การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design) โดย อ.ประจักษ์ เฉิดโฉม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ Customer Relationship Management : CRM
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การเขียนโครงร่างวิจัย
BC424 Information Technology 1 บทที่ 7 การพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System Development)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงาน (Project Approach) คือ กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่จะศึกษาได้ทำการศึกษาค้นคว้าและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด.
Software Development and Management
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
Collaborative problem solving
บทที่ 1 ความหมายและแนวคิดของการวิจัยการตลาด
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
ลักษณะงานของวิศวกร ซอฟต์แวร์ ● วิเคราะห์และจัดทำความ ต้องการซอฟต์แวร์ ● ออกแบบซอฟต์แวร์ ● พัฒนาซอฟต์แวร์ ● ทดสอบซอฟต์แวร์ ● บำรุงรักษาซอฟต์แวร์ ● จัดการองค์ประกอบ.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4 การวิเคราะห์ระบบ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ Information System Development
บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ System Development Life Cycle
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
Software Engineering ( )
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
V ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC : System Development Life Cycle) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
การวิเคราะห์งาน.
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
วิชา COMP342 วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
บทที่ 2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design) โดย อ.ประจักษ์ เฉิดโฉม

สรุป --ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ (Analysis Phase) เรียนรู้และทำความเข้าใจ การทำ การ วิเคราะห์ ทำความเข้าใจและเขียนเอกสาร Analysis Phase Planning: Problem definition and Feasibility Study Project Target (3 circles) Gantt Chart เอกสารกำหนดปัญหา วิเคราะห์ หก ประเด็น Analysis (Requirement gathering) Requirement : แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ Request Form P.137 Flow chart : Business Flow, System Flow Work Procedure

การวิเคราะห์ (Analysis Phase) ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ (Analysis Phase) ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ ศึกษาระบบงานเดิม รวบรวมวิเคราะห์ความตองการ สร้างแบบจำลองกระบวนการ (Process Model) สร้างแบบจำลองข้อมูล (Data Model)

วัตถุประสงค์ของระยะการวิเคราะห์ การทำความเข้าใจในฟังก์ชันหรือหน้าที่ทางธุรกิจ (Business Functions) และพัฒนาออกมาเป็นความต้องการของระบบ (System Requirements) โดยนักวิเคราะห์จะต้องเข้าไปหาความต้องการ คือกลุ่มของ “Stakeholder” “Stakeholder” ประกอบด้วย เจ้าของระบบ,ผู้ใช้ และ ทีมงานพัฒนา 16/09/61

Develop Concept for the to-be system (Work flow) ขั้นตอนการพัฒนาระบบตามแบบ SDLC ในระยะการวิเคราะห์ จะต้องทำความเข้าใจกับระบบงานเดิม การเพิ่มความต้องการ พัฒนาแนวคิดสำหรับระบบใหม่ที่จะเกิดขึ้น Existing System Planning Analysis Design Implement To-Be System Understand Existing system Identify Problems, Feasibility, improvements Develop Concept for the to-be system (Work flow) 16/09/61

ระยะการวิเคราะห์ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม ทำความเข้าใจกับระบบงานเดิม (Understand Existing System) กำหนดสิ่งที่ต้องการปรับปรุงเพิ่มเติม (Indentify improvements) พัฒนาแนวความคิดสำหรับระบบงานใหม่ (Develop Concept for the to-be system) ---- New Work Flow 16/09/61

การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering) ……………………………………………………………………………………………………… Who - ใครเกี่ยวข้องบ้าง? บทบาทแต่ละคนคืออะไร? ใครร้องขอ ระบบใหม่? What - อะไรที่ทำให้เกิดปัญหา? ระบบที่ต้องการคืออะไร? มี ฟังก์ชันการทำงานมีอะไรบ้าง? When- ระบบติดตั้งได้เมื่อไร? ทดสอบระบบใหม่เมื่อไร? Where - บริเวณสถานที่ใด? ที่ระบบใหม่ดำเนินการได้? Why - ทำไมต้องแสวงหาระบบใหม่ และระบบใหม่จะแก้ปัญหาได้? How - ระบบใหม่จะทำงานได้อย่างไร? มีข้อจำกัดอย่างไร? 16/09/61

ชนิดของความต้องการ (Types of Requirements) ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Functional Requirements) ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Non-Functional Requirements) 16/09/61

ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Functional Requirements) คือขั้นตอนการทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรมที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน เช่น - ระบบต้องสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ - ระบบต้องสามารถคำนวณได้ - ระบบต้องสามารถจัดพิมพ์รายงานได้ 16/09/61

ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Non-Functional Requirements) คือ คุณสมบัติหรือคุณภาพที่ซอฟต์แวร์พึงมี - ความสามารถในการใช้งาน (Usability) - ประสิทธิภาพของระบบ (Efficiency) - ความน่าเชื่อถือของระบบ (Reliability) 16/09/61

การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ (Requirements Analysis) วิเคราะห์ข้อเท็จจริงในข้อมูล (Analysis of factual Data) กำหนดสาระความสำคัญของความต้องการ (Identification of Essential Requirements) คัดเลือกความต้องการที่ตรงกับวัตถุประสงค์ (Selection of Requirement Fulfillment) Business Process Business Information Rules Requirements Gathering and Analysis Requirements Specification …………. …………. …………. 16/09/61

หลักในการค้นหาความต้องการที่ดี ค้นหาข้อมูลกับบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรง ควรระบุความต้องการในรูปแบบเอกสาร ทำข้อตกลงร่วมกันในการปรับแก้ Requirement ที่ดีต้องตกลงร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย อย่าคิดวิเคราะห์และออกแบบด้วยตนเองทั้งหมด คำจำกัดความหรือคำอธิบายบนเอกสารที่บันทึกไว้ควรมีความชัดเจน 16/09/61

“สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” หรือบางครั้งอาจเรียกว่า สเตคโฮลเดอร์ : แหล่งทรัพยากรของความต้องการระบบ (Stakeholder : The source of system Requirements ) “สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” หรือบางครั้งอาจเรียกว่า “ Information Worker ” 16/09/61

“สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” แบ่งได้ 6 กลุ่มหลัก ได้แก่ Stake holder : แหล่งทรัพยากรของความต้องการระบบ (Stakeholder : The source of system Requirements ) “สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” แบ่งได้ 6 กลุ่มหลัก ได้แก่ เจ้าของระบบ (System Owners) ผู้ใช้ระบบ (System Users) นักออกแบบระบบ (System Designers) นักพัฒนาระบบ (System Developer) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ร้านค้าจำหน่ายอุปกรณ์ไอทีและที่ปรึกษา (IT Vendor & Consultants) 16/09/61

สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder) กับความสนใจร่วมมือในโครงการพัฒนาระบบใหม่ System Owners Executive managers Middle IT vendors/ Consultants External Users Internal System Developer Analysis 16/09/61

เทคนิคการรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering Techniques) บางครั้งเรียกว่า “การสืบเสาะข้อเท็จจริง (Fact-Finding)” การรวบรวมเอกสาร (Documentation) การสัมภาษณ์และการสนทนากับผู้ใช้ (Conduct Interviews & Discussions with Users) การสังเกตจากกระบวนการเดินเอกสารในธุรกิจ (Observe & Document Business Process) การแจกจ่ายและการรวบรวมแบบสอบถาม (Distribute & Collect Questionnaires ) การวางแผนความต้องการร่วมกัน (Joint Requirements Planning :JRP) 16/09/61

QUESTION ? & ANSWER ? 16/09/61