1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
Advertisements

สรุปการดำเนินงานด้าน ICT โรงเรียนเขาทรายทับคล้อพิทยา
ศท.1401 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารนิเทศ ศศ สารนิเทศเบื้องต้น
การพัฒนาระบบการเรียนทางไกลให้อยู่ในรูปแบบของเทคโนโลยีสารสนเทศ Application of Information Technology System into Distance Learning Presented by: Sunadda.
สถานศึกษาประเภทที่ 1 ทบทวนสาระผู้นำการเปลี่ยนแปลง
setup cned school server east wadjum school phisanulok1.
กรมสรรพากร กระทรวงการ คลัง. การบริหารงานสรรพากร จัดเก็บภาษีให้ทั่วถึงเป็นธรรม มี ความโปร่งใส ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั้งส่วนของ ทางการ และเอกชน มุ่งพัฒนาเป็นองค์กรแห่งการ.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
การจัดการศึกษาทางไกลผ่าน เทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance learning information technology ; dlit เป้าหมาย ตาม หลักสูตร + คุณลักษณะ ของคนใน ศตวรรษ ที่ 21 การวางแผน.
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
Professional Leaning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวีชาชีพ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
Information Technology For Life
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
อุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูล (Storage Devices)
ยุทธศาสตร์ชาติกับการพัฒนา มจธ.
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ยินดีต้อนรับ สู่ ห้องสืบค้นสารสนเทศ
Project based Learning
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กิจกรรมปีงบประมาณ 2558 กลุ่มวิจัยและพัฒนาระบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การประชุมผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
การใช้งานคอมพิวเตอร์ให้ปลอดภัย Keep it secure
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การสอบที่มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
ระเบียบวาระการประชุม
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
๓.จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
นโยบายการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
วิธีเข้าระบบทดสอบจริยธรรมตำรวจ
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
ทิศทางการศึกษาเอกชน พ.ศ. 2551
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
บทที่ 5 ปฏิบัติการที่ 5.3 : การสร้างงานนำเสนอด้วย
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
PLC.
เครื่องทำความเย็นด้วยเพลเทียร์
Slide PowerPoint_สื่อประกอบการสอน
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
แผนงานประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ

แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับโรงเรียน ห้องเรียนคุณภาพ    แนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับโรงเรียน 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ 2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 3) การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research- CAR) 4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน 5) การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline)

1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom 1) นำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ ส่งเสริม ในการทำงานใหม่ในห้องเรียน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งรูปแบบการจัดการรายวิชาของครู ที่จะส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนแนวทาง การจัดการเรียนรู้ เห็นศักยภาพของครูแต่ละคน สามารถสืบค้นจากแหล่งความรู้และมองเห็น แนวทางปรับปรุงต่อยอดความคิดได้ชัดเจน มีการปรับการเรียนเปลี่ยนวิธีสอน สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน DLIT Portable Classroom 2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ จากหน่วยการเรียนรู้ที่กำหนด เป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการและหลักสูตรสถานศึกษา สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน DLIT Portable Classroom 2) ออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน

มาตรฐานการจัดการศึกษาด้วย DLIT DLIT Portable Classroom มาตรฐานการจัดการศึกษาด้วย DLIT 1. ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 2. ระดับสถานศึกษา

มาตรฐานการจัดการศึกษาด้วย DLIT (7 มาตรฐาน 28 ตัวชี้วัด) DLIT Portable Classroom มาตรฐานการจัดการศึกษาด้วย DLIT (7 มาตรฐาน 28 ตัวชี้วัด) 1. ระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (3 มาตรฐาน 7 ตัวชี้วัด) 1.1 ด้านนโยบาย วิสัยทัศน์/พันธกิจ/แผนงาน/โครงการ (1) 1.2 ด้านการขับเคลื่อนและสร้างความเข้มแข็ง (3) - คณะกรรมการขับเคลื่อน/Roving Team/เครือข่าย 1.3 การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล (3) - แผนการนิเทศ/รายงานการจัดการศึกษาด้วย DLIT/ คัดเลือก Best Practices

2. ระดับสถานศึกษา (4 มาตรฐาน 21 ตัวชี้วัด) DLIT Portable Classroom 2. ระดับสถานศึกษา (4 มาตรฐาน 21 ตัวชี้วัด) 2.1 ปัจจัยพื้นฐาน - อุปกรณ์/อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสม/บุคลากร/บำรุงรักษา 2.2 ด้านผู้บริหาร - นโยบายส่งเสริม/ตระหนัก/นิเทศ/ส่งเสริม/ประเมิน 2.3 ด้านครูผู้สอน - เตรียมสื่อ/ออกแบบ/วิเคราะห์/นร.มีส่วนร่วม/ วัดและประเมินผล/แผนซ่อมเสริม/Social Media

2. ระดับสถานศึกษา (4 มาตรฐาน 21 ตัวชี้วัด) DLIT Portable Classroom 2. ระดับสถานศึกษา (4 มาตรฐาน 21 ตัวชี้วัด) 2.4 ด้านนักเรียน - สมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรระดับดี - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรระดับดี - ทักษะการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน - ผลการทดสอบขั้นพื้นฐาน (O-Net)

3) การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research- CAR) DLIT Portable Classroom 3) การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research- CAR) การจัดการเรียนรู้ การบันทึกตามแผนการจัดการเรียนรู้ และนำผลมาประมวล เมื่อสิ้นปีการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เป็นผลงานวิจัยชั้นเรียน เป็นฐานที่สำคัญในการนำไปพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน DLIT Portable Classroom 4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน การใช้สื่อสารสนเทศเพื่อการสืบค้นและการเรียนการสอน มีความตื่นตัวสนุกสนานพัฒนาสมอง ขณะเดียวกันเด็กก็สามารถเรียนรู้จากต้นแบบในอินเตอร์เน็ต ที่ครูเลือกแนะนำให้เด็กได้แม้ไม่มีความชำนาญ ทำให้สื่อใกล้ตัวครูและนักเรียนมากขึ้น ชุมชนการเรียนรู้

4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน DLIT Portable Classroom 4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน

4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน DLIT Portable Classroom 4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน

4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน DLIT Portable Classroom 4) การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน - ใช้เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอน - ใช้สนับสนุนการเรียนการสอนระบบดูแลช่วยเหลือ นร.

5) การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) DLIT Portable Classroom 5) การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) การปฏิบัติต่อนักเรียนในเชิงบวกและการส่งเสริมวินัยให้เกิดขึ้นในตัวนักเรียน เช่น การใช้กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนได้มีส่วนร่วมคิดร่วมทำ การแก้ปัญหาและตอบปัญหาเชิงบวก ใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จึงเป็นแนวทางสำคัญต่อการสร้างคุณภาพผู้เรียนได้

5) การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline) DLIT Portable Classroom 5) การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline)

ผลที่เกิดจากห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom ผลที่เกิดจากห้องเรียนคุณภาพ 1) เด็ก ได้รับการเรียนรู้ตามมาตรฐาน มีคุณภาพ เป็นคนดีเพราะมีระบบการดูแลที่ดีและใช้วินัยเชิงบวก มีความสุขจากบรรยากาศการเรียนการสอน 2) ครู ได้มีระบบการทำงานที่สอดคล้องกับวิชาชีพ มีความสุขกับการศึกษาค้นคว้าทดลองด้วยวิธีการของตน สร้างสรรค์ผลงาน 3) ผู้บริหาร มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาจากผลงานการวิจัยของครูทุกคน และต่อยอดความสมบูรณ์ของหลักสูตรสถานศึกษาสู่ความก้าวหน้า มีองค์ความรู้ที่หลากหลายตามบริบทที่มีอยู่

ผลที่เกิดจากห้องเรียนคุณภาพ DLIT Portable Classroom ผลที่เกิดจากห้องเรียนคุณภาพ 4) ชุมชนและผู้ปกครอง มีความเชื่อมั่นในครูและระบบการศึกษา 5) สำนักงานเขตพื้นที่ สามารถกำกับดูแลการจัดการศึกษาของสังกัดได้อย่างมี ทิศทาง สามารถควบคุมระดับคุณภาพและมาตรฐานได้

Distance learning information technology : DLIT) DLIT Portable Classroom Distance learning information technology : DLIT) 1. DLIT Classroom ห้องเรียนแห่งคุณภาพ 2. DLIT Resources คลังสื่อประกอบการเรียนการสอน 3. DLIT Library ห้องสมุดออนไลน์ 4. DLIT Professional Learning Community ชุมชนแห่งการพัฒนาวิชาชีพ 5. DLIT Assessment คลังข้อสอบ

Classroom ห้องเรียนแห่งคุณภาพ DLIT Portable Classroom Classroom ห้องเรียนแห่งคุณภาพ www.dlit.ac.th

Classroom ห้องเรียนแห่งคุณภาพ DLIT Portable Classroom Classroom ห้องเรียนแห่งคุณภาพ

DLIT Portable Classroom DLIT Portable Classroom เป็นการเพิ่มโอกาสการเข้าถึงห้องเรียนแห่งคุณภาพ ให้กับโรงเรียนขนาดกลางและเล็ก ที่มีครูสอนไม่ครบเอกใน 5 กลุ่มวิชาที่เป็นสาระการเรียนรู้หลัก โดยนำเอา VDO สื่อการสอนจากโรงเรียนชั้นนำทั่วประเทศ กว่า 1.200 ตอน และเอกสารประกอบการสอน เช่น ใบความรู้ ใบงาน มาเก็บไว้ใน DLIT Portable เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับครูผู้สอน ให้สามารถเข้าถึง VDO เนื้อหาการสอน ได้ผ่านทางระบบ Offline โดยไม่ต้องพึ่งอินเทอร์เน็ต โดยเน้นมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่สอนยาก เข้าใจยาก และมีปัญหาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

DLIT Portable Classroom - ขนาดความจุ 4 TB - 2 Partition 1.DLIT_Classroom (601 GB) 2.Full_HD_MASTER (1.53 TB)

1. DLIT_Classroom (601GB) 1. DLIT Resources(เพิ่มเติม) 2. คู่มือ DLIT Portable Classroom 1. DLIT_Classroom (601GB) 1. DLIT Resources(เพิ่มเติม) 2. คู่มือ 3. สื่อการสอนกว่า 1,200 ตอน - คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ - ภาษาไทย - สังคมศึกษา - ภาษาต่างประเทศ (Eng)

1. DLIT_Classroom (601GB) ขนาด VDO ขนาด 720 P ความยาวประมาณ 50 นาที DLIT Portable Classroom 1. DLIT_Classroom (601GB) ขนาด VDO ขนาด 720 P ความยาวประมาณ 50 นาที 500-600 MB

DLIT Portable Classroom 1. DLIT_Classroom (601GB) - ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 323 GB - มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 118 GB - มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 120 GB - DLIT Resources 37.9 GB

DLIT Portable Classroom 2.Full_HD_MASTER (1.53 TB)

2.Full_HD_MASTER (1.53 TB) ขนาด VDO ขนาด 1080 P ความยาวประมาณ 50 นาที DLIT Portable Classroom 2.Full_HD_MASTER (1.53 TB) ขนาด VDO ขนาด 1080 P ความยาวประมาณ 50 นาที 1.2 GB

DLIT Portable Classroom 2.Full_HD_MASTER (1.53 TB) ความจุ - ประถมศึกษา ป.1 - 6 985 GB - มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 468 GB - มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6 120 GB 1.53 TB

สรุปในส่วนของ สพป. - ประถมศึกษา ป สรุปในส่วนของ สพป. - ประถมศึกษา ป.1 - 6 323 GB - มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 118 GB - DLIT Resources 37.9 GB รวม 478.9 GB

สรุปในส่วนของ สพม. - มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 118 GB - DLIT Resources 37.9 GB รวม 275.9 GB

ความเร็วในการ copy ข้อมูล 3 GB/นาที

แนะนำการสร้าง shortcut Desktop > New > Shortcut

ลักษณะการนำ DLIT Portable ไปใช้งานในห้องเรียน 1.ใช้ร่วมกับคอมพิวเตอร์ - นำ DLIT Portable เชื่อมต่อ - คัดลอกสื่อลงบนคอมพิวเตอร์ - คัดลอกสื่อลงบน Flash Drive

ลักษณะการนำ DLIT Portable ไปใช้งานในห้องเรียน

ลักษณะการนำ DLIT Portable ไปใช้งานในห้องเรียน 2. ใช้ร่วมกับโทรทัศน์ - เปิดผ่าน Flash Drive - HD External แนะนำไม่เกิน 1 TB

ลักษณะการนำ DLIT Portable ไปใช้งานในห้องเรียน 3. ใช้ผ่านระบบ Intranet

สำรวจห้องเรียนแห่งคุณภาพ DLIT Portable Classroom

สวัสดี