เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
Advertisements

ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
การบริหารคุณภาพองค์กร
AMS-KKU PLAN : Future view
Good Practice (for Quality Improvement)
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
ที่ผ่านมาของเขตบริการสุขภาพที่ 1 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญพนักงาน คู่ค้า
ทิศทางการศึกษา ในโลกยุคใหม่ ดร. สุรัตน์ ดวงชาทม ผู้อำนวยการสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
1 ประกาศนโยบายการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ตามมาตรฐาน HA เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 8 ประกาศนโยบายการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ตามมาตรฐาน HA เครือข่ายบริการสุขภาพที่
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) 6 กรกฎาคม 2559
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
ทบทวนมาตรฐานHA ตอนที่ III กระบวนการการดูแลผู้ป่วย
โดยสรุป 10 ขั้นตอนในการ implement
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 12 มกราคม 2550
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
สมรรถนะของข้าราชการ กลุ่มงานบริการประชาชน ด้านสุขภาพและสวัสดิการ
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
งานก่อสร้างฯ / ซ่อมแซมฯ อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
จิตสำนึกคุณภาพ.
โครงสร้างส่วนราชการและระดับตำแหน่งผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
ระดับบริหารทางการพยาบาล จุฑารัตน์ เพ็ญเขตต์วิทย์
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ ปรัชญาสำคัญของ HA เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ

เหตุการณ์แบบนี้ มีจริงมั๊ย ??? เหตุการณ์แบบนี้ มีจริงมั๊ย ???

(Core Values & Concept) หลักคิดสำคัญ (Core Values & Concept) ทำความเข้าใจ ปัญหา/ความเสี่ยง/ ความต้องการสำคัญ ความเสี่ยง/ ประเด็นสำคัญ ออกแบบระบบ บริบท Plan มาตรฐาน เป้าหมาย ปรับปรุง ทำความเข้าใจ เป้าหมายของมาตรฐาน Do Act การใช้มาตรฐานเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ต้องเริ่มจากการทำความเข้าใจเป้าหมายของมาตรฐาน ปัญหาเฉพาะที่เป็นเรื่องสำคัญของตน แล้วนำมาสู่การลงมือปฏิบัติและเรียนรู้ (วงล้อ PDCA) ตัวชี้วัด Study ทบทวน ประเมิน เรียนรู้

ค่านิยมและแนวคิดหลัก context บริบท ค่านิยมและแนวคิดหลัก Core value&concept มาตรฐาน criteria

Plan Do Study Act การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบ/ประเมินผล การปรับปรุงแผน Act

3C : คือหลักคิด ที่กำกับไว้ในใจ 3C-PDSA 3C : คือหลักคิด ที่กำกับไว้ในใจ PDSA : คือเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาและ การเรียนรู้

3C-PDSA รู้ใจของเรา Do Core Value & Concept Action รู้ตัวเอง Plan Organization Units Systems Patient Pop. HPH Study Objective/Indicator Context Design Learning รู้แนวทางที่ดี Standard/Criteria Improvement Act

ค่านิยมและแนวคิดหลัก context บริบท ค่านิยมและแนวคิดหลัก Core value&concept มาตรฐาน criteria

C1 : Context = บริบท วิสัยทัศน์ รพ.ศรีนครินทร์ : โรงเรียนแพทย์ระดับโลกที่มีคุณค่าต่อสังคมไทยและมวลมนุษยชาติ

ค่านิยมและแนวคิดหลัก context บริบท ค่านิยมและแนวคิดหลัก Core value&concept มาตรฐาน criteria

C2 : Core value& concept = ค่านิยมและแนวคิดหลัก Value on Staff Individual Commitment Teamwork Ethic & Professional Standard คนทำงาน Visionary Leadership Systems Perspective Agility ขั้นที่ 1 ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน ทิศทางนำ ผู้รับผล Patient / Customer Focus Focus on Health Community Responsibility การพัฒนา Creativity & Innovation Management by Fact Cont. Process Improvement Focus on Results Evidence-based Approach ค่านิยมและแนวคิดหลัก หรือหลักคิดสำคัญ เกิดจากการสรุปความคิดรวบยอดที่เป็นพื้นฐานของการพัฒนาสู่ความสำเร็จ ซึ่งควรนำมาใช้ชี้นำวิธีคิด การตัดสินใจ และการปฏิบัติของสมาชิกในองค์กร โดยอาจจะเริ่มต้นด้วยหลักคิดง่ายๆ เช่น “ทำงานประทำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน” หรือ “เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด” และตอกย้ำหลักคิดเหล่านี้ด้วยการทบทวนการกระทำที่ผ่านมาอย่างสม่ำเสมอ พาเรียนรู้ Learning Empowerment ขั้นที่ 2 ให้คุณค่า อย่ายึดติด เป้าหมายชัด วัดผลได้

ค่านิยมและแนวคิดหลัก context บริบท ค่านิยมและแนวคิดหลัก Core value&concept มาตรฐาน criteria

โครงสร้างมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ การจัดการสารสนเทศและความรู้ ตอนที่ IV การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น พนักงาน ด้านคลินิก ด้านผู้ป่วยและลูกค้า ด้านการเงิน ด้านพนักงานและระบบงาน ด้านประสิทธิผลองค์กร ด้านการนำและสังคม ด้านสร้างเสริมสุขภาพ การนำ ผลลัพธ์ การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย ตอนที่ I การจัดการ กระบวนการ ระบบงานสำคัญของ รพ. ตอนที่ II ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ โครงสร้างภาพและสิ่งแวดล้อม การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบยา ห่องปฏิบัติการทางการแพทย์ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย โครงสร้างมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ตอนที่ III กระบวนการดูแลผู้ป่วย แรกรับ ประเมิน วางแผน ดูแล ให้ข้อมูลและเสริมพลัง วางแผนจำหน่าย/ดูแลต่อเนื่อง 14

Plan Do Study Act การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบ/ประเมินผล การปรับปรุงแผน Act

PDSA Cycle 4 ขั้นตอน 1. P = Plan การวางแผน 2. D = Do การลงมือปฏิบัติตามแผน 3. S = Study การประเมินผล 4. A = Act ทำเป็นแผนถาวร หรือปรับปรุงแผน

PDSA = 3P ทำได้ดีหรือไม่ ใช้ประโยชน์จากตัวชี้วัดอย่างไร มีการปฏิบัติตามระบบที่ออกแบบไว้หรือไม่ มีการปรับปรุง ระบบงานอย่างไร ทำอะไรไปแล้ว จะทำอะไรต่อ มีการออกแบบหรือจัดระบบงานไว้อย่างเหมาะสมหรือไม่

เป้าหมาย กระบวนการ ผลลัพธ์

3 P ในชีวิตประจำวัน เป้าหมาย กระบวนการ ผลลัพธ์

3 P ในชีวิตประจำวัน เป้าหมาย กระบวนการ ผลลัพธ์

3P (PDSA) คือ Basic Building Block ของการพัฒนา Plan/Design -> Do ทำไมต้องมีเรา เราทำงานกันอย่างไร ทำไปเพื่ออะไร ทำได้ดีหรือไม่ Purpose Process Performance Study/Learn 3 Pในงานประจำวัน 3 Pในโครงการพัฒนา 3 Pในระดับหน่วยงาน 3 P กับการพัฒนาระบบงาน 3 P กับการดูแลผู้ป่วย 3 P กับการบริหารองค์กร จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร Act/Improve

หน้าที่และเป้าหมายของหน่วยงาน 1. OPD : คัดกรองผู้ป่วยนอก จำแนกผู้ป่วยให้ได้ตรวจตามสาขาโรค ด้วยความถูกต้อง ปลอดภัย ผู้รับบริการพึงพอใจ 2. ER : รักษาพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉินที่มีภาวะวิกฤต และภาวะปกติตลอด 24 ชม.ด้วยความรวดเร็ว ถูกต้อง ปลอดภัย 3. LR : ให้บริการทำคลอด ดูแลมารดาทารกให้ปลอดภัย ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

ตัวอย่างการออกแบบ Process 1. OPD : กำหนดให้มีพยาบาลคัดกรองที่งานผู้ป่วยนอกทุกวัน และมีการส่งต่อผู้ป่วยที่มีอาการไม่คงที่ไปยังห้องฉุกเฉิน, มีระบบการคัดกรองผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ 2. ER : มีระบบการ triage ผู้ป่วยเป็น 5 ระดับ และมีการประเมินผู้ป่วยซ้ำตามระยะเวลาที่กำหนด 3. LR : มีการใช้ Partograph ในการบันทึกความก้าวหน้าในการคลอด , มีระบบรายงานสูติแพทย์โดยใช้ SBAR

ตัวอย่างPerformance 1. OPD : อัตราความผิดพลาดในการส่งตรวจผิดแผนกลดลงจาก 5% เป็น 3%, จำนวนผู้ป่วยวัณโรคเข้าพบแพทย์โดยไม่ได้สวมอุปกรณ์ป้องกันลดลงจาก 15 รายเป็น 5 ราย 2. ER : อัตราผู้ป่วยได้รับการจำแนกประเภทถูกต้องเพิ่มขึ้นจาก 85% เป็น 95% 3. LR : อัตราการเกิดภาวะ Birth Asphyxia ลดลงจาก 43% เป็น 25%

พิจารณาใช้ 3P ในกระบวนการต่อไปนี้ การส่งเวร การคัดกรองผู้ป่วย การทำสวน การทำความสะอาดเครื่องมือ 17/09/61 cthavat@yahoo.com

“3P” ในโครงการพัฒนาคุณภาพ งานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก การเฝ้าระวังเพื่อลดความรุนแรงของอาการ SJS และ TEN ที่เกิดจากการแพ้ยากลุ่มเสี่ยง 17/09/61 cthavat@yahoo.com

การพัฒนาคุณภาพสถานพยาบาลในโครงการประกันสังคม Service Profile กรอบที่ใช้กำกับการพัฒนาคุณภาพ ของแต่ละหน่วยในองค์กร หลักคิดสำคัญ (Core Values & Concepts) ทำงานประจำให้ดี มีอะไรให้คุยกัน ขยันทบทวน เป้าหมายชัด วัดผลได้ ให้คุณค่า อย่ายึดติด บริบท ความต้องการ ของผู้รับผลงาน ข้อกำหนด ทางวิชาชีพ จุดเน้น ขององค์กร ทบทวน ประเมิน เรียนรู้ ประเด็นคุณภาพที่สำคัญ ตัวชี้วัด Study Purpose Performance พันธกิจ/เจตจำนง (หน้าที่ & เป้าหมาย) Act วัตถุประสงค์ Do Process ปรับปรุง ประเด็นสำคัญ ความเสี่ยงสำคัญ ความต้องการ ความคาดหวัง Plan กระบวนการหลัก ออกแบบระบบ โรค/หัตถการสำคัญ (เฉพาะบริการดูแลผู้ป่วย) ประเด็นย่อยในแต่ละ กระบวนการ/โรค 17/09/61 cthavat@yahoo.com

ทำไมต้อง 3P ระดับองค์กร ใช้แนวคิดที่เรียบง่ายเพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์และการใช้ ประโยชน์จากแผนกลยุทธ์ของ รพ. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความท้าท้ายกับเป้าประสงค์ เป้าประสงค์กับวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์กับตัวชี้วัด