ประชุมคณะกรรมการบริหารเวชภัณฑ์ โรงพยาบาลเขื่องใน วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13.30 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม อาคารโภชนาการ โรงพยาบาลเขื่องใน
วาระการประชุม วาระที่ ประธานแจ้งให้ทราบ วาระที่ 1 วาระที่ ประธานแจ้งให้ทราบ นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล และตัวชี้วัดหลักตาม service plan รวมถึง smart lab. 2 วาระที่ ติดตามและรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2559 3 วาระที่ ปรึกษาหารือ 1. การดำเนินงาน RDU ระดับโรงพยาบาล และรพ.สต. 2. ระบบติดตามการใช้ HAD โดยการมีส่วนร่วมของสหวิชาชีพ 3. สรุปประเด็น Medication error / DRPs พร้อมแนวทางแก้ไข โดยการมีส่วนร่วมของสหวิชาชีพ
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ทราบ นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (Rational Drug Used in hospital ) กระทรวงสาธารณสุข กำหนดให้โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Used in Hospital ) เป็นหนึ่งในตัวชี้วัด ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) เพื่อให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เกิดประสิทธิภาพ (Efficacy) ปลอดภัย ( Safety) ต่อผู้ป่วย คุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์ ( Cost – effectiveness)
เขตสุขภาพที่ 10 ประกาศนโยบาย ให้ดำเนินการพัฒนาระบบบริการและส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) เป้าหมายปี 2560 บรรลุผล ดังนี้ 1.คณะกรรมการ PTC ต้องมีการชี้นำ โดยมีการดำเนินงานตามเกณฑ์ ในระดับ 3 ขึ้นไป 2.ทบทวนบัญชีโรงพยาบาลให้เหมาะสม และไม่ควรมีรายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ หรือมีอยู่ไม่เกิน 1 รายการ 3.รพ .มีร้อยละการสั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติผ่านตามเกณฑ์เป้าหมาย 4.รพ.ต้องส่งเสริมจริยธรรมในการจัดหายาและการขายยาตามเกณฑ์ในระดับ 3 ขึ้นไป 5.รพ.ต้องมีการพัฒนาฉลากยามาตรฐานและฉลากยาเสริม ให้มีชื่อภาษาไทย และมี คำแนะนำการใช้ยา อย่างน้อย 13 กลุ่มยา 6.รพ. พัฒนาระบบสารสนเทศในการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด และรายงานผลทุกไตรมาส 7.รพ.สต. และหน่วยบริการปฐมภูมิ ต้องส่งเสริมการใช้ ATB อย่างรับผิดชอบ ในกลุ่ม ผู้ป่วย URI และ Diarrhea 8.รพ. ระดับ A,S และ M1 ต้องมีการจัดการเชื้อดื้อยา (Antimicrobial resistance : AMR) ประกาศ 2 ธันวาคม 2559
ติดตามและรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 2/2559 ติดตามและรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ 2/2559 วาระที่ 2
1. สรุปการจัดซื้อ การใช้เวชภัณฑ์ 1. สรุปการจัดซื้อ การใช้เวชภัณฑ์ ไตรมาส 1 ปี 2560 ประเภท แผนที่ได้รับอนุมัติ แผนไตรมาส1 จัดซื้อจริง ไตรมาส 1 %เบี่ยงเบน จากแผนจัดซื้อ %การจัดซื้อ ยา 20,813,669.55 5,283,724.20 6,849,758.20 26.64 33.23 LAB 6,585,033.39 2,202,695.29 1,574,658.08 28.51 23.99 วัสดุทันตกรรม 869,582.01 308,977.86 188,964.61 38.84 21.73 วัสดุการแพทย์ 4,705,509.94 1,215,195.58 986,028.58 18.86 20.95 วัสดุเอกซเรย์ - รวม 32,753,794.89 9,010,592.93 9,599,409.47 6.53 29.31
กราฟเปรียบเทียบ การจัดซื้อ ปี 58-59-60 ไตรมาส 1 ปี 2560 ซื้อเพิ่มขึ้นจากปี 2559 ร้อยละ 26.48 ยา (เพิ่ม 49.44%) และวัสดุทันตกรรม (เพิ่ม 12.08%)
กราฟเปรียบเทียบ มูลค่าเบิกเวชภัณฑ์ ปี 59-60 เพิ่ม 14.69% เพิ่ม 19.18% เพิ่ม 1.65% เพิ่ม 0.35% เพิ่ม 103.89%
อัตราคงคลัง ณ สิ้นไตรมาส 1 อัตราคงคลัง ณ สิ้นไตรมาส 1
การใช้เวชภัณฑ์ยาอย่างประหยัด 2. การใช้เวชภัณฑ์อย่างประหยัด การใช้เวชภัณฑ์ยาอย่างประหยัด รายการยา 2557 2558 2559 2560 (3เดือน) ร้อยละ +/- 1.Insulin Pen 392,903.80 485,650.40 486,218.70 115,322.46 - 5.13 2.Seretide MDI 1,008,635.50 1,133,376.10 1,090,030.00 372,039 36.52 3.Omeprazole inj. 88,400.00 139,200 124,372.55 9,822.60 - 68.41 4.Amlodipine 10 mg. 902,160 946,941 917,097 243,014 5.99 5.Losartan 50 mg. 402,408 504,370 576,720 167,400 16.10 6.CaCO3 537,810 403,218 330,630 94,588 14.43 7.Antacids susp. 233,688 259,140 240,814 61,600 2.32 8.Amoxy clav. 1 g. 148,630 122,670 150,220 25,630 - 31.75 9.Analesic balm 204,838 205,260 204,526.52 55,400.16 8.35 10.Acetylcysteine 79,035.55 84,744 83,228.88 18,046.62 - 13.27 11.Simvastatin 574612.20 1,039,447 809,217 179,604 -11.22 12.Metformin 500 mg. 663,000 780,250 876,050 243,800 11.32
2. การใช้เวชภัณฑ์อย่างประหยัด ลำดับ รายการ มูลค่า ( บาท ) ปี 58 ปี 59 ปี 60 (3 เดือน) ร้อยละ +/- 1 IV set 185,668.90 228,902.96 46,061.36 - 19.51 2 Disp. Syringe insulin 416,613.06 1,100,582 208,155 - 24.35 3 ถุง +ซองซิป 311,041.71 220,299 54,589.92 - 0.88
- มีการเปลี่ยนแปลงหลังประชุม 2/2559 - 2 หน่วย คือทันตกรรม และ ward 2 3. ปรับกรอบเวชภัณฑ์ - มีการเปลี่ยนแปลงหลังประชุม 2/2559 - 2 หน่วย คือทันตกรรม และ ward 2
กรอบรายการเวชภัณฑ์ ฝ่ายทันตสาธารณสุข NO รายการ หน่วย จำนวน (เดิม) ใหม่ 1 Amoxycillin 250mg. 20 cap. 5 - 2 Amoxycillin 500 mg. 10 20 3 Roxithromycin 150 mg. 10 tab. 7 4 Ibuprofen 400 mg. 15 Metronidazole 400 mg. 20 tab. 6 Paracetamol 325 mg. Paracetamol 500 mg. 40 8 Amoxycillin syr.125mg/5ml. 9 Amoxycillin syr.250mg/5ml. Erythromycin syr.125mg/5 ml. 11 Ibuprofen syr.100 mg/5 ml. 12 Paracetamol syr. 120mg/5 ml. 13 SMW 180 ml. 14 TA. In oral 1 g.
กรอบรายการเวชภัณฑ์ : Ward 2 NO รายการ หน่วย ขนาดบรรจุ (เดิม) ใหม่ 1 Mixed insulin vial 3 ml. 10 ml.
ยังพบปัญหาอีกหรือไม่ หลังจากที่มีการประชุมในครั้งที่ 2/59 4. ระบบเบิก-จ่าย Fixed-Floored stock ยังพบปัญหาอีกหรือไม่ หลังจากที่มีการประชุมในครั้งที่ 2/59 กรณีเบิก Fixed Stock นอกกรอบ ( ไม่สอดคล้องกับเวชระเบียน) ให้ยื่นขอเบิกที่คลังเวชภัณฑ์
6. ผลวิจัยชาใบหม่อน คุณศิริพร นำเสนอ
1. การดำเนินงาน RDU ระดับโรงพยาบาล และรพ.สต. วาระที่ 3 ปรึกษาหารือ 1. การดำเนินงาน RDU ระดับโรงพยาบาล และรพ.สต.
ระดับโรงพยาบาล ให้คณะกรรมการ PTC ดำเนินการ ดังนี้ 1.กำหนดทีมผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 2. กำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดของโรงพยาบาล ให้สอดคล้องกับนโยบายจังหวัด/เขตสุขภาพ 3. พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงาน ดังนี้ ทบทวนบัญชียา โรงพยาบาล ให้มีรายการยาที่ควรมีและไม่ควรมี ส่งเสริมการใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ พัฒนาฉลากยาและฉลากเสริม ดำเนินการให้เกิดจริยธรรมว่าด้วยการจัดซื้อ ส่งเสริมการขายยา จรรยาบรรณในการสั่งใช้ยา
ระดับโรงพยาบาล 3. พัฒนามาตรการและขับเคลื่อนการดำเนินงาน ดังนี้ (ต่อ) - ส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในกลุ่มโรคติดเชื้อ URI ,Diarrhea ,บาดแผลสดจากอุบัติเหตุ ,สตรีหลังคลอดปกติ - ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในผู้ป่วย NCD : HT , DM, Dyslipidemia , OA , Gout ,CKD ,Asthma ,COPD - ดูแลการใช้ยาเพื่อความปลอดภัยในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ : ผู้สูงอายุ , Pregnancy , lactation ,เด็ก , ผู้ป่วยโรคตับ ,ผู้ป่วย TB , ARV 4. รายงานผลการดำเนินงานทุก 3 เดือน
ระดับ รพ.สต./หน่วยบริการปฐมภูมิ ให้คณะกรรมการ PTC ร่วมกับ CUP ดำเนินการ ดังนี้ 1.จัดทำแผนขับเคลื่อนมาตรการและสนับสนุนการดำเนินงาน 2. กำหนดมาตรการส่งเสริมการใช้ ATB ในกลุ่มโรค URI และ Acute diarrhea 3.ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจการรักษาโรคติดเชื้อและการใช้ ATB ให้บุคลากรทางการแพทย์ 4. สร้างความเข้าใจการใช้ ATB ในผู้ป่วยและประชาชน 5. เฝ้าระวังการจำหน่าย ATB , Steroid, NSAIDs และผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย เช่น ผลิตภัณฑ์ลดน้ำหนัก สมุนไพรผสม steroid ในร้านค้าร้านชำ 6.รายงานผลทุก 3 เดือน ให้ โรงพยาบาลแม่ข่าย
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) RDU 1 : ขั้นที่ 1 ระดับ โรงพยาบาล ที่มา Cockpit 17/2/60 ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 1 ร้อยละของรายการยาที่สั่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ F1 – F3 > ร้อยละ 90 92.36 2 ประสิทธิผลการดำเนินงานคณะกรรมการ PTC ในการชี้นำสื่อสาร และส่งเสริม เพื่อนำไปสู่การเป็นรพ.ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระดับ 3 ผ่าน (ระดับ 3) 3 การดำเนินงานในการจัดทำฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และเอกสารข้อมูลยาใน 13 กลุ่ม ที่มีรายละเอียดครบถ้วน รายการยา 13 กลุ่ม 4 รายการยาที่ควรพิจารณาตัดออก 8 รายการ ซึ่งยังคงมีอยู่ในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาล < 1 รายการ 1รายการ ( Para.inj) 5 การดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจริยธรรมในการจัดซื้อ และส่งเสริมการขายยา (ระดับ 4)
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อระบบหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก < ร้อยละ 20 35.51 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 63.84 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ < ร้อยละ 40 47.87 แนวทางดำเนินการ : 1. 2. 3. 4.
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนด ทางช่องคลอด < ร้อยละ 10 43.75 ปัจจุบันใช้ใน : 1.เย็บแผลนาน > 30 นาทีขึ้นไป เพราะเฉลี่ยเย็นแผลประมาณ 20 นาที 2.ในรายที่ขณะคลอด มีการ Contaminated 3.ในรายที่แม่มีภาวะ PROM ก่อนคลอดมากกว่าหรือเท่ากับ 18 ชม. แนวทางการดำเนินงาน : 1. 2. 3.
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 10 ร้อยละผู้ป่วย DM ที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ป่วยอายุ >65 ปี หรือมี eGFR < 60 ml/min/1.73 m2 < ร้อยละ 5 21.52 แนวทางการดำเนินงาน : 1. 2. 3. 11 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ซ้ำซ้อน 5.88 12 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ Warfarin*, statins, ergots เมื่อทราบว่าตั้งครรภ์แล้ว (*ยกเว้นกรณีใส่ mechanical heart valve)
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 13 ร้อยละของผู้ป่วย HT ทั่วไป ที่ใช้ RAS blocked (ACEI/ARB/Renin inh.) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูง ร้อยละ 0 6.81 แนวทางการดำเนินงาน : 1. 2. 14 ร้อยละผู้ป่วย DM ที่ใช้ Metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้าม (ห้ามใช้หาก eGFR < 30 ml/min/1.73 m2 ) > ร้อยละ 80 49.67
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 15 ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับ NSAIDs < ร้อยละ 10 9.03 16 ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid > ร้อยละ 80 79.39 แนวทางการดำเนินงาน : 1. 2. 17 ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุ (> 65 ปี) ที่ใช้ยากลุ่ม Long-acting benzodiazepine (Chlordiazepoxide, Diazepam, Di.chlorazepate) < ร้อยละ 5 0.98 18 ร้อยละของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (ครอบคลุมตามรหัส ICD-10 ตาม RUA-URI) และได้รับยาต้านฮีสตามีนชนิด non-sedating) < ร้อยละ 20
ตัวชี้วัด RDU ระดับ รพ.สต. (2 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 19 ร้อยละของรพ.สต. ที่มีอัตราการใช้ ATB ใน URI < ร้อยละ 20 ร้อยละ 100 77.00 (24 แห่ง) 20 ร้อยละของรพ.สต. ที่มีอัตราการใช้ ATB ใน Acute diarrhea < ร้อยละ 20 0.00 แนวทางการดำเนินงาน ระดับ รพ. : 1. 2. ระดับ รพ.สต. : 1. 2.
Percentage of Antibiotic Prescribed in URI and Diarrhea ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล Percentage of Antibiotic Prescribed in URI and Diarrhea
สัดส่วนผู้ป่วย URI ที่ได้รับยาปฏิชีวนะแยกตามการวินิจฉัย
สัดส่วนผู้ป่วย Diarrhea ที่ได้รับยาปฏิชีวนะแยกตามการวินิจฉัย
Antibiotic Prescribed in Patient with Pharyngitis and Tonsillitis in District Hospital Woranot Martwanna, M.Pharm (Clin Pharm) Thanatcha Songmuang, BSc. (Pharm) Numphung Noreerat, BSc. (Pharm) Sawaeng Watcharathanakij, Ph.D.
Objective To evaluate of antibiotic used in patient with pharyngitis or tonsillitis To determine factors influencing antibiotic prescribed For lead the data to enhance rational drug use
Method Multicenter, retrospective study Three community hospital in Ubonratchatani province :120 bed hospital, 60 bed hospital, 30 bed hospital Data extracted form medical electronic database
Data Analysis The 4 Centor criteria Subjective complaint of fever or measured temperature > 37.8 C Absence of cough Pharynx or tonsillar exudate or swelling Document tender anterior cervical lymphadenopathy
Data Analysis We considered inappropriate antibiotic prescribed for visits with 0,1, 2 Centor criteria We considered appropriate antibiotic prescribed for visits with 3,4 Centor criteria Analysis factor influencing antibiotic prescribed with Logistic regression Statistical analyses of all data with STATA 10.0
Results and Discussion
Patient Characteristics
Clinical Manifestations
Centor Criteria and Antibiotic prescribing Age 3-17 yr Age > 18 yr No. Patient % ATB 598 53.5 1,359 66.1 1 6,707 81.5 8,982 81.1 2 19,628 86.3 18,955 87.0 3 5,412 86.7 4,150 88.3 4 50.0 100 Centor Criteria Age 3-17 yr Age > 18 yr No. Patient % ATB 598 53.5 1,359 66.1 1 6,707 81.5 8,982 81.1 2 19,628 86.3 18,955 87.0 3 5,412 86.7 4,150 88.3 4 50.0 100 Patient had Centor Criteria <= 2 85.5% Antibiotic prescribed 84.7%
Antibiotic Prescribing Type of Antibiotics Percent Amoxicillin 84.2 Macrolide 8.8 Lincomycin 2.9 Amoxicillin-clavulanic acid 2.1 Cotrimoxazole 0.4 Penicilin V 0.19 Clindamycin 0.08 Fluoroquinolone 0.07 Cephalosporin 0.05 Others 1.2
Factors influencing antibiotic prescribed p-value Male 1.01 0.96 -1.05 0.814 Age 3-17 yr/ > 18 yr 1.05 1.00 -1.10 0.064 Tender cervical lymph nodes 1.91 0.57 -6.40 0.293 Pharynx or tonsillar exudate or swelling 2.42 2.30 -2.54 <0.001 Fever 1.25 1.18 -1.31 Absence of cough 1.11 1.06 -1.17 Coryza 1.29 1.23 -1.35 Sore throat 1.30 1.24 -1.36 Physician 0.90 0.84 -0.95 *Adjusted by hospital and year
Factors influencing antibiotic prescribed p-value Male 1.01 0.96 -1.05 0.814 Age 3-17 yr/ > 18 yr 1.05 1.00 -1.10 0.064 Tender cervical lymph nodes 1.91 0.57 -6.40 0.293 Fever 1.25 1.18 -1.31 <0.001 Absence of cough 1.11 1.06 -1.17 Pharynx/tonsillar exudate or swelling 2.42 2.30 -2.54 Coryza 1.29 1.23 -1.35 Sore throat 1.30 1.24 -1.36 Physician 0.90 0.84 -0.95 *Adjusted by hospital and year
Factors influencing antibiotic prescribed p-value Male 1.01 0.96 -1.05 0.814 Age 3-17 yr/ > 18 yr 1.05 1.00 -1.10 0.064 Tender cervical lymph nodes 1.91 0.57 -6.40 0.293 Fever 1.25 1.18 -1.31 <0.001 Absence of cough 1.11 1.06 -1.17 Pharynx or tonsillar exudate or swelling 2.42 2.30 -2.54 Coryza 1.29 1.23 -1.35 Sore throat 1.30 1.24 -1.36 Physician 0.90 0.84 -0.95 *Adjusted by hospital and year
Discussion Overall antibiotic prescription rate was 84.7%, which is very high with an overwhelmingly viral etiology Prevalence of GAS reported in Thailand was 7.9% NHSO set goal of antibiotic prescribing in URI not exceed than 20% Age was not associated with antibiotic prescribing Am family phys 2009;79:383-90.
Discussion The presence of < 2 criteria had negative predictive value of 94.2%, the probability of GAS infected was less than 6% Centor score guideline fail to follow in actual practice J Med Assoc Thai 2006;89:1178-86.
Conclusion There is a very high rate inappropriate antibiotics prescribing in district hospital Although ASU program was implemented since 2009 but treatment guideline was not followed in real practical situation Interventions to reduce the overuse of antibiotics is urgently needed
แนวทางการดำเนินงาน 1. 2. 3. 4.
วาระที่ 3 ปรึกษาหารือ 2. ระบบติดตามการใช้ HAD โดยการมีส่วนร่วมของสหวิชาชีพ
HAD : 2559 - ใช้ HAD 738 ครั้ง ติดตามตามแบบฟอร์ม 604 ครั้ง (ร้อยละ 81.80) ประเด็น ปี 59 ร้อยละ Ward 1 Ward 2 LR ER การติดตามการใช้ HAD ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 88.40 93.10 80 75.40 ความไม่สมบูรณ์ในการติดตามการใช้ HAD - ไม่เซ็นต์ชื่อผู้เตรียม/ผู้ตรวจสอบ/ผู้บริหาร 1.40 10.34 1.80 - ไม่เซ็นต์ชื่อผู้ประเมิน vital sign 2.70 8.10 2.20 - ติดตามการใช้ยาไม่ต่อเนื่องตามที่กำหนด 6.90 27.40 2.80
การเกิด AE 15 ครั้ง รายงานแพทย์ 5 ครั้ง แก้ไข 3 ครั้ง ปี 2559 HR < 60 BP <90/60 RR > 30 ใบหน้ากระตุก ปวดจุกท้อง Cal.gluconate inj. 2 1 Sod.bicarb inj. 3 KCl inj. MgSO4 inj. รวม 6 4 ปัญหาและแนวทางแก้ไข : - ขาดการส่งต่อข้อมูลการติดตามค่าพารามิเตอร์ของผู้ป่วยที่เริ่มใช้ยาที่แผนกห้องฉุกเฉิน กับตึกผู้ป่วย - ปัญหาการติดตามไม่ต่อเนื่องจากช่วงเวลาที่กำหนด - ไม่รายงานแพทย์เมื่อถึงเกณฑ์การรายงาน กรณี HR <60 - ตึกผู้ป่วยยังใช้แบบฟอร์มเก่าทำให้เก็บข้อมูลไม่ครบ
ความไม่สมบูรณ์ในการติดตามการใช้ HAD LR : ไม่มีการใช้ HAD ไม่พบ AE ความไม่สมบูรณ์ในการติดตามการใช้ HAD
แนวทางพัฒนาในอนาคต : เภสัชกรผู้รับคำสั่งการใช้ยาคนแรกต้องเป็นผู้ประเมิน Med error & AE , เภสัชกร IPD ประเมินการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา HAD รายงานผลการเกิดความคลาดเคลื่อนจากการใช้ยาความเสี่ยงสูงทุกเดือนให้เป็นปัจจุบัน และประเมินความครอบคลุมในการติดตามการใช้ยา HAD ของตึกผู้ป่วยย้อนหลัง 1 เดือน จัดทำ Pop up ข้อมูลสารละลายยา เพิ่มข้อมูล สารละลายยา, Max. Conc, Max. Rate ใน card ยาฉีดPhenytoin inj, Magnesium inj, KCl inj (ฉลากช่วย)
วาระที่ 3 ปรึกษาหารือ 3.สรุปประเด็น Medication error / DRPs พร้อมแนวทางแก้ไข โดยการมีส่วนร่วมของสหวิชาชีพ
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error) ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error) ความคลาดเคลื่อนในการจัดยา (Pre-dispensing error) ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing error) ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ปี 2560 (4 เดือน) ประเภท IPD OPD ซ้ำซ้อน 10 1.37 1 0.03 ไม่ครบรายการ - 6 0.15 ไม่ได้สั่งยา 0.26 สั่งยาที่ off แล้ว 4 0.10 ชนิดยา 5 0.13 รูปแบบ 3 0.08 ความแรง 13 0.33 จำนวน 160 4.12 สั่งยาที่แพ้ ไม่ตรงสมุด รหัสวิธีใช้ 9 0.23 ไม่เหมาะสม/ไม่จำเป็น C/I รวม 236 6.07 1.ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error) ยาเดิมผู้ป่วย (รับหลายสถานพยาบาล +ไม่นำยาเดิมมา) เขียนไม่ชัดเจน การใช้ตัวย่อ สั่งยาที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ ขนาดยา : GFR , BW RM ยาเดิม จำนวนไม่ตรงวันนัด/ไม่เหมาะสม ไม่ครบรายการ เช่น ยาเดิมผู้ป่วย ไม่ระบุความแรง ซ้ำซ้อนรายการ เช่น -Acetylcysteine -Dimenhydrinate -Ceftriazone -Folic
สาเหตุของ Medication error OPD คำนวณยาไม่ตรงวันนัด => RM แล้วลืมแก้จำนวน =>สั่งยาลงท้ายด้วย 0 หรือ 5 (ปัดขึ้นจากจำนวนวันนัด) ยามีหลายความแรง => เพิ่มความระมัดระวังในการสั่งยา เช่น ASA 81-300 mg. ขนาดยา => BW, GFR ผู้ป่วยมาหลาย visit ทำให้ไม่พบประวัติโรคเรื้อรัง => RM รหัสวิธีใช้ยา เช่น Analgesic balm : S1+3 (พิมพ์แก้ชื่อยาจากรายการเดิม ไม่ได้เคาะเปลี่ยนวิธีใช้) IPD ไม่ได้ Review treatment เมื่อ admit นาน สั่งยาหลังพยาบาลรายงานผล Lab ทางโทรศัพท์ Round แทน –อ่านลายมือไม่ชัดเจน เพราะมี order หลายหน้า
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) 2.ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error) แพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจน Copy order ไม่ชัด Sound Alike ประเภท IPD (ปีงบ 60 : 4 เดือน) ครั้ง /1,000 วันนอน ไม่ครบรายการ 9 1.23 ชนิดยา 12 1.64 รูปแบบ 1 0.14 ความแรง 3 2.41 จำนวน 23 3.15 รหัสวิธีใช้ 11 1.51 ขนาดยา 6 0.82 ผิดเวลา รวม 66 9.04 แนวทางการดำเนินงาน
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) 3.ความคลาดเคลื่อนในการจัดยา (Pre-dispensing error) สาเหตุ Sound Alike -Glibenclamide – Glipizide Vit.Bco-Vit.B1-6-12 Loratadine – Lorazepam Ceftriazone - Ceftazidime Look Alike NPH pen-Mixed pen จำนวน Prepack ยาแผง เช่น บรรจุ 15 tab/แผง วางยาไม่ตรงตะกร้า Print sticker ไม่ครบ ปัญหาจาก HI
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) 4.ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing error) ชนิดยา รหัสวิธีใช้ Sound Alike => Ceftriazone – Ceftazidime => Cefazolin - Cloxacillin => Amlodipine - Amitriptyline เนื่องจากคีย์ผิด -Amlodipine (10) 1x2 จ่าย 1x1 -Amoxy syr. 1.5 ชช.x3 จ่าย 1.5 ชช.x2 ไม่ครบรายการ -คีย์ยาไม่ครบรายการ เช่น - ASA 81 mg. -Omeprazole inj. -พิมพ์สติกเกอร์ คนละเวลา/ card ยาไม่ครบ -คีย์ stat แต่ไม่ได้จัดยา Unit dose -Unit dose แบบไม่ prepack ทำให้จัดยาไม่ครบ (ต.ค.-พ.ย.59)
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) 5.ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error) Stat ยาในตึกผิดชนิด Sound Alike เช่น -Glibenclamide-Glipizide -Ceftazidime - Ceftriazone วิธีใช้ ; Amlodipine (10) 1x2 => 1x1 : Vit.Bco 1x3 => 1x1 ความแรง: : Lorazepam 1 mg. จ่าย 0.5 mg, : Enalapril 5 mg. จ่าย 20 mg. (คืน stock ผิด) ไม่ครบรายการ
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) 5.ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error) Pitfalls in Administration error ขาดการรายงาน (กลัวว่าเป็นความผิด, ยุ่งยาก) ขาดการตรวจสอบความถูกต้อง การสำรองยาที่ไม่จำเป็น การจัดยาก่อนการบริหารยาเป็นเวลานาน การลงนามบริหารยาที่ไม่ใช่เวลาจริง การเชื่อมโยงระหว่างสหวิชาชีพ การป้อนข้อมูลกลับ และแนวทางการจัดการ
ขอบคุณค่ะ
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 6 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคติดเชื้อระบบหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยนอก < ร้อยละ 20 35.51 7 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 63.84 8 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ < ร้อยละ 40 47.87 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนด ทางช่องคลอด < ร้อยละ 10 43.75 10 ร้อยละของผู้ป่วย HT ทั่วไป ที่ใช้ RAS blocked (ACEI/ARB/Renin inh.) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูง ร้อยละ 0 6.81 11 ร้อยละผู้ป่วย DM ที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ป่วยอายุ >65 ปี หรือมี eGFR < 60 ml/min/1.73 m2 < ร้อยละ 5 21.52 12 ร้อยละผู้ป่วย DM ที่ใช้ Metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้าม (ห้ามใช้หาก eGFR < 30 ml/min/1.73 m2 ) > ร้อยละ 80 49.67
ตัวชี้วัด RDU ระดับโรงพยาบาล (18 ตัวชี้วัด) ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 13 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ซ้ำซ้อน < ร้อยละ 5 5.88 14 ร้อยละผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ระดับ 3 ขึ้นไปที่ได้รับ NSAIDs < ร้อยละ 10 9.03 15 ร้อยละผู้ป่วยโรคหืดเรื่อรังที่ได้รับยา inhaled corticosteroid > ร้อยละ 80 79.39 16 ร้อยละผู้ป่วยนอกสูงอายุ (> 65 ปี) ที่ใช้ยากลุ่ม Long-acting benzodiazepine (Chlordiazepoxide, Diazepam, Di.chlorazepate) 0.98 17 จำนวนสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับยาที่ห้ามใช้ ได้แก่ Warfarin*, statins, ergots เมื่อทราบว่าตั้งครรภ์แล้ว (*ยกเว้นกรณีใส่ mechanical heart valve) 18 ร้อยละของผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (ครอบคลุมตามรหัส ICD-10 ตาม RUA-URI) และได้รับยาต้านฮีสตามีนชนิด non-sedating) < ร้อยละ 20
ตัวชี้วัด RDU ที่ยังไม่บรรลุตามเป้าหมาย ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 9 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนด ทางช่องคลอด < ร้อยละ 10 43.75 (7/16) ปัจจุบันใช้ใน : 1.เย็บแผลนาน > 30 นาทีขึ้นไป เพราะเฉลี่ยเย็นแผลประมาณ 20 นาที 2.ในรายที่ขณะคลอด มีการ Contaminated 3.ในรายที่แม่มีภาวะ PROM ก่อนคลอดมากกว่าหรือเท่ากับ 18 ชม. แนวทางดำเนินการ : 1.
ตัวชี้วัด RDU ที่ยังไม่บรรลุตามเป้าหมาย ลำดับ ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลงาน ไตรมาส 1 10 ร้อยละของผู้ป่วย HT ทั่วไป ที่ใช้ RAS blocked (ACEI/ARB/Renin inh.) 2 ชนิดร่วมกัน ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูง ร้อยละ 0 6.81 แนวทางดำเนินการ : ทำ Pop-up 11 ร้อยละผู้ป่วย DM ที่ใช้ Glibenclamide ในผู้ป่วยอายุ >65 ปี หรือมี eGFR < 60 ml/min/1.73 m2 < ร้อยละ 5 21.52 12 ร้อยละผู้ป่วย DM ที่ใช้ Metformin เป็นยาชนิดเดียวหรือร่วมกับยาอื่นเพื่อควบคุมระดับน้ำตาล โดยไม่มีข้อห้าม (ห้ามใช้หาก eGFR < 30 ml/min/1.73 m2 ) > ร้อยละ 80 49.67 แนวทางดำเนินการ : 1. 2.
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error) ซ้ำซ้อนรายการ -Acetylcysteine -Dimenhydrinate -Ceftriazone -Folic 1.จำนวนไม่ตรงวันนัด 2.ขนาดยา - BW - GFR 3.ความแรง -Amoxy syr.125-250 MG/5ML. -Amoxy 250 – 500 mg. -Ibuprofen 200-400 mg. /1,000 ใบสั่งยา
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing error) =>ชนิด -Cloxacillin – Cefazolin -Ceftazidime - Ceftriazone =>ไม่ครบรายการ -ASA 81 mg. (ไม่ได้คีย์ยา) -Omeprazole inj. =>วิธ๊ใช้ (คีย์ยาผิด) -Amlodipine (10) 1x2 จ่าย 1x1 -Amoxy syr. 1.5 ชช.x3 จ่าย 1.5 ชช.x2 ชนิดยา : Look Alike 1.Para inj. –Diclofenac inj. 2.Lincomycin inj.-Tramol inj. /1,000 ใบสั่งยา ไม่ครบรายการ : Trifluoperazine
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error) 1.ผิดชนิด : Ceftriazone- Ceftazidime : Glipizide – Glibenclamide 2.วิธีใช้ ; Amlodipine (10) 1x2 => 1x1 : Vit.Bco 1x3 => 1x1 3.ความแรง : Lorazepam 1 mg. – 0.5 mg, : Enalapril 5 mg. – 20 mg. (คืน stock ผิด) 1.ไม่ครบรายการ -Simvastatin -Desferal 2.ชนิดยา -Dicyclomine –Dicloxacillin -Ceftazidime – Ceftriazone 3.ขนาดยา -Ceftazidime 1 g. ฉีด 2 g. /1,000 วันนอน