การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ (Information System Analysis and Design) โดย อ.ประจักษ์ เฉิดโฉม
สรุป --ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ (Analysis Phase) เรียนรู้และทำความเข้าใจ การทำ การ วิเคราะห์ ทำความเข้าใจและเขียนเอกสาร Analysis Phase Planning: Problem definition and Feasibility Study Project Target (3 circles) Gantt Chart เอกสารกำหนดปัญหา วิเคราะห์ หก ประเด็น Analysis (Requirement gathering) Requirement : แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ Request Form P.137 Flow chart : Business Flow, System Flow Work Procedure
การวิเคราะห์ (Analysis Phase) ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ (Analysis Phase) ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ ศึกษาระบบงานเดิม รวบรวมวิเคราะห์ความตองการ สร้างแบบจำลองกระบวนการ (Process Model) สร้างแบบจำลองข้อมูล (Data Model)
วัตถุประสงค์ของระยะการวิเคราะห์ การทำความเข้าใจในฟังก์ชันหรือหน้าที่ทางธุรกิจ (Business Functions) และพัฒนาออกมาเป็นความต้องการของระบบ (System Requirements) โดยนักวิเคราะห์จะต้องเข้าไปหาความต้องการ คือกลุ่มของ “Stakeholder” “Stakeholder” ประกอบด้วย เจ้าของระบบ,ผู้ใช้ และ ทีมงานพัฒนา 16/09/61
Develop Concept for the to-be system (Work flow) ขั้นตอนการพัฒนาระบบตามแบบ SDLC ในระยะการวิเคราะห์ จะต้องทำความเข้าใจกับระบบงานเดิม การเพิ่มความต้องการ พัฒนาแนวคิดสำหรับระบบใหม่ที่จะเกิดขึ้น Existing System Planning Analysis Design Implement To-Be System Understand Existing system Identify Problems, Feasibility, improvements Develop Concept for the to-be system (Work flow) 16/09/61
ระยะการวิเคราะห์ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม ทำความเข้าใจกับระบบงานเดิม (Understand Existing System) กำหนดสิ่งที่ต้องการปรับปรุงเพิ่มเติม (Indentify improvements) พัฒนาแนวความคิดสำหรับระบบงานใหม่ (Develop Concept for the to-be system) ---- New Work Flow 16/09/61
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering) ……………………………………………………………………………………………………… Who - ใครเกี่ยวข้องบ้าง? บทบาทแต่ละคนคืออะไร? ใครร้องขอ ระบบใหม่? What - อะไรที่ทำให้เกิดปัญหา? ระบบที่ต้องการคืออะไร? มี ฟังก์ชันการทำงานมีอะไรบ้าง? When- ระบบติดตั้งได้เมื่อไร? ทดสอบระบบใหม่เมื่อไร? Where - บริเวณสถานที่ใด? ที่ระบบใหม่ดำเนินการได้? Why - ทำไมต้องแสวงหาระบบใหม่ และระบบใหม่จะแก้ปัญหาได้? How - ระบบใหม่จะทำงานได้อย่างไร? มีข้อจำกัดอย่างไร? 16/09/61
ชนิดของความต้องการ (Types of Requirements) ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Functional Requirements) ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Non-Functional Requirements) 16/09/61
ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Functional Requirements) คือขั้นตอนการทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรมที่เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน เช่น - ระบบต้องสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ - ระบบต้องสามารถคำนวณได้ - ระบบต้องสามารถจัดพิมพ์รายงานได้ 16/09/61
ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชันการทำงาน (Non-Functional Requirements) คือ คุณสมบัติหรือคุณภาพที่ซอฟต์แวร์พึงมี - ความสามารถในการใช้งาน (Usability) - ประสิทธิภาพของระบบ (Efficiency) - ความน่าเชื่อถือของระบบ (Reliability) 16/09/61
การวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ (Requirements Analysis) วิเคราะห์ข้อเท็จจริงในข้อมูล (Analysis of factual Data) กำหนดสาระความสำคัญของความต้องการ (Identification of Essential Requirements) คัดเลือกความต้องการที่ตรงกับวัตถุประสงค์ (Selection of Requirement Fulfillment) Business Process Business Information Rules Requirements Gathering and Analysis Requirements Specification …………. …………. …………. 16/09/61
หลักในการค้นหาความต้องการที่ดี ค้นหาข้อมูลกับบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรง ควรระบุความต้องการในรูปแบบเอกสาร ทำข้อตกลงร่วมกันในการปรับแก้ Requirement ที่ดีต้องตกลงร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย อย่าคิดวิเคราะห์และออกแบบด้วยตนเองทั้งหมด คำจำกัดความหรือคำอธิบายบนเอกสารที่บันทึกไว้ควรมีความชัดเจน 16/09/61
“สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” หรือบางครั้งอาจเรียกว่า สเตคโฮลเดอร์ : แหล่งทรัพยากรของความต้องการระบบ (Stakeholder : The source of system Requirements ) “สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” หรือบางครั้งอาจเรียกว่า “ Information Worker ” 16/09/61
“สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” แบ่งได้ 6 กลุ่มหลัก ได้แก่ Stake holder : แหล่งทรัพยากรของความต้องการระบบ (Stakeholder : The source of system Requirements ) “สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder )” แบ่งได้ 6 กลุ่มหลัก ได้แก่ เจ้าของระบบ (System Owners) ผู้ใช้ระบบ (System Users) นักออกแบบระบบ (System Designers) นักพัฒนาระบบ (System Developer) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ร้านค้าจำหน่ายอุปกรณ์ไอทีและที่ปรึกษา (IT Vendor & Consultants) 16/09/61
สเตคโฮลเดอร์ (Stakeholder) กับความสนใจร่วมมือในโครงการพัฒนาระบบใหม่ System Owners Executive managers Middle IT vendors/ Consultants External Users Internal System Developer Analysis 16/09/61
เทคนิคการรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering Techniques) บางครั้งเรียกว่า “การสืบเสาะข้อเท็จจริง (Fact-Finding)” การรวบรวมเอกสาร (Documentation) การสัมภาษณ์และการสนทนากับผู้ใช้ (Conduct Interviews & Discussions with Users) การสังเกตจากกระบวนการเดินเอกสารในธุรกิจ (Observe & Document Business Process) การแจกจ่ายและการรวบรวมแบบสอบถาม (Distribute & Collect Questionnaires ) การวางแผนความต้องการร่วมกัน (Joint Requirements Planning :JRP) 16/09/61
QUESTION ? & ANSWER ? 16/09/61