ทีมงานแก้ปัญหาร้านค้าที่ส่งผลกับกำลังการผลิตของผู้รับเหมา “Supplier Team” ทีมงานแก้ปัญหาร้านค้าที่ส่งผลกับกำลังการผลิตของผู้รับเหมา
วัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาความล่าช้าที่เกิดจากวัสดุก่อสร้างและขั้นตอนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้รับเหมาสามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว, ต่อเนื่อง และส่งมอบงานได้ตามกำหนดตามที่วางแผนไว้ โดยกำหนดเป็นแนวทางระยะสั้น และระยะยาวอย่างชัดเจน
เป้าหมาย ดูแลและแก้ไขปัญหาสินค้าที่มีผลกระทบกับผู้รับเหมาทั้งระบบมี 4 ประเด็นหลักๆ ได้แก่ เวลาในการส่งสินค้า มาตรฐานการติดตั้งสินค้า คุณภาพของสินค้า เงื่อนไขการสั่งซื้อสินค้า
ภาพรวมของวัสดุที่พบปัญหาที่เกิดขึ้นทุกกรณี ร้านค้าที่เกี่ยวข้อง จำนวน 18 ร้านค้า (1) (2) วัสดุที่พบปัญหา จำนวน 12 วัสดุ วัสดุที่ LH เป็นผู้สั่งซื้อ จำนวน 4 วัสดุ วัสดุที่ ผู้รับเหมา เป็นผู้สั่งซื้อ จำนวน 3 วัสดุ วัสดุที่ทั้ง LH,ผู้รับเหมา เป็นผู้สั่งซื้อ จำนวน 5 วัสดุ จำนวนของปัญหาหลักที่พบ จำนวน 4 ปัญหา
ร้านค้าที่เกี่ยวข้อง(1) กลับ ร้านค้าที่เกี่ยวข้อง(1) กลับ Q-CON อิฐมวลเบา ไทย-ออสท์ อะลูมิเนียมวงกบ-บาน ALU QUV วงกบ-บาน UPVC SHL บันไดไม้ยางประสาน AMF บันไดไม้ยางประสาน เมโทรฯ คานสำเร็จรูป EIC บานสำเร็จรูป MDF GHM กระเบื้อง-สุขภัณฑ์
ร้านค้าที่เกี่ยวข้อง(2) กลับ ร้านค้าที่เกี่ยวข้อง(2) กลับ STM ชุดเฟอร์นิเจอร์ Modernform ชุดเฟอร์นิเจอร์ Repro ราวลูกกรงระเบียง TOA สี Jotun สี ชุติมา Wall paper แพนเด็ก Wall paper ทานสัมฤทธิ์ Wall paper แสงศิลป์ Wall paper
ปัญหาหลักที่พบ 4 ปัญหา ปัญหาการจัดส่งล่าช้า ปัญหาการติดตั้งสินค้า ปัญหาคุณภาพสินค้า ปัญหาเงื่อนไขการสั่งซื้อ โดยแยกออกเป็น 3 สาเหตุของปัญหา คือ ปัญหาจาก Supplier ปัญหาจาก หน้างาน(โครงการ & ผรม.) ปัญหาจาก ส่วนสนับสนุน(ระบบ)
ปัญหาจาก Supplier การส่งสินค้าไม่ครบหลังในครั้งเดียวหรือจำนวนครั้งตามข้อตกลง ทีมช่างฝีมือ/ชุดติดตั้งไม่มีความพร้อมในทำงาน ทั้งในส่วนของจำนวนแรงงานช่างไม่เพียงพอ และคุณภาพของงานที่ไม่เรียบร้อย รวมถึงการเลื่อนติดตั้งนอกระบบ(หน้างานกับร้านค้า) คุณภาพสินค้าที่ส่งไม่ได้มาตรฐาน พบได้ทั้งกรณีตั้งแต่ก่อนติดตั้ง จนถึงหลังการติดตั้งเรียบร้อยแล้ว ทีมงานตรวจสอบคุณภาพ(ร้านค้า)ไม่มีมาตรฐานในการทำงาน และมีไม่เพียงพอกับปริมาณงาน ทำให้กระทบกับคุณภาพในที่สุด ร้านค้าเลือกดูแล PO ที่ออกมาจาก แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ก่อน PO ที่ออกจากผรม.รายย่อย(ทำงานให้ LH เช่นเดียวกัน) ร้านค้ากำหนดปริมาณขั้นต่ำในการส่งให้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
ปัญหาจาก หน้างาน(โครงการ & ผรม.) การส่งมอบพื้นที่หน้างาน ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดที่วางไว้ ปัญหาจาก ส่วนสนับสนุน(ระบบ) ระบบการออกใบสั่งซื้อ ไม่เหมาะสมกับการผลิต, จัดส่ง, ติดตั้ง
แนวทางการแก้ไขปัญหา “ระยะสั้น” ฝ่ายก่อสร้าง(ส่วนจัดซื้อ) และตัวแทนหน่วยงาน นัดร้านค้าคุยเพื่อแก้ไขปัญหา แต่และวัสดุ โดยมีแผนจบภายในสิ้นเดือน ก.พ.’55 นี้ ตารางประชุม ฝ่ายก่อสร้าง แจ้งผลการแก้ปัญหาให้ผู้รับเหมาทราบ ช่วงต้นเดือน มี.ค.’55 ฝ่ายก่อสร้าง(คุณปรีชาชาญและส่วนงานที่เกี่ยวข้อง)ทบทวนขั้นตอนและปรับปรุงวิธีการทำงานที่เกี่ยวกับการสั่งซื้อ และติดตั้งวัสดุในทุกวัสดุ ให้กับผู้เกี่ยวของทราบอีกครั้ง แผนงาน ฝ่ายก่อสร้าง(ส่วนจัดซื้อ) ติดตามและประเมินผล ร้านค้าที่เคยเกิดปัญหา แจ้งให้หน่วยงานทราบทุกสิ้นเดือน เริ่มตั้งแต่ เดือน มี.ค.’55 เป็นต้นไป จนถึงเดือน มิ.ย.’55
แนวทางการแก้ไขปัญหา “ระยะยาว” ฝ่ายก่อสร้าง(ส่วนจัดซื้อ)จะ Monitor ข้อมูลการ Order วัสดุกับทางร้านค้า ทั้งส่วนที่ L&H จัดซื้อ และ ผู้รับเหมาจัดซื้อ ทุกเดือน เพื่อทราบถึง ปริมาณความต้องการใช้กับกำลังการผลิตของร้านค้า เพื่อทราบถึง ปัญหาความล่าช้าที่จะเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มต้น กรณีมีการแก้ไข spec, เทคนิคการทำงานใหม่ ฝ่ายก่อสร้าง จะมีแจ้งล่วงหน้าเพื่อให้ไม่กระทบกับการ การทำงานของผู้รับเหมา แยกเป็น 2 กรณี วัสดุใหม่ยังไม่เคยใช้มาก่อน (อยู่ในระบบก่อสร้างบ้านต้นแบบ) วัสดุทดแทน-ตัดล็อต ออกประกาศให้โครงการและผู้รับเหมาทราบ กำหนดให้มี supplier 2 รายขึ้นไปในแต่ละวัสดุ เพื่อแก้ปัญหารายใดรายหนึ่งมีปัญหา(ยกเว้นวัสดุที่เป็น Policy) ซึ่งมีดำเนินการอยู่แล้ว
The End
Back
OLPO Work Flow Diagram PRJ.GROUP CONSTR. SUPPLIERS ACCT. On Line Procurement Operating System @ lh.co.th PRJ.GROUP CONSTR. SUPPLIERS ACCT. PO Approve & Confirm Deliver on OLPO Web Application OLPO Monitor PO Recheck & Print Out On Web Application OLPO Monitor OLPO Material Production & Delivery Material In spectator & Receipt Receipt & Bill Key In Complete Delivery On OLPO Web Application Recheck OLPO Monitor & Receipt หมายเหตุ กรณีตรวจสอบปริมาณ PO มีมากกว่ากำลังการผลิต ส่วนจัดซื้อ นัดร้านค้าเพื่อสรุปแนวทางการรองรับปริมาณวัสดุที่ต้องผลิตเพิ่มขึ้น Approve Payment
Back
Back ตัวอย่าง Report ที่ร้านค้าส่งให้ส่วนกลาง
แผนทบทวนขั้นตอนและปรับปรุงวิธีการทำงาน Back