MIS กับ จริยธรรมการบันทึกข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
รายงานผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
วัชระ เสงี่ยมศักดิ์ รพ. สต. โคกย่าง ต. โคกย่าง อ. ประโคนชัย จ. บุรีรัมย์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการรายงานข้อมูลให้มีความ ครอบคลุม ถูกต้อง และทันสมัย ปีงบประมาณ กองแผนงาน -
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ทำงานให้สำเร็จและมีความสุข
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
(ร่าง)งบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กลุ่มเกษตรกร.
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
รายงานสถานการณ์E-claim
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดบุรีรัมย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MIS กับ จริยธรรมการบันทึกข้อมูล โดย นายประเสริฐ เก็มประโคน 15 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องประชุมลี้ลอย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์

ระดับการตัดสินใจในการใช้ข้อมูลข่าวสารสารสนเทศ

Thai Child Development HIS กับ การได้มาซึ่งข้อมูลและสารสนเทศ HOSxP DataCenter Thai Refer Data Center MIS 43F-Data Center WM Webmanager ThaiCVRisk HDC Vision2020 บริการสารสนเทศ COCR9 Thai Child Development

ความต้องการด้านสารสนเทศแต่ละระดับ ลำดับ หมวดตัวชี้วัด ทั้งหมด (รายการ) แหล่งข้อมูล (รายการ) 1.HDC 2.Script 3.Report 4.Tool/DC 5.e-claim 6.COCR9 1 PA : เขต 9 31 5 6 20 2 KPI_MOPH 24 15 3 SP_Ket 28 13 9 4 SP_Moph 25 QOF 18 7 P4P Province 162 56 102   รวม 306 96 174 121 หมายเหตุ ตัวชี้วัดหลายตัวมีการซ้ำซ้อนกันหลายหมวด

ปัญหาของสารสนเทศ Under Report Over Report สาเหตุ มีหลาย HIS ที่ต้องบันทึกข้อมูล ช่วงเวลาในการนำไปใช้ประโยชน์ไม่สอดคล้องกัน การกำหนดนิยามศัพท์หรือเงื่อนไขการจัดเก็บล่าช้า แก้ไขโดย สร้างจิตสำนึกให้มีจริยธรรมการบันทึกข้อมูล ซึ่งคือ การบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน ถูกต้อง ตามความเป็นจริง ที่ให้บริการ

สารสนเทศด้านการตาย

1. อัตราส่วนการตายมารดา (ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค A = จำนวนมารดาตายระหว่างการตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด 42 วันหลังคลอด ทุกสาเหตุยกเว้นอุบัติเหตุในช่วงเวลาที่กำหนด B = จำนวนการเกิดมีชีพทั้งหมดในช่วงเวลาเดียวกัน เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100,000 Report 16,964 2 11.78 43 แฟ้ม (HDC) - Data center 11,670 0.00 สนย.

เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 2. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี (ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค A = จำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ B = จำนวนประชากรกลางปีของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี การจมน้ำ หมายถึง การจมน้ำที่เกิดจากอุบัติเหตุ (ICD-10 = W65-W74) ยกเว้น ที่เกิดจากการใช้ยานพาหนะ หรือการเดินทางทางน้ำ และภัยพิบัติ เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100,000 43 แฟ้ม (Script) 338,560 11 3.24 Data center Report 284,270 (HDC 0-14 ปี) 25 8.79

เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 3. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 16 ต่อประชากร แสนคน ในปีงบประมาณ 2559) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค A = จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนทั้งหมด (V01-V89) ปีงบประมาณ 2559 (ตุลาคม 2558-กันยายน 2559) B = จำนวนประชากรกลางปี 2558 เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100,000 43 แฟ้ม (HDC) Data center 1,260,614 102 8.09 Report 15.22

4. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ลดลง ร้อยละ 10 ภายในปี 2562) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค A = จำนวนการตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (รหัส ICD-10 = I20 - I25) B = จำนวนประชากรกลางปี เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100 43 แฟ้ม (HDC) Data center 1,260,614 101 8.01 Report

สารสนเทศด้านพัฒนาการเด็ก

1. ร้อยละของเด็กอายุ 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค A = จำนวนเด็กแรกเกิด – 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์ และมีพัฒนาการปกติในช่วงเวลาที่กำหนด B= จำนวนเด็กแรกเกิด – 5 ปี 11 เดือน 29 วัน ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการตามเกณฑ์ทั้งหมด ในช่วงเวลาเดียวกัน เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2559 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100 เด็ก 0-5 ปีที่มารับบริการ EPI ที่ WBC 90,735/ 89,935 18,760/ 18,750 20.68/ 20.85 43 แฟ้ม (HDC) 85,902 85,719 99.79 Data center 93,582 93,359 99.76 ThaiChildDevelopment 8,990 8,524 94.82

สารสนเทศด้านภาวะโภชนาการเด็กนักเรียน

1. เด็กนักเรียนเริ่มอ้วนและอ้วน (ไม่เกินร้อยละ 10 ภายในปี 2560) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค : HDC A=จำนวนเด็กอายุ 5-14 ปี ที่มีภาวะเริ่มอ้วน + อ้วน ตรวจ nutrition ช่วงปีงบ HEIGHT และ WEIGHT มาคำนวณ nutri_cal ได้ค่า bmi เป็น 4 หรือ 5 นับเป็นผลงาน เริ่มอ้วนและอ้วน B=จำนวนเด็กอายุ 5-14 ปี ที่ชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงทั้งหมด แฟ้ม person ที่อายุ ณ วันตรวจ nutrition ช่วงปีงบในช่วงอายุ 5 - 14 ปี 1. เด็กนักเรียน หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 5 ปี จนถึง 14 ปี (โดยเริ่มนับตั้งแต่ อายุ 5 ปี 1 วัน – 14 ปี 11 เดือน 29 วัน) 2. ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน หมายถึง น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง > + 2 S.D. โดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของกรมอนามัย ปี 2542 3. เด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง หมายถึง เด็กที่มีภาวะอ้วน > + 3 S.D. 4. โรงเรียนระดับประถมศึกษาทุกสังกัด หมายถึง โรงเรียนระดับประถมศึกษา หรือโรงเรียนระดับประถมศึกษาขยายโอกาส สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้แก่ โรงเรียนสาธิตในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100 43 แฟ้ม (HDC) 148,773 13,504 9.08 43 แฟ้ม Script (วนทั้งจังหวัด) 187,408 15,887 8.47 Data center 165,065 9,545 5.78

สารสนเทศด้านหญิงตั้งครรภ์

เงื่อนไขทางเทคนิค : HDC 1. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน ภายในปี 2561) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค : HDC A = จำนวนการคลอดมีชีพของหญิงอายุ 15-19 ปี age_y BETWEEN 15 and 19 วันที่คลอดในช่วงปีงบ AND ((LBORN (จำนวนเกิดมีชีพ) >=1 AND SBORN(จำนวนตายคลอด) =0 ) หรือ ผู้ป่วยในที่ date_disch ในปีงบ diag 'O80','O84' B = จำนวนหญิงอายุ 15-19 ปี ทั้งหมด (จากจำนวนประชากรกลางปี 2558) p.sex=2 AND p.check_typearea in(1,3) AND p.DISCHARGE in(9) อายุ 15 - 19 ปี ณ กลางปี เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 1,000 43 แฟ้ม (HDC) 59,886 1,697 28.34 Data center 47,695 907 19.02 Report (สป.พม.) 21.60

เงื่อนไขทางเทคนิค : HDC 2. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค : HDC A = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายในหน่วยบริการที่มาฝากครรภ์ครั้งแรก (ใน B) โดยอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ (นับเฉพาะการฝากครรภ์ครั้งแรกของการของการตั้งครรภ์ครั้งนั้น) จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน แฟ้ม anc ga < 12 โดยวิ่งหาผลงานทั้งจังหวัดโดยใช้ cid และ gravida (ครรภ์ที่) เป็นตัววิ่งหาผลงาน โดยย้อน date_serv ไปหนึ่งปี ผลงานจะนับให้เฉพาะ รพ.เท่านั้น B = จำนวนหญิงมีครรภ์ทุกรายที่มารับบริการฝากครรภ์ครั้งแรก ในหน่วยบริการทั้งหมดของแต่ละหน่วยลงทะเบียน แฟ้ม labor หญิงที่วันคลอดในช่วงปีงบ นับเฉพาะที่คลอดในโรงพยาบาลเท่านั้น ช่วงนับผลงาน 1 เม.ย.58-31 มี.ค.59 แต่ HDC นับตามปีงบประมาณ และนับผลงานในภาพรวม รพ. เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล ปีงบประมาณ 2558 ช่วง QOF 58 เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100 43 แฟ้ม (HDC) 9,895 2,572 25.99 2,117 787 37.18 Data center 3,595 2,864 79.67 2,043 1,516 74.20

เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2559 แหล่งข้อมูล ปีงบประมาณ 2559 ช่วง QOF 59 เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100 43 แฟ้ม (HDC) 2,169 580 26.74 2,580 961 37.25 Data center 759 583 76.81 1,867 1,384 74.13

ANC < 12 Weeks เขตสุขภาพที่ 9 ปีงบประมาณ 2558 นม. 45% บร. 26% สร. 33% ชย. 34% ANC < 12 Weeks เขตสุขภาพที่ 9 ปีงบประมาณ 2559 นม. 30% บร. 27% ชย. 33% สร. 32%

3. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค : HDC A = จำนวนหญิงคลอดแล้วทุกสิทธิประกันสุขภาพ (ใน B) ที่มีประวัติได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้ง (นำหญิงคลอดในแฟ้ม MCH มาหาประวัติการดูแลก่อนคลอด ในแฟ้ม ANC ย้อนล่วงหน้าก่อน 1 เม.ย.58 อีก 9 เดือน จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน แฟ้ม anc ga ครั้งที่ 1 < 12, ครั้งที่ 2 13 ถึง 20,ครั้งที่ 3 21 - 28,ครั้งที่ 4 29 - 35 ,ครั้งที่ 5 36 - 40 โดยวิ่งหาผลงานทั้งจังหวัดโดยใช้ cid และ gravida (ครรภ์ที่) เป็นตัววิ่งหาผลงาน โดยย้อน date_serv ไปหนึ่งปี B = จำนวนหญิงคลอดบุตรแล้วทุกสิทธิ ในเขตรับผิดชอบของหน่วยลงทะเบียน ระหว่าง 1 เม.ย.58-31 มี.ค.59 (จากแฟ้ม MCH) จัดกลุ่มตามหน่วยลงทะเบียน แฟ้ม labor หญิงที่วันคลอดในช่วงปีงบฯ นับเฉพาะที่คลอดในโรงพยาบาลเท่านั้น ช่วงนับผลงาน 1 เม.ย.58-31 มี.ค.59 แต่ HDC นับตามปีงบประมาณ และนับผลงานในภาพรวม รพ. เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล ปีงบประมาณ 2558 ช่วงผลงาน QOF 58 เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100 43 แฟ้ม (HDC) 4,817 1,107 22.98 1,236 241 19.50 Data center 3,595 2,313 64.34 4,209 2,863 68.02

เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2559 แหล่งข้อมูล ปีงบประมาณ 2559 ช่วงผลงาน QOF 59 เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B x 100 43 แฟ้ม (HDC) 992 202 20.36 273 58 21.25 Data center 759 411 54.15 2,406 1,450 60.27

นม. 61.08% บร. 22.76% สร. 34.12% ชย. 27.21% นม. 32.82% บร. 20.82% สร. 31.30% ชย. 23.46%

สารสนเทศผู้สูงอายุ

เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 1.9 ร้อยละของผู้สูงอายุต้องการความช่วยเหลือในการดำเนิน กิจวัตรประจำวันพื้นฐาน (ไม่เกินร้อยละ 15) ตัวตั้ง/ตัวหาร เงื่อนไขทางเทคนิค A = จำนวนผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน ที่ได้รับการประเมิน ประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล (ADL แล้วอยู่ใน กลุ่ม 2 รวม กับ กลุ่ม 3) B1 = ผู้สูงอายุทุกคน (ผู้ที่มีอายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) ที่ได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้ง 3 ด้านได้แก่ (1) คัดกรองปัญหาสำคัญและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ (2) คัดกรองกลุ่ม Geriatric Syndromes และ (3) การประเมินสมรรถนะผู้สูงอายุเพื่อการดูแล B2 = จำนวนผู้สูงอายุทั้งหมดที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่ เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน ปี 2558 แหล่งข้อมูล เป้าหมาย (B) ผลงาน (A) อัตรา A/B1 x 100 43 แฟ้ม (HDC) Data center 171,383 5,530 3.23 Report

(ผลงานระหว่างเดือน กรกฎาคม 2558-มิถุนายน 2559) เร่งรัดผลงาน P4P ปี 59 (ผลงานระหว่างเดือน กรกฎาคม 2558-มิถุนายน 2559)

ตัวชี้วัดตามเกณฑ์คุณภาพ หน่วยบริการรับส่งต่อ (P4P) ปี 2559 ลำดับ ตัวชี้วัด แหล่งข้อมูล script by 6 คุณภาพระบบยาในโรงพยาบาล คณะกรรมการยา   6.1 คุณภาพการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน URI, AGE Script buriram 7 อัตราผู้ป่วยโรค STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด HDC 8 อัตราผู้ป่วยโรค Stroke ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Scrpit ** 9 ร้อยละมะเร็งเต้านมรายใหม่ที่ได้รับการวินิจฉัยในระยะแรก Stage 1-2 Report/Script 10 อัตราทารกแรกเกิดนำหนัก 500 กรัมขึ้นไป ที่เสียชีวิตภายใน 28 วัน korat 11 อัตราผู้ป่วยโรคจิตเรื้อรังที่ได้รับบริการผู้ป่วยนอกภายในจังหวัดอย่างต่อเนื่อง 12 อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน Report 13 ร้อยละผู้ป่วยได้รับยา Warfarin ที่ รพช. Warfarin Network 14 รพช. (F1-3) : ร้อยละผู้ป่วย Stroke ที่ส่งกลับมานอน รพช. และได้รับกายภาพบำบัดใน รพ. e-claim 15 รพท. เล็ก (M1) , รพช. Node (M2) : อัตราการได้รับการผ่าตัดไส้ติ่ง (Appendectomy) จากโรงพยาบาลชุมชุน 16 ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วย RW<2 ข้ามจังหวัด 17 ร้อยละการส่งออกนอกเขต 18 ร้อยละผู้ป่วย Blinding Cataract ที่ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน

แนวทางการสนับสนุนงบ PPA ปี 2559 (ผลงานตั้งแต่ 1 ต.ค.58-31 ส.ค.59) งวดที่ 1 จัดสรร 50% ของงบสนับสนุน ตามเป้าหมายตั้งต้น ภายใน ก.พ.59 งวดที่ 2 จัดสรรตามผลงาน ในเดือน พ.ค. 59 (ผลงาน ต.ค.58-เม.ย.59)

แนวทางการสนับสนุนงบ PPA ปี 2559 ลำดับ รายการสนับสนุน งบสนับสนุน หน่วยบริการเป้าหมาย ข้อมูลที่ใช้ในการจัดสรร งวด 1 ข้อมูลที่ใช้ในการจัดสรร งวด 2 1 ตรวจคัดกรองสุขภาพพระภิกษุสงฆ์ 6,135,000 108 CUP CIO (43F) Pop พระ 43F 2 ตรวจวัดสายตาเด็ก นร.ป.1 4,080,000 CIO (DC/tool) pop เด็ก x.1 DC/Tool 3 ตรวจประเมินพัฒนาการเด็ก (0-5 ปี) 7,243,840 สปสช. ณ ธ.ค.58 Pop เด็ก 0-5 ปี 43F : HDC 4 บริการผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง 22,088,124   4.1 การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 18,626,059 Pop ผู้สูงอายุ 4.2 การดูแลต่อเนื่องที่บ้านผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (เฉพาะสิทธิ์ UC ตามแนวทาง LTC) 3,462,065 CUP นอกเป้าหมาย LTC (โดยสมัครไม่เกิน 3 พท./CUP) ข้อมูลที่สมัคร/COCR9 COCR9 6 ตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงพยาธิใบไม้ตับ และมะเร็งท่อน้ำดี ปชก.กลุ่มเสี่ยง 40 ปี ขึ้นไปทุกสิทธิ์ 4,000,000 (CASCAP) CASCAP

สารสนเทศเด็กนักเรียน

รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย เปรียบเทียบจำนวนเด็กนักเรียนชั้น ป. 1 ประจำปี 2559 ระหว่างแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ลำดับ รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย Data Center Report แตกต่าง 1 02876 รพ.สต.หัววัว ตำบลเสม็ด 390 347 -43 2 02877 รพ.สต.บัว ตำบลบ้านบัว 458 468 10 3 02878 รพ.สต.บุลาว ตำบลสะแกโพรง 310 326 16 4 02881 รพ.สต.ยาง ตำบลบ้านยาง 550 562 12 5 02892 รพ.สต.โคกกลาง ตำบลกลันทา 244 248 6 03077 รพ.สต.ปราสาท ตำบลปราสาท 212 213 7 10667 โรงพยาบาลบุรีรัมย์ 857 896 39 8 10895 โรงพยาบาลคูเมือง 642 9 10896 โรงพยาบาลกระสัง 1117 1186 69 10897 โรงพยาบาลนางรอง 1314 1530 216 11 10898 โรงพยาบาลหนองกี่ 832 848 10899 โรงพยาบาลละหานทราย 862 871 13 10900 โรงพยาบาลประโคนชัย 1660 1719 59 14 10901 โรงพยาบาลบ้านกรวด 841 865 24 15 10902 โรงพยาบาลพุทไธสง 457 473

รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย เปรียบเทียบจำนวนเด็กนักเรียนชั้น ป. 1 ประจำปี 2559 ระหว่างแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ลำดับ รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย Data Center Report แตกต่าง 16 10904 โรงพยาบาลลำปลายมาศ 1645 1646 1 17 10905 โรงพยาบาลสตึก 1214 1250 36 18 10906 โรงพยาบาลปะคำ 574 582 8 19 10907 โรงพยาบาลนาโพธิ์ 307 312 5 20 10908 โรงพยาบาลหนองหงส์ 602 610 21 10909 โรงพยาบาลพลับพลาชัย 473 479 6 22 10910 โรงพยาบาลห้วยราช 430 436 23 10911 โรงพยาบาลโนนสุวรรณ 246 256 10 24 10912 โรงพยาบาลชำนิ 373 384 11 25 10913 โรงพยาบาลบ้านใหม่ไชยพจน์ 211 221 26 10914 โรงพยาบาลโนนดินแดง 365 369 4 27 11619 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ 372 393 28 23578 โรงพยาบาลแคนดง 319 341 29 28020 โรงพยาบาลบ้านด่าน 92 รวม Data Center 17,969 18,565 596

สารสนเทศพระภิกษุสงฆ์

รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย เปรียบเทียบจำนวนพระภิกษุสงฆ์ ประจำปี 2559 ระหว่างแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ลำดับ รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย สำรวจ (1) HDC (2) Data center (3) แตกต่าง (1,3) 1 02876 รพ.สต.หัววัว ตำบลเสม็ด 133 30 103 2 02877 รพ.สต.บัว ตำบลบ้านบัว 165 23 17 148 3 02878 รพ.สต.บุลาว ตำบลสะแกโพรง 172 7 4 02881 รพ.สต.ยาง ตำบลบ้านยาง 147 8 139 5 02892 รพ.สต.โคกกลาง ตำบลกลันทา 115 32 15 100 6 03077 รพ.สต.ปราสาท ตำบลปราสาท 118 35 33 85 10667 โรงพยาบาลบุรีรัมย์ - 381 155 -155 10895 โรงพยาบาลคูเมือง 371 144 137 234 9 10896 โรงพยาบาลกระสัง 487 83 404 10 10897 โรงพยาบาลนางรอง 649 203 77 572 11 10898 โรงพยาบาลหนองกี่ 432 48 384 12 10899 โรงพยาบาลละหานทราย 435 162 114 321 13 10900 โรงพยาบาลประโคนชัย 709 216 86 623 14 10901 โรงพยาบาลบ้านกรวด 462 237 213 249 10902 โรงพยาบาลพุทไธสง 205 109 78 127

รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย เปรียบเทียบจำนวนพระภิกษุสงฆ์ ประจำปี 2559 ระหว่างแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ลำดับ รหัสหน่วยบริการแม่ข่าย ชื่อหน่วยบริการแม่ข่าย สำรวจ (1) HDC (2) Data center (3) แตกต่าง (1,3) 16 10904 โรงพยาบาลลำปลายมาศ 653 60 46 607 17 10905 โรงพยาบาลสตึก 560 281 199 361 18 10906 โรงพยาบาลปะคำ 275 150 75 200 19 10907 โรงพยาบาลนาโพธิ์ 177 23 160 20 10908 โรงพยาบาลหนองหงส์ 277 138 69 208 21 10909 โรงพยาบาลพลับพลาชัย 214 65 50 164 22 10910 โรงพยาบาลห้วยราช 186 112 44 142 10911 โรงพยาบาลโนนสุวรรณ 143 30 113 24 10912 โรงพยาบาลชำนิ 206 39 11 195 25 10913 โรงพยาบาลบ้านใหม่ไชยพจน์ 137 37 14 123 26 10914 โรงพยาบาลโนนดินแดง 151 215 78 73 27 11619 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ 101 38 237 28 23578 โรงพยาบาลแคนดง 165 100 135 29 28020 โรงพยาบาลบ้านด่าน 94 47 รวม Data Center 8,113 3,287 1,849 6,264

เตรียมความพร้อมสำหรับ QOF ปี 60 และ เตรียมความพร้อมสำหรับ QOF ปี 60 (1 เมษายน 2559-31 มีนาคม 2560)

ตัวชี้วัดตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (Quality and Outcome Framework : QOF) ปี 2559 -2560 KPI ด้านที่ 1 ID Gr_ID ตัวชี้วัด แหล่ง ข้อมูล script by 2559 2560   ตัวชี้วัดด้านที่ 1 คุณภาพและผลงานการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1 1.1 การฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ Script korat  2 1.2 การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 3 1.3 ร้อยละของสตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก Report 4 1.4 จำนวนผู้สูงอายุ 60 ปี ได้รับบริการใส่ฟันเทียม/ฝังรากฟันเทียม 

ตัวชี้วัดตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (Quality and Outcome Framework : QOF) ปี 2559 -2560 KPI ด้านที่ 2 ID Gr_ID ตัวชี้วัด แหล่ง ข้อมูล script by 2559 2560   ตัวชี้วัดด้านที่ 2 คุณภาพและผลงานการจัดบริการปฐมภูมิ 5 2.1 สัดส่วน OP ปฐมภูมิ /รพ. Script korat  6 2.2 อัตราการรับเข้ารักษาใน รพ.จากโรคหืด e-claim 7 2.3 อัตราการรับไว้รักษาใน รพ.ด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนระยะสั้น 8 2.4 อัตราการรับไว้รักษาใน รพ. ด้วยโรคความดันโลหิตสูงหรือภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูง 9 2.5 ร้อยละ ผู้ป่วยเบาหวานที่มี Microalbuminuria ได้รับยากลุ่ม ACE-inhibitor หรือ ARB buriram

ตัวชี้วัดตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (Quality and Outcome Framework : QOF) ปี 2559 -2560 KPI ด้านที่ 3 ID Gr_ID ตัวชี้วัด แหล่ง ข้อมูล script by 2559 2560   ตัวชี้วัดหมวดที่ 3 คุณภาพและผลงานด้านการพัฒนาองค์กร การเชื่อมโยงบริการระบบส่งต่อ และการบริหารระบบ 10 3.1 ร้อยละประชาชนมีทีมหมอครอบครัวดูแลตามเกณฑ์ Report  11 3.2 ร้อยละหน่วยบริการปฐมภูมิผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียน

ตัวชี้วัดตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ (Quality and Outcome Framework : QOF) ปี 2559 -2560 KPI ด้านที่ 4 ID Gr_ID ตัวชี้วัด แหล่ง ข้อมูล script by 2559 2560   ตัวชี้วัดหมวดที่ 4 คุณภาพและผลงานของบริการที่จำเป็นตอบสนองปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ และบริการเสริมในพื้นที่ 12 4.1 ร้อยละของการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะใน URI,AGE (วัดระดับ PCU) Script buriram  13 4.2 สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ระยะที่ 1 และ 2 รวมกัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 Report 14 4.3 เด็กสงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการตรวจกระตุ้นพัฒนาการ (excel) 15 4.4 ร้อยละของเด็กนักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน Tool/DC korat 16 4.5 ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี 17 4.6 ร้อยละผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (ติดเตียง) และกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญ ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยทีมหมอครอบครัวระดับตำบล COCR9 18 4.7 ร้อยละของพระภิกษุสงฆ์ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ  อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออก (วัดเทียบระดับประเทศ) 4.8 อัตราการพบผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ลดลง (เทียบค่าเฉลี่ยของเขต)