คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อดิศักดิ์ ธีรานุพัฒนา นายครรชิต พิชัย (หน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษา) นางสาวจิริยาภรณ์ ลีละวรพงษ์ (โอปอ) 561510037 นางสาวณัฐนรี สวาสดิ์วงศ์ (ณัฐ) 561510080 นายณัฏฐ์ ลือชัย (นัท) 561510075 นายณัฐพงษ์ เจริญธนากุล (ณัฐ) 561510082 นางสาวณัฐธิดา จาดสอน (เนย) 561510079 นายณัฐพงษ์ มหายศดี (เจมส์) 561510083 นายธนิน ติกอธิชาติ (เจมส์) 561510111
1. การค้นหาปัญหา/คัดเลือกหัวข้อ 2. การสำรวจสภาพปัจจุบันและตั้งเป้าหมาย 3. การวางแผนกิจกรรม 4. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ลำดับกระบวนการทำงานตาม 7QC Story 5. การกำหนดมาตรการแก้ไขและการปฏิบัติ 6. การตรวจสอบผล 7. การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน
การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและเพิ่มชั่วโมงกิจกรรมแก่นักศึกษา 1. การค้นหาปัญหา/คัดเลือกหัวข้อ ลำดับ ปัญหา คะแนน ความเป็นไปได้ ความรุนแรง ความถี่ รวม 1 การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและเพิ่มชั่วโมงกิจกรรมแก่นักศึกษา 3 5 4 60 2 ความล่าช้าในการจัดสรรงบประมาณในการจัดกิจกรรม 16 ปัญหาการจัดทำแผนการจัดกิจกรรม 36 การค้นหาปัญหาและคัดเลือกปัญหาโดย การระดมสมองช่วยกันคิดวิเคราะห์ปัญหา ทั้งจากความคิดของสมาชิกภายในกลุ่มและจากตัวบุคลากร โดยมีการให้คะแนนในส่วนของ ความเป็นไปได้ ความรุนแรง และ ความถี่ จากนั้น นำค่าที่ได้ มา คำนวณ โดยใช้ ความเป็นไปได้ x ความแรง x ความถี่ = รวม
2. การสำรวจสภาพปัจจุบัน และตั้งเป้าหมาย 2. การสำรวจสภาพปัจจุบัน และตั้งเป้าหมาย รวมรวมข้อมูล เพื่อสนับสนุนปัญหา ทั้งทางตัวเลขและข่าวสาร สำรวจสภาพปัจจุบันที่เกิดขึ้นของปัญหาที่ได้รับเลือก โดยสอบถามจากตัวบุคลากร รวมทั้งรวบรวมข้อมูลทั้งทางปริมาณและคุณภาพ จึงได้ข้อสรุปเป็นหัวข้อ การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและเพิ่มชั่วโมงกิจกรรมแก่นักศึกษา ซึ่งทางกลุ่มได้เล็งเห็นว่าเป็นหัวข้อที่น่าสนใจเพราะส่งผลกระทบค่อนข้างมาก
3. การวางแผนกิจกรรม ช่วงของการวางแผน (Plan) 7 สัปดาห์ เลือกหัวข้อปัญหาที่สนใจ หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น วิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหา ช่วงของการแก้ปัญหา (Do) 2 สัปดาห์ สร้างการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัด สำรวจจำนวนนักศึกษา ที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ จัดกิจกรรมเพื่อเพิ่มชั่วโมงแก่นักศึกษา ช่วงของการตรวจสอบ (Check) 1 สัปดาห์ ตรวจสอบการประเมินและการมีส่วนร่วมของนักศึกษาผู้เข้าร่วม ผลจากการเพิ่มชั่วโมงกิจกรรม ช่วงของการแก้ไขปรับปรุง (Act) 3 สัปดาห์ -วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมและนำไปปรับปรุงและพัฒนา มีการวางแผนการทำกิจกรรม โดยแบ่งเป็น 4 ช่วงหลักๆ ตามหลักการของ QCC , Plan , Do ,Check , Act
3. การวางแผนกิจกรรม ผลการสำรวจนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ ตัวอย่าง นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่ลงทะเบียนกระบวนวิชา 706100 จำนวนลงทะเบียนทั้งหมด 322 คน ขาด 3 ชั่วโมงจำนวน 6 คน ขาด 6 ชั่วโมงจำนวน 6 คน ขาด 12 ชั่วโมงจำนวน 1 คน ผลสำรวจ มาจาก รายชื่อนักศึกษาที่ไม่ได้ลงทะเบียนวิชา 706100 เทียบกับ รายชื่อนักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา 706100 หลังจากนั้นนำรายชื่อที่พบว่าไม่ได้ลงทะเบียน มาตรวจสอบกับ พี่ครรชิต เพื่อ หาว่า ไม่ได้ลงทะเบียนเพราะสาเหตุใด และ พบว่าส่วนใหญ่ ชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบทำให้ไม่สามารถลงทะเบียนวิชานี้ได้ ซึ่ง ผลการสำรวจ ได้กล่าวไว้ใน สไลด์ข้างต้นแล้ว
3. การวางแผนกิจกรรม หลังจากได้คัดเลือกปัญหาแล้ว จึงนำมาวางแผนการดำเนินงานตามหลักการสร้าง Gantt Chart โดยลำดับรายละเอียดตาม 7 QC Story ดังนี้ ค้นหาปัญหา โดยคิดวิเคราะห์ร่วมกับบุคลากร สำรวจและตั้งเป้าหมาย จากหัวข้อที่เลือก การวางแผนการดำเนินงาน ในการแก้ไขปัญหาและสร้างคุณค่าให้กับกิจกรรม การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา นำปัญหาที่ได้เขียนในแผนผังก้างปลา และทำการเลือกสาเหตุที่แท้จริง การกำหนดมาตรการและดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยทางกลุ่มได้เลือกที่จะจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ การตรวจสอบและติดตามผลการแก้ไข จากการตรวจสอบชื่อนักศึกษาที่สมัครและมาเข้าร่วมรวมทั้งผลประเมินการจัดกิจกรรม
นักศึกษาไม่มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และ มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ 4. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา นักศึกษาไม่มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม และ มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ วิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัย และผลกระทบของปัญหาที่ถูกเลือกโดยเลือกใช้แผนภูมิก้างปลา ที่แสดงรายละเอียดของปัญหาโดยแบ่งเป็นกลุ่มสาเหตุ และสาเหตุย่อย รวมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขโดยการจัดกิจกรรมให้กับนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบกับบุคลากร ทางบุคลากรจึงเสนอการมีส่วนร่วมของนักศึกษาให้มากขึ้น
การมีส่วนร่วม 5. การกำหนดมาตรการแก้ไข และการปฏิบัติ การสร้างสรรค์กิจกรรม ด้วยตนเอง การประสานงานร่วมกัน การมีส่วนร่วม ออกแบบการมีส่วนร่วมทั้งในเชิงตัวเลขและคุณภาพ เพื่อให้นักศึกษาผู้จะและนักศึกษาผู้เข้าร่วมได้เกิดการมีส่วนร่วมมากขึ้น ทั้งการประสานงาน การออกแบบกิจกรรมด้วยตนเองผ่านการเข้าร่วมและรู้จักการจัดกิจกรรมที่ลึกซึ้ง นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้ลงมือปฏิบัติจริง
5. การกำหนดมาตรการแก้ไข และการปฏิบัติ 1. สำรวจจำนวนนักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบ ในการลงทะเบียนวิชา 706100 2. เปิดรับสมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อเพิ่มชั่วโมง ให้นักศึกษาและเพิ่มการมีส่วนร่วม 3. แบ่งหน้าที่ในการประสานงานกับบุคคลภายใน และภายนอก กำหนดขั้นตอนในการลงมือปฏิบัติ โดย สำรวจนักศึกษาจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนกระบวนวิชา 706100 เปิดรับสมัครนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม จัดสรรหน้าที่ให้ทั้งนักศึกษาผู้จัดและนักศึกษาผู้เข้าร่วม
6. การตรวจสอบผล การมีส่วนร่วม 1. ใช้การเช็คชื่อการเข้าร่วมการเดินกล่องบริจาค 2. สังเกตการปฏิบัติ ความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม 1. อ้างอิงจากการสรุปผลของแบบประเมินความพึงพอใจ กำหนดวิธีการในการตรวจสอบผลทั้งการมีส่วนร่วมและความพึงพอใจที่เกิดขึ้นภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม
6. การตรวจสอบผล ตารางแสดงการเปลี่ยนแปลงก่อนและหลัง จำนวนนักศึกษา กิจกรรมอื่นๆ ( ก่อน ) กิจกรรมที่จัดขึ้น โดยกลุ่มนักศึกษา ( หลัง ) จำนวนนักศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรรม 94 % 98 % ตารางแสดงผลที่จากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา แสดงให้เห็นว่านักศึกษามาเข้าร่วมกิจกรรมถึง 98% ซึ่งเปรียบเทียบกับกิจกรรมอื่นที่มีนักศึกษาที่มาเข้าร่วมเพียง 94%
สรุปผลประเมินความพึงพอใจโดยรวม 7. การกำหนดมาตรฐานปฏิบัติงาน หัวข้อการประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย สรุปผล นักศึกษาได้รับความรู้และประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมจิต อาสาในครั้งนี้ 8 44.4 2 11.1 4.33 คิดว่าตนเองสามารถมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงสังคมให้ดีขึ้นได้ 11 61.1 6 33.3 1 5.6 4.56 กิจกรรมในครั้งนี้ทำให้นักศึกษาเกิดความตระหนักในบทบาทหน้าที่ของนักศึกษาต่อการพัฒนาสังคม 10 55.6 4.44 ความเหมาะสมของสถานที่ในการทำกิจกรรมเพื่อสังคมในครั้งนี้ 5 27.8 4.17 นักศึกษาได้เรียนรู้บทบาทผู้นำและผู้ตามได้อย่างเหมาะสม 4 22.2 3 16.7 สมควรจัดกิจกรรมจิตอาสาแบบนี้ให้กับนักศึกษารุ่นต่อไป การทำงานร่วมกันระหว่างกลุ่มเพื่อให้การจัดกิจกรรมประสบความสำเร็จ 7 38.9 4.5 ได้รับประสบการณ์ด้านการจัดการปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ดียิ่งขึ้น สรุปผลประเมินความพึงพอใจโดยรวม 4.43 ผลสรุปจากการประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษาผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยแสดงให้เห็นว่า นักศึกษารู้สึกเป็นส่วนหนึ่งที่ได้ร่วมสร้างสรรค์สังคมและยังอยากให้มีการจัดกิจกรรมประเภทนี้ต่อไปเรื่อยๆ
Cost Saving ต้นทุนต่อหัวนักศึกษาที่ร่วมโครงการ เท่ากับ 874.57 บาท สรุปค่าใช้จ่าย โครงการ “ รวมน้ำใจจากพี่สู่น้องเพื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนอแล อำเภอฝาง ” วันที่ 11 พฤศจิกายน 2558 เวลา 07.30-18.00 น. ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนอแล อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เงินสนับสนุนที่ได้รับ เงินสนับสนุนจากการรับบริจาค 16,664.-บาท ค่าอุปกรณ์บำเพ็ญประโยชน์ 10,000.- บาท ค่าใช้จ่ายในส่วนของนักศึกษา ค่าอาหารว่าง 2 มื้อและอาหารกลางวันและเครื่องดื่มนักศึกษา 5,220.- บาท ค่าเช่ารถรับ – ส่งนักศึกษาและอุปกรณ์บริจาค 10,000.- บาท ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดและประกันอุบัติเหตุการเดินทาง 3,146.- บาท รวม 18,366.- บาท สรุปค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นโดยแบ่งเป็นส่วนที่ขอการสนับสนุนจากทางคณะ และเงินที่ได้รับจากการรับบริจาค และคิดคำนวณ ต้นทุนต่อหัวของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ ต้นทุนต่อหัวนักศึกษาที่ร่วมโครงการ เท่ากับ 874.57 บาท
ข้อดี ปัญหาและอุปสรรค นักศึกษามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมากขึ้น เข้าใจและเรียนรู้การจัด กิจกรรมด้วยตนเองได้ นักศึกษาที่มีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบได้ชั่วโมงกิจกรรมเพิ่มขึ้น นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการการทำ QCC ทำให้เกิดกระบวนการคิด อย่างเป็นระบบ ปัญหาและอุปสรรค ปัญหาในการเลือกหัวข้อ QCC นักศึกษาไม่สนใจเข้าร่วมในการทำกิจกรรม ปัญหาในการสื่อสารทั้งตัวสมาชิกและบุคลากร สิ่งที่ได้รับจาก QCC คือ ทำให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมากขึ้น เข้าใจการประสานงาน และ ยังเข้าใจถึงการจัดกิจกรรมด้วยตนเองได้ ในขณะเดียวกัน นักศึกษายังสามารถชวนเพื่อนที่มีกิจกรรมไม่ครบมาเข้าร่วม และ ทำให้เขามีส่วนร่วมในกิจกรรมมากยิ่งขึ้น และ เพิ่มชั่วโมงกิจกรรมให้ครบ จะได้ไม่มีปัญหาในการเรียนต่อไป และยังคงได้เรียนรู้ถึงกระบวนการ แนวคิดอย่างเป็นระบบ โดยศึกษาตามองค์ประกอบหลักของ 7 QC Story อีกด้วย ปัญหาและอุปสรรค ที่พบก็เริ่มตั้งแต่ การเลือกหัวข้อ QCC, การขอบุคลากรในคณะเป็นที่ปรึกษาโครงการ อีกทั้ง ยังมีนักศึกษาบางส่วนที่ไม่สนใจเข้าร่วมในการทำกิจกรรม แม้ว่าตนจะมีชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบก็ตาม ทั้งนี้ ยังพบปัญหาในการสื่อสาร ระหว่างสมาชิกและบุคลากร ซึ่งทั้งหมดนี้ก็ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี จากการมุมานะ พยายามของทุกคน
แนวทางการแก้ไขปัญหาระยะยาว BACK UP 1 แนวทางการแก้ไขปัญหาระยะยาว ชี้แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับการกรอกข้อมูล เนื่องจากความไม่เข้าใจในระบบของ กระบวนวิชา 706100 จัดให้มีการชี้แจ้งรายละเอียดและความสำคัญของกระบวนวิชา 706100 บ่อยขึ้น จัดให้มีกิจกรรมต้นแบบเพื่อแสดงถึงรายละเอียดการจัดกิจกรรมที่นักศึกษา ต้องการจัดกิจกรรมด้วยตนเอง มีการประชาสัมพันธ์ รวมทั้งตรวจสอบชั่วโมงกิจกรรมของนักศึกษาในแต่ละชั้นปี วางแผนการจัดกิจกรรมและประชาสัมพันธ์ถึงการเข้าร่วมกิจกรรม