แนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน ฟื้นฟูสมรรถภาพและการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 11 การจูงใจ (MOTIVATION)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
การดำเนินงานทรัพยากรบุคคล ปี 2560
รูปแบบและประเภท ของกิจกรรมนันทนาการ.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การบริหารจัดการอาสาสมัครสภากาชาดไทยแบบบูรณาการ
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดและแนวทางการดำเนินงาน ฟื้นฟูสมรรถภาพและการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ Excellence CENTER) โรงพยาบาลศรีธัญญา

แนวคิดเกี่ยวกับการฟื้นสภาพจิตใจ William Anthony อธิบายว่า โรคทางจิตเวชเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่ หายขาด จึงเป็นการยาก สำหรับคนที่ป่วยด้วยโรคนี้จะกลับไปสู่สภาพ เดิมเหมือก่อนป่วย จุดมุ่งหมายหลักในการบำบัดบุคคลที่ป่วยด้วย โรคนี้จึงเปลี่ยนจาก การรักษาอาการทางจิต มาเป็นการส่งเสริม ให้บุคคลมีการเรียนรู้ การเจ็บป่วย และจัดการตนเองเพื่อที่จะอยู่ ร่วมกับการเจ็บป่วย ทางจิตได้อย่างสร้างสรรค์

แนวคิดเกี่ยวกับการฟื้นสภาพจิตใจ ค.ศ. 1993 มีการเผยแพร่แนวคิดนี้ต่อสาธารณชน โดยอธิบายว่า “การฟื้นสภาพจากการ เจ็บป่วยทางจิตเป็นกระบวนการ ที่บุคคลปรับเปลี่ยนทัศนคติที่มีต่อตนเองและ การเจ็บป่วยทางจิต ตลอดจนมีการปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต เพื่อให้สามารถดำรงชีวิต อยู่ร่วมกับภาวการณ์เจ็บป่วยทางจิตได้โดยที่ เขาสามารถบรรลุเป้าหมาย อื่นๆ ของชีวิตแม้ว่าจะป่วยด้วยโรคทางจิตที่ รักษาไม่หายขาดก็ตาม” (Slade, Amering, & Oades, 2008)

การฟื้นสภาพจิตใจประกอบด้วย 6 ขั้นตอนหลัก กิจกรรม ยอมรับการเจ็บป่วย ทำความเข้าใจและยอมรับสภาพการเจ็บป่วย สร้างหวัง ค้นหาเป้าหมายของการดำเนินชีวิต สร้างแรงปรารถนาที่จะมีสภาพชีวิตที่ดีขึ้น พัฒนาตัวตนใหม่ เห็นคุณค่าของตนเอง และมีความมั่นใจใน การดำ เนินชีวิตร่วมกับภาวะการเจ็บป่วยทางจิต สร้างความรับผิดชอบในตนเอง กำหนดหน้าที่รับผิดชอบด้วยตัวเองที่จะดำเนินชีวิตโดยไม่เป็นภาระแก่คนอื่น ต่อสู้อุปสรรคและปัญหา เอาชนะปัญหาที่เป็นผลกระทบจากการเจ็บป่วยทางจิต มีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้าง พบปะหรือทำกิจกรรมร่วมกับคนรอบข้าง

บุคคลจะพัฒนากระบวนการฟื้นสภาพจิตใจ ขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ ความหวัง (hope) การเข้าใจและยอมรับการเจ็บป่วย (understanding and accepting mental illness) ความสามารถทางปัญญา (cognitive ability) การรักษาด้วยยา (medication) ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเจ็บป่วย (disorder related factor) แรงสนับสนุนทางสังคม (social support) ความรักความ เข้าใจ จากคนรอบข้าง เป็น สิ่งจำเป็นสำหรับบุคคลที่ป่วยด้วยโรคจิตเภท

การฟื้นคืนสู่สุขภาวะผู้ป่วยจิตเวช การฟื้นฟูสมรรถภาพไม่เพียงแต่เป็นการ บำบัดรักษาเท่านั้น แต่จะครอบคลุมถึงเรื่องศักดิศรี การได้รับโอกาสและ สิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น การให้บริการจึงไม่สามารถทำได้เบ็ดเสร็จ ในหน่วยงานเดียว ต้องได้รับความร่วมมือจากหลายองค์กร

หลักคิด การดำเนินงานฟื้นคืนสู่สุขภาวะทั้งในโรงพยาบาล และในชุมชนดำเนินการ โดย สหวิชาชีพ มีการประเมินผู้ป่วย วางแผนเป็นระยะ ๆ ในหน่วยบริการมีการประสานภายนอกเพื่อเตรียม ชุมชนและสร้างเครือข่าย การดำเนินงานในชุมชน เน้นการสร้างเครือข่าย ใกล้บ้าน การจัดบริการรองรับในชุมชนเพื่อให้ PIR ได้รับ บริการอย่างต่อเนื่อง

กระบวนการ ปรับแนวคิดและทัศนคติของบุคลากร ให้มองผู้ป่วยเป็น ผู้ที่เคยมีประสบการณ์ การเจ็บป่วยทางจิต และมีความบกพร่องที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต ในพื้นที่ 4 ด้าน ค้นหาความเข้มแข็งมากกว่าจะหาจุดอ่อน บทบาทการบริการ เน้นการสร้างเครือข่ายในชุมชน

( life areas / environment ) พื้นที่ชีวิต ( life areas / environment ) การเรียน (learning) การทำงาน (working) การใช้ชีวิต (living) การเข้าสังคม (socicilizing)

กระบวนการ ปรับกิจกรรมการฟื้นคืนสู่สุขภาวะให้สอดคล้อง กับอาการ สอดคล้องกับวิถีชีวิต มีการวิเคราะห์ว่าแต่ละกิจกรรมส่งผลต่อการฟื้น คืนสู่ สุขภาวะในด้านใดบ้าง ควรจะมีกิจกรรมหลากหลายให้ PIR ควรมี การประเมิน PIR เป็นระยะ เพื่อปรับเปลี่ยนกิจกรรมที่ เหมาะสมสุขภาวะ วางระบบอย่างต่อเนื่อง

วิธีการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ หลักการ ฝึกให้ผู้รับบริการมีทักษะด้านพฤติกรรมใน การปรับปรุง การปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทได้ดีขึ้น การจัดหาการสนับสนุนจากสังคม ตามความ ต้องการ

ค้นหาความหมายในชีวิต ทบทวนหน้าที่/บทบาทตนเอง กุญแจสำคัญในการถอดรหัสการฟื้นพลังชีวิต ถอดรหัส การฟื้น พลังชีวิต กระตุ้นให้เกิด ความรับผิดชอบ ค้นหาความหมายในชีวิต ทบทวนหน้าที่/บทบาทตนเอง ค้นหาความหวัง

การฟื้นคืนสู่สุขภาวะเป็นการเดินทางของบุคคล Recovery ไม่ใช้สิ่งที่เราจัดหาให้. ถูกกำหนดโดยผู้รับบริการภายใต้ บริบทของเขา ผู้ให้บริการเป็นเพียงพี่เลี้ยงที่คอย ประคับประคองอยู่ข้างๆ

ขั้นตอนการให้บริการการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ Diagnosis Planning Intervention

D Person สรุปกระบวนการวินิจฉัย Practitioner ไม่พร้อม พัฒนาความพร้อม ประเมินความพร้อม (5 Factors) D Recovery Model Change Process พร้อม (Motivation Readiness) กำหนดเป้าหมาย (Specific goal) ประเมิน skill ประเมิน Resource Comprehensive by skill type & Environment Comprehensive by type of resource Behavior Defined Resource Defined Planning Process

Defined resource objective กำหนด ระยะเวลาของแต่ละทักษะ intervention กระบวนการวางแผน ข้อมูลจากการวินิจฉัย People  Practitioner จัดลำดับความสำคัญ ของทักษะ จัดลำดับความสำคัญ ของแหล่งสนับสนุน กำหนดวัตถุประสงค์ ของทักษะที่จะพัฒนา Defined resource objective P กำหนดวิธีการ พัฒนาทักษะ กำหนดแล่งสนับสนุน ในการพัฒนาทักษะ กำหนด ระยะเวลาของแต่ละทักษะ intervention กำหนดผู้รับผิดชอบ Intervention process

I Intervention Proess Intervention Resource development Skill (goal) People  Practitioner Intervention Skill development Resource development Resource coved nation Skill (goal) I Dentine Goal and Alternative resource Resource modification Skill objective Lesson Prepared Specific skill intervention Resource Appraisal Skill use programme defined กำหนด time line Resource improvement Plan for finking Skill learning monitor Service coordination (referral /linking technique) Plan for Utilization

แนวคิด ROS Recovery Oriented Systems Recovery Oriented Services การพัฒนาสมรรถภาพบุคลากร เพื่อการฟื้นฟู (ความรู้ /skill) พัฒนาระบบการนำกระบวนการฟื้นฟูสู่ผู้ป่วย ผลิต/พัฒนา/เผยแพร่ เทคโนโลยี ด้านการฟื้นฟู ระบบ/โครงการส่งเสริมการฟื้นฟู ระดับ 1 – Everyone ระดับ 2- Rehabilitation focus ระดับ 3 - Providing Rehabilitation -ผู้ป่วยใน/นอก ศูนย์การฟื้นฟู โปรแกรมการฟื้นฟู For trainer For Practitioner -Anti-stigma Project

Impairment Dysfunction Disability Disadvantage “Recovery”

ได้รับการฝึกทักษะ ความสัมพันธ์+ve Recovery ได้รับการสนับสนุน Goal ที่ได้กำหนดเอง มีความหวัง สู่อนาคต ได้รับการฝึกทักษะ เชื่อในความ สามารถของตน Recovery ได้รับการสนับสนุน (Process)

ขั้นตอนการฟื้นฟูสมรรถภาพตามกรอบแนวคิดการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ