนางานอาชีพตามหลักการและกระบวนการ โดยคำนึงถึงการบริหารงานคุณภาพ การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม และหลักความปลอดภัย 3.2 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่อพัฒนางานอาชีพ 3.3 ทดสอบความแข็งแรงของวัสดุ 3.4 ทดสอบสมบัติของน้ำมันเชื้อเพลิง วัสดุหล่อลื่นและของไหล 3.5 ทดสอบการทำงานของระบบนิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์ 3.6 ประยุกต์ใช้หลักการทางเทอร์โมไดนามิกส์กับเครื่องยนต์สันดาปภายในและระบบปรับ อากาศ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

สาขางานเทคนิคยานยนต์ 3.7 บริการระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมยานยนต์ 3.7 บริการระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ควบคุมยานยนต์ 3.8 บริการเทคโนโลยียานยนต์สมัยใหม่ 3.9 บริการเครื่องยนต์แก๊สโซลีนและเครื่องยนต์ดีเซลควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ 3.10 บริการงานเชื้อเพลิงแก๊สยานยนต์ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

รหัสวิชา ชื่อวิชา ท - ป - น 3101-5101 งานเทคนิคยานยนต์ 1 * - *- * รายวิชาทวิภาคี รหัสวิชา ชื่อวิชา ท - ป - น 3101-5101 งานเทคนิคยานยนต์ 1 * - *- * 3101-5102 งานเทคนิคยานยนต์ 2 * - *- * 3101-5103 งานเทคนิคยานยนต์ 3 * - *- * 3101-5104 งานเทคนิคยานยนต์ 4 * - *- * 3101-51XX งานเทคนิคยานยนต์ … * - *- * “Mr.Wittaya Jaiwithee”

2.4 ฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) ให้เลือกเรียนรายวิชา 3101-8001 หรือรายวิชา 3101-8002 และ 3101 -8003 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท - ป - น 3101-8001 ฝึกงาน * - * - 4 3101-8002 ฝึกงาน 1 * - * - 2 3101-8003 ฝึกงาน 2 * - * - 2 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ จำนวน 4 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชา 3101-8501 หรือรายวิชา 3101-8502 และ 3101-8503 รหัสวิชา ชื่อวิชา ท - ป - น 3101-8501 โครงการ * - * - 4 3101-8502 โครงการ 1 * - * - 2 3101-8503 โครงการ 2 * - * - 2 “Mr.Wittaya Jaiwithee”

รหัสวิชา 3101-5103 (รายวิชาทวิภาคี 3 หน่วยกิต) วิชางานเทคนิคยานยนต์ 3 รหัสวิชา 3101-5103 (รายวิชาทวิภาคี 3 หน่วยกิต) งานเชื้อเพลิงแก็ส ยานยนต์ งานเทคนิคยานยนต์ 3 อุปกรณ์ระบบเชื้อเพลิงแก็ส NGV ระบบควบคุมเชื้อเพลิง แก็ส NGV การตรวจวิเคราะห์ ข้อขัดข้อง การตรวจซ่อมและ ปรับแต่ง การบริการตาม คู่มือ “Mr.Wittaya Jaiwithee”

การวิเคราะห์งาน/ลักษณะงานในการฝึกอาชีพ   งานที่มอบหมายให้แก่นักศึกษา ตำแหน่ง (Job Position) □ ช่างซ่อม เครื่องยนต์ ลักษณะงาน (Job Description) 1. งานบริการอุปกรณ์ระบบแก็สรถยนต์ 2. งานบริการอุปกรณ์ควบคุมระบบแก็ส รถยนต์ 3. งานบริการปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้ ระบบแก็ส “Mr.Wittaya Jaiwithee”

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตั้งอุปกรณ์เชื้อเพลิงแก็สยานยนต์ สามารถติดตั้งชิ้นส่วนอุปกรณ์การปรับแต่งและปรับปรุงสภาพเครื่องยนต์ให้เหมาะสมกับการใช้เชื้อเพลิงแก็ส สามารถตรวจซ่อมบำรุงรักษาและวิเคราะห์ปัญหาการทำงานระบบเชื้อเพลิง แก็สยานยนต์ เพื่อให้มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงานรับผิดชอบ รอบคอบ ตรงต่อเวลา รักษา ความสะอาด ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงการรักษาสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย “Mr.Wittaya Jaiwithee”

แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการติดตั้งอุปกรณ์เชื้อเพลิงแก็สยานยนต์ สมรรถนะวิชาชีพ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการติดตั้งอุปกรณ์เชื้อเพลิงแก็สยานยนต์ บำรุงรักษาพร้อมทั้งวิเคราะห์ปัญหาการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงแก็สตามที่คู่มือกำหนด ตรวจซ่อมและปรับแต่งระบบเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงแก็สตามที่คู่มือกำหนด “Mr.Wittaya Jaiwithee”

คำอธิบายรายวิชา ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ เกี่ยวกับหลักการ ออกแบบติดตั้งระบบแก็สยานยนต์ การติดตั้งชิ้นส่วน อุปกรณ์ชิ้นส่วนอุปกรณ์ในการควบคุมการวิเคราะห์ ปัญหาข้อขัดข้อง การบำรุงรักษาการปรับปรุงสภาพ เครื่องยนต์ให้เหมาะสมกับการใช้เชื้อเพลิงแก็ส บริการ ตรวจซ่อมและปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้แก็สเป็นเชื้อเพลิง และการปรับแต่งตามที่คู่มือกำหนด “Mr.Wittaya Jaiwithee”

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 3101-5103 งานเทคนิคยานยนต์ 3 0 – 9 - 3 จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้ในการติดตั้งอุปกรณ์เชื้อเพลิงแก็สยานยนต์ สามารถติดตั้งชิ้นส่วนอุปกรณ์การปรับแต่งและปรับปรุงสภาพเครื่องยนต์ให้เหมาะสมกับการใช้เชื้อเพลิงแก็ส สามารถตรวจซ่อมบำรุงรักษาและวิเคราะห์ปัญหาการทำงานระบบเชื้อเพลิง แก็สยานยนต์ มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงานรับผิดชอบ รอบคอบ ตรงต่อเวลา รักษา ความสะอาด ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงการรักษาสภาพแวดล้อมและความปลอดภัย สมรรถนะวิชาชีพ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการติดตั้งอุปกรณ์เชื้อเพลิงแก็สยานยนต์ บำรุงรักษาพร้อมทั้งวิเคราะห์ปัญหาการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงแก็สตามที่คู่มือกำหนด ตรวจซ่อมและปรับแต่งระบบเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงแก็สตามที่คู่มือกำหนด คำอธิบายรายวิชา ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ เกี่ยวกับหลักการออกแบบติดตั้งระบบแก็ส ยานยนต์ การติดตั้งชิ้นส่วนอุปกรณ์ชิ้นส่วนอุปกรณ์ในการควบคุมการวิเคราะห์ ปัญหาข้อขัดข้อง การบำรุงรักษาการปรับปรุงสภาพเครื่องยนต์ให้เหมาะสมกับการ ใช้เชื้อเพลิงแก็ส บริการตรวจซ่อมและปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้แก็สเป็นเชื้อเพลิงและ การปรับแต่งตามที่คู่มือกำหนด “Mr.Wittaya Jaiwithee”

แผนการฝึกอาชีพ วิชางานเทคนิคยานยนต์ 3 แผนการฝึกอาชีพ วิชางานเทคนิคยานยนต์ 3 ชื่อสถานประกอบการ บริษัท อีซูซุเชียงใหม่เซลส์ จำกัด ปีการศึกษา 2560 ภาคเรียนที่ 2 ระดับ ปวส. สาขาวิชาเทคนิค เครื่องกล สาขางานยานยนต์ งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน 1. งานบริการอุปกรณ์ระบบแก็สรถยนต์ บริการอุปกรณ์ระบบแก็ส NGV ตามคู่มือที่กำหนด .แผนการใช้เครื่องมือได้จัดทำอย่าชัดเจน เครื่องมือได้จัดเตรียมไว้พร้อมใช้งาน วัสดุได้จัดเตรียมตามข้อกำหนด บริการอุปกรณ์ระบบแก็ส NGV ตามคู่มือกำหนด 60   งานระบบแก็สยานยนต์ หน่วยที่ 1 เรื่อง การบริการอุปกรณ์แก็สยานยนต์ (อุปกรณ์ NGV ) รายการสอน 1.การวางแผนการใช้เครื่องมือ 2.การบริการอุปกรณ์แก็ส NGV ยานยนต์ 3.การตรวจสอบผลงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

(Performance Criteria) งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน อุปกรณ์ระบบแก็สNGV ผ่านการตรวจสอบในสภาพพร้อมใช้งาน บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานได้ผ่านการทำความสะอาดหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

(Performance Criteria) งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน 2. งานบริการอุปกรณ์ควบคุมระบบแก็สรถยนต์ บริการอุปกรณ์ควบคุมระบบแก็ส NGV ตามคู่มือที่กำหนด แผนการใช้เครื่องมือได้จัดทำอย่าชัดเจน เครื่องมือได้จัดเตรียมไว้พร้อมใช้งาน วัสดุได้รับการจัดเตรียมตามข้อกำหนด บริการอุปกรณ์ควบคุมระบบแก็ส NGV ตามคู่มือกำหนด 60   งานระบบแก็สยานยนต์ หน่วยที่ 2 เรื่อง การบริการอุปกรณ์ควบคุมแก็สยานยนต์ (อุปกรณ์ควบคุมระบบแก็ส NGV ) รายการสอน 1.การวางแผนการใช้เครื่องมือ 2.การบริการอุปกรณ์ควบคุมแก็ส NGV ยานยนต์ 3.การตรวจสอบผลงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

(Performance Criteria) งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน อุปกรณ์ควบคุมระบบแก็ส NGV ผ่านการตรวจสอบในสภาพพร้อมใช้งาน บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานได้ผ่านการทำความสะอาดหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

(Performance Criteria) งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน 3. งานบริการปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้ระบบแก็ส NGV บริการปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้ระบบแก็ส NGV ตามคู่มือที่กำหนด แผนการใช้เครื่องมือได้จัดทำอย่าชัดเจน เครื่องมือได้จัดเตรียมไว้พร้อมใช้งาน วัสดุได้รับการจัดเตรียมตามข้อกำหนด 42   งานระบบแก็สยานยนต์ หน่วยที่ 3 เรื่องบริการปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้ระบบแก็ส NGV รายการสอน 1.การวางแผนการใช้เครื่องมือ 2.การบริการปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้ระบบแก็ส NGV 3.การตรวจสอบผลงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

(Performance Criteria) งาน/ลักษณะงาน สมรรถนะ เกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) เวลาฝึก ครูฝึก ชื่อรายวิชา หน่วยการเรียน /รายการสอน บริการปรับแต่งเครื่องยนต์ที่ใช้ระบบระบบแก็ส NGV ตามคู่มือกำหนด ปรับแต่งระบบแก็สNGV ผ่านการตรวจสอบในสภาพพร้อมใช้งาน บริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานได้ผ่านการทำความสะอาดหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน “Mr.Wittaya Jaiwithee”

ตัวอย่างบันทึกการฝึกอาชีพ (นศ.) สัปดาห์ที่ ๑ ตั้งแต่วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ถึงวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ รายละเอียดของงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ วันจันทร์ที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๘ ตรวจเช็คระบบแสงสว่าง เปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต์ โดยใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ชนิดประหยัด เปลี่ยนบัลลาสต์เป็นชนิดบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประหยัดพลังงาน เวลาเข้าทำงาน ๐๘.๐๐ น. เวลาออกงาน ๑๗.๐๐ น. จำนวน ๘ ชั่วโมง ลากิจ .............................. ลาป่วย .............................. (ลงชื่อ) ............................... (ครูฝึก/ผู้ควบคุมการฝึก)

รายละเอียดของงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ วันอังคารที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๘ การต่อวงจรมอเตอร์ไฟฟ้า ๓ เฟส โดยการต่อแบบสตาร์และการต่อแบบเดลต้า เพื่อนำไปใช้กับเครื่องจักร เวลาเข้าทำงาน ๐๘.๐๐ น. เวลาออกงาน ๑๗.๐๐ น. จำนวน ๘ ชั่วโมง ลากิจ .............................. ลาป่วย .............................. (ลงชื่อ) ............................... (ครูฝึก/ผู้ควบคุมการฝึก)

รายละเอียดของงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ วันพุธที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ การบำรุงรักษาเครื่องจักร ตรวจดูสายไฟฟ้า เปลี่ยนสายกรณีสายไฟชำรุดเสียหาย เวลาเข้าทำงาน ๐๘.๐๐ น. เวลาออกงาน ๑๗.๐๐ น. จำนวน ๘ ชั่วโมง ลากิจ .............................. ลาป่วย .............................. (ลงชื่อ) ............................... (ครูฝึก/ผู้ควบคุมการฝึก)

รายละเอียดของงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๘ การบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ โดยถอดฟิลเตอร์ออกมาล้างทำความสะอาด ส่วนใหญ่ฟิลเตอร์สกปรกขาดความดูแล ถ้าเครื่องปรับอากาศไม่เย็นอาจเป็นเพราะเกิดรอยรั่วต้องทำการเติมสารทำความเย็นและเชื่อมปิดรอยรั่ว เวลาเข้าทำงาน ๐๘.๐๐ น. เวลาออกงาน ๑๗.๐๐ น. จำนวน ๘ ชั่วโมง ลากิจ .............................. ลาป่วย .............................. (ลงชื่อ) ............................... (ครูฝึก/ผู้ควบคุมการฝึก)

รายละเอียดของงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ วันศุกร์ที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘ - เดินวงจรควบคุมพื้นฐาน - การเดินสายเข้ามอเตอร์ ๑ เฟส ๒๒๐ v - การเดินสายเข้ามอเตอร์ ๓ เฟส ๓๘๐ v - การเดินสายเมน power supply ระบบไฟ ๑ เฟส ๓ เฟส เวลาเข้าทำงาน ๐๘.๐๐ น. เวลาออกงาน ๑๗.๐๐ น. จำนวน ๘ ชั่วโมง ลากิจ .............................. ลาป่วย .............................. (ลงชื่อ) ............................... (ครูฝึก/ผู้ควบคุมการฝึก)

รายละเอียดของงานที่ปฏิบัติ หมายเหตุ วันเสาร์ที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๘ การประกอบตู้คอนโทรลไฟฟ้า โดยการเดินท่อไฟฟ้าเข้ามอเตอร์ ๑ เฟส ๒๒๐ v และ ๓ เฟส ๓๘๐ v เวลาเข้าทำงาน ๐๘.๐๐ น. เวลาออกงาน ๑๗.๐๐ น. จำนวน ๘ ชั่วโมง ลากิจ .............................. ลาป่วย .............................. (ลงชื่อ) ............................... (ครูฝึก/ผู้ควบคุมการฝึก)

หมวดวิชาทักษะชีวิต ระดับ ปวส.

หมวดวิชาทักษะชีวิต ระดับ ปวส.

ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ (http://www.nsdv.go.th) หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา