6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แนวทางการสนับสนุนงบบริการสร้างเสริม สุขภาพและป้องกันโรค (PPA-PPD) เพื่อ สนับสนุนนโยบายทีมหมอครอบครัว (FCT) ปี 2558 เขต 9 นครราชสีมา งานพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิและเวชปฏิบัติครอบครัว.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
เงินโอนตามผลงานการบำบัดระบบสมัครใจและระบบบังคับบำบัดแบบไม่ควบคุมตัว (ปีงบประมาณ2558) สถานบริการปี 2558ปี 2559รวม (บาท) 1.รพ.พระจอมเกล้า17,50027,50045,000.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ข้อมูลทั่วไปอำเภอเมืองระยอง
งาน Palliative care.
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
RF COC /Palliative care.
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3.
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
ระบบบริการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข
คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
การติดตาม (Monitoring)
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
การดูแลผู้สูงอายุเครือข่ายพนมสารคาม
ประชุมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 16 กรกฎาคม 2561 เวลา น. ณ ห้องประชุมอินทนนท์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ Happiness. Good things. WE CAN DO.

ผู้สูงอายุได้รับการบริการสุขภาพที่พึงประสงค์ (กายดี จิตสดใส มีที่พักพิง)

6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ

6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ ระดับการจัดการ ชุมชน/หมู่บ้าน ระดับบริการ Self care/HHC ประชาชน (กลุ่มเป้าหมาย) ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป Goal 1)อัตราผู้สูงอายุติดบ้านไม่เกิน ร้อยละ 10 2)อัตราผู้สูงอายุติดเตียง ไม่เกิน ร้อยละ 1 บริการ Service Delivery 1)ชมรมผู้สูงอายุ 2)กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงบูรณาการแพทย์แผนไทยแพทย์ทางเลือก 3)คัดกรองสุขภาพ 4.ส่งตอ บุคลากรด้านสุขภาพ Health Workforce 1)ผู้สูงอายุ 2) ครอบครัวผู้สูงอายุ 3) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(care giver) 4)อสม. 5)อผส. 6) จิตอาสา 7)นสค. ยา และเทคโนโลยี Medicine and Technology 1)ยาสมุนไพร การแพทย์ทางเลือก 2)นวัตกรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ผ้าขาวม้าออกกำลังกาย กะลามะพร้าวนวดเท้า เตียงลูกโป่งน้ำ ถุงทรายผ้าขาวม้า ไม้พลอง ลูกบอลมหัศจรรย์ 3)วิจัยและพัฒนาเช่น โปรแกรมออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อและการทรงตัวโดยใช้ถุงทรายผ้าขาวม้า 4) หอกระจายข่าว ข้อมูล Information 1)สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ 2)ทะเบียน 3)ระบบ Line ค่าใช้จ่าย Financial 1)เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ อปท. 2)กองทุนผู้สูงอายุ เช่น ทำยาหม่อง 3)ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ การจัดการ Leadership Governance 1)เวทีประชาคม 2)มาตรการชุมชน 3)ชมรมผู้สูงอายุ 4)แกนนำชุมชน 5)5 เสือสูงวัย ระดับการจัดการ

6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ ระดับการจัดการ ตำบล ระดับบริการ ปฐมภูมิ(รพ.สต.) ประชาชน ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป กลุ่ม 2 และ กลุ่ม 3 Goal 1) อัตราผู้สูงอายุติดบ้านไม่เกิน ร้อยละ 10 2) อัตราผู้สูงอายุติดเตียง ไม่เกิน ร้อยละ 1 บริการ (Service Delivery) 1)คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในรพ.สต. 2)ผู้สูงอายุ70 ปีไม่มีคิว 3)ระบบส่งต่อ/รับกลับ บุคลากรด้านสุขภาพ Health Workforce 1)ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ(Aging manager) 2)แพทย์ที่ปรึกษา 3)Family Care Team (สหวิชาชีพ) ยา และเทคโนโลยี Medicine and Technology 1)คู่มือ/CPG การดูแลผู้สูงอายุสำหรับ จนท.และ care giverประจำชุมชน 2)สมุดบันทึกสุขภาพ 3) Family Folder 4)แบบคัดกรองผู้สูงอายุในชุมชน 5) ผู้สูงอายุติดบ้านใช้แบบประเมินTAI/LTC/Care Plan ข้อมูล Information 1)ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ 2)คีย์ข้อมูลโปรแกรม Old Survey 3) สรุปวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม 4)สรุปรายงานงวดผู้สูงอายุ 5)Line ค่าใช้จ่าย Financial 1)พัฒนาบุคลากร งบ PPA, CUP 2)พัฒนาระบบบริการ งบ UC อปท. 3)พัฒนาระบบข้อมูล งบ PPA, CUP การจัดการ Leadership Governance 1)พัฒนากำลังคน รพ.สต/วพบ. 2)ระบบบริการ รักษาพยาบาล เยี่ยมบ้าน รายงานข้อมูล รพศ.พมจ. กศน. อสม. ชมรมผู้สูงอายุ แรงงาน เกษตร มหาดไทย 3)บูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย

6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ ทุติยภูมิ/ตติยภูมิระดับสูง ระดับการจัดการ อำเภอ(รพศ.) ระดับบริการ ทุติยภูมิ/ตติยภูมิระดับสูง ประชาชน อายุ 60 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย Goal 1) อัตราผู้สูงอายุติดบ้านไม่เกิน ร้อยละ 10 2) อัตราผู้สูงอายุติดเตียง ไม่เกิน ร้อยละ 1 บริการ Service Delivery 1)คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในรพศ. 2)ผู้สูงอายุ70 ปีไม่มีคิว 3)ระบบส่งต่อ/ส่งกลับ บุคลากรด้านสุขภาพ Health Workforce 1)คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพใน รพศ. 2)แพทย์ในคลินิก ยา และเทคโนโลยี Medicine and Technology 1)คู่มือ/CPG การดูแลผู้สูงอายุ 2)สมุดบันทึกสุขภาพ 3) Family Folder 4)แบบประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 59 5) แนวทางการจัดบริการสุขภาพ 6)สำรองอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์และการฟื้นฟูผู้ป่วย 7)ระบบสนับสนุนเฉพาะโรค ข้อมูล Information คีย์โปรแกรม Old Survey 2)แบบประเมินในคลินิก 3) สรุปวิเคราะห์ข้อมูลโปรแกรม 4)สรุปวิเคราะห์ข้อมูลผู้รับบริการผู้สูงอายุ 5)Line ค่าใช้จ่าย Financial 1)พัฒนาบุคลากร งบ PPA, CUP 2)พัฒนาระบบบริการ งบ UC อปท. 3)พัฒนาระบบข้อมูล งบ PPA, CUP การจัดการ Leadership Governance 1)พัฒนากำลังคน รพ.สต/วพบ. 2)ระบบบริการ รักษาพยาบาล เยี่ยมบ้าน รายงานข้อมูล รพศ.พมจ. กศน. อสม. ชมรมผู้สูงอายุ แรงงาน เกษตร มหาดไทย 3)บูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย

6 Building Block สาขาผู้สูงอายุ ทุติยภูมิ/ตติยภูมิระดับสูง ระดับการจัดการ ชุมชน/หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ(รพศ.) ระดับบริการ Self care/HHC ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ/ตติยภูมิระดับสูง ประชาชน ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป -ผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป กลุ่ม 2 และ กลุ่ม 3 อายุ 60 ปีขึ้นไป กลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย Goal 1)อัตราผู้สูงอายุติดบ้านไม่เกิน ร้อยละ 10 2)อัตราผู้สูงอายุติดเตียง ไม่เกิน ร้อยละ 1 บริการ Service Delivery -1)ชมรมผู้สูงอายุ 2)กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงบูรณาการแพทย์แผนไทยแพทย์ทางเลือก 3)คัดกรองสุขภาพ 4.ส่งต่อ 1)คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในรพ.สต. 2)ผู้สูงอายุ70 ปีไม่มีคิว 3)ระบบส่งต่อ/รับกลับ 1)คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพในรพศ. 2)ผู้สูงอายุ70 ปีไม่มีคิว 3)ระบบส่งต่อ/ส่งกลับ บุคลากรด้านสุขภาพ Health Workforce -1)ผู้สูงอายุ 2) ครอบครัวผู้สูงอายุ 3) ผู้ดูแลผู้สูงอายุ(care giver) 4)อสม. 5)อผส. 6) จิตอาสา 7)นสค. 1)ผู้รับผิดชอบงานผู้สูงอายุ(Aging manager) 2)แพทย์ที่ปรึกษา 3)Family Care Team(สหวิชาชีพ) 1)คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพใน รพศ. 2)แพทย์ในคลินิก ยา และเทคโนโลยี Medicine and Technology 1)ยาสมุนไพร การแพทย์ทางเลือก 2) นวัตกรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น ผ้าขาวม้าออกกำลังกาย กะลามะพร้าวนวดเท้า เตียงลูกโป่งน้ำ ถุงทรายผ้าขาวม้า ไม้พลอง ลูกบอลมหัศจรรย์ 3)วิจัยและพัฒนาเช่น โปรแกรมออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อและการทรงตัวโดยใช้ถุงทรายผ้าขาวม้า 4) หอกระจายข่าว 1)คู่มือ/CPG การดูแลผู้สูงอายุสำหรับ จนท.และ care giverประจำชุมชน 2)สมุดบันทึกสุขภาพ 3) Family Folder 4)แบบประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ 5) ผู้สูงอายุติบ้านใช้แบบประเมินTAI/LTC/Care Plan 6)วิจัยและพัฒนาเช่น โปรแกรมออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อและการทรงตัวโดยใช้ถุงทรายผ้าขาวม้า 1)คู่มือ/CPG การดูแลผู้สูงอายุ 2)สมุดบันทึกสุขภาพ 3) Family Folder 4)แบบประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 59 5) แนวทางการจัดบริการสุขภาพ 6)สำรองอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์และการฟื้นฟูผู้ป่วย 7)ระบบสนับสนุนเฉพาะโรค 8)วิจัยและพัฒนา เช่น ศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ CUP โรงพยาบาลอุดรธานี ข้อมูล Information -1)สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ 2)ระบบ Line 1)ฐานข้อมูลผู้สูงอายุ 2)คีย์ข้อมูลโปรแกรม Old Survey 3) สรุปวิเคราะห์ข้อมูลจากโปรแกรม 4)สรุปรายงานงวดผู้สูงอายุ 5)Line คีย์โปรแกรม Old Survey 2)แบบประเมินในคลินิก 3) สรุปวิเคราะห์ข้อมูลโปรแกรม 4)สรุปวิเคราะห์ข้อมูลผู้รับบริการผู้สูงอายุ 5)Line ค่าใช้จ่าย Financial -1)เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ อปท. 2)กองทุนผู้สูงอายุ เช่น ทำยาหม่อง 3)ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ 1)พัฒนาบุคลากร งบ PP, CUP 2)พัฒนาระบบบริการ งบ UC อปท. 3)พัฒนาระบบข้อมูล งบ PP, CUP 1)พัฒนาบุคลากร งบ PPA, CUP 2)พัฒนาระบบบริการ งบ UC อปท. 3)พัฒนาระบบข้อมูล งบ PPA, CUP การจัดการ Leadership Governance -1)เวทีประชาคม 2)มาตรการชุมชน 3)ชมรมผู้สูงอายุ 4)แกนนำชุมชน 5)5 เสือสูงวัย 1)พัฒนากำลังคน รพ.สต/วพบ. 2)ระบบบริการ รักษาพยาบาล เยี่ยมบ้าน รายงานข้อมูล รพศ.พมจ. กศน. อสม. ชมรมผู้สูงอายุ แรงงาน เกษตร มหาดไทย 3)บูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่าย

กุลยุทธ์ มาตรการ และ KPI

กุลยุทธ์ มาตรการ และ KPI 58 59 60 KPI 1.สนับสนุนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและคัดกรองกลุ่มอาการ (Geratric syndromes) 1.ดำเนินการคัดกรองผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและคัดกรองกลุ่มอาการ (Geratric syndromes) 2.มีการคัดกรองและประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่พึ่งประสงค์ 80 90 30 100 1.ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองประเมินสุขภาพทางร่างกายและจิตใจ ทุกด้าน ( Geriatic Syndrome ,ADL โรคที่พบบ่อย) (กระทรวงร้อยละ 60) 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่พึ่งประสงค์ (กระทรวงร้อยละ 30)

กุลยุทธ์ มาตรการ และ KPI 58 59 60 KPI 2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพเชื่อมโยงจากสถานบริการสู่ชุมชน 1.พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุให้ผ่านคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ 2.จัดทำแนวทาง/คู่มือ 3.อบรม อสม.เชี่ยวชาญ เป็น Care giver หลักสูตร 70 ชม. 40 50 1.คลินิกผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (กระทรวงร้อยละ40)

กุลยุทธ์ มาตรการ และ KPI 58 59 60 KPI (ต่อ)2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพเชื่อมโยงจากสถานบริการสู่ชุมชน 4.มีการวิเคราะห์ข้อมูลผู้สูงอายุจาก Program Old survey เพื่อนำมาวางแผน แก้ไขปัญหา 5.บูรณาการระบบบริการดูแลผู้สูงอายุร่วมกับภาคีเครือข่าย โดยใช่มาตรการ DHS 5.นิเทศ กำกับประเมินรับรอง

กุลยุทธ์ มาตรการ และ KPI 58 59 60 KPI 3.พัฒนาการมีส่วนร่วมของสถานพยาบาล ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 1.ส่งเสริมให้ชุมชน ท้องถิ่นมีการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ 2.มีและใช้แนวทางในการป้องกันภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ 3.มีกิจกรรมการแพทย์แผนไทยในชมรมผู้สูงอายุ 100 1.คปสอ.มีระบบการดูแลผู้สูงอายุที่ครบวงจร (กระทรวงร้อยละ90)

กุลยุทธ์ มาตรการ และ KPI 58 59 60 KPI (ต่อ) 3.พัฒนาการมีส่วนร่วมของสถานพยาบาล ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 4.มีแนวทางการดูแลระยะยาวในผู้สูงอายุ 4.1กลุ่มติดบ้าน 4.2กลุ่มติดเตียง 5.มีการปรับสภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ NA 100 10 1 ผู้สูงอายุติดบ้านลดลงไม่เกินร้อยละ 10 (กระทรวง) ผู้สูงอายุติดเตียงลดลงร้อยละ 1 (กระทรวง)

Small Success และระบบติดตามกำกับ

Small Success และระบบติดตามกำกับ กลุ่มวัย 3 เดือน ผู้สูงอายุ พื้นที่ดำเนินการคัดกรองในชุมชน ร้อยละ 90 คลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ร้อยละ50 พื้นที่ดำเนินการคัดกรองภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ ร้อยละ 90

Small Success และระบบติดตามกำกับ กลุ่มวัย 6 เดือน ผู้สูงอายุ -กลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองในชุมชนได้รับการประเมินในคลินิกผู้สูงอายุ ดูแล รักษา และส่งต่อ ร้อยละ 100 -ให้บริการส่งเสริมสุขภาพกายใจและป้องกันโรคในผู้สูงอายุกลุ่ม 1 กลุ่ม 2 และกลุ่ม 3 ร้อยละ 100 -คัดกรองภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ ร้อยละ 90

Small Success และระบบติดตามกำกับ กลุ่มวัย 9เดือน ผู้สูงอายุ -ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองครบทุกด้าน ร้อยละ 100 (สุขภาพ Geriatic Syndrome ,ADL, Dementia (แบบคัดกรองรูปเสือ)) - นำมาวิเคราะห์และจำแนกสัดส่วนผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์ -จัดกิจกรรมแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาแต่ละพื้นที่ โดยใช้ PDCA

Small Success และระบบติดตามกำกับ กลุ่มวัย 12 เดือน ผู้สูงอายุ - นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในปี 2559 เพื่อวางแผนพัฒนางานในปี 2560