การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
งานบริการการศึกษา.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
PLC (Professional Learning Community) “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ณ วันนี้เป็นวิชาชีพชั้นสูงหรือยัง
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การระดมความคิดเห็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลของ กลุ่มที่ 9 ภาคเหนือตอนบน แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ PLC ICU โรงเรียนดีไกล้บ้าน e-Mail ครู โรงเรียนประชารัฐ

การอบรม PLC ปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ปัญหา ครู ผู้บริหาร

ตัวชี้วัดความสำเร็จ PLC Out Put นักเรียนมีความสุข อยากเรียน ครูรักเด็ก เด็กรักครู Active Learning พี่ช่วยน้อง เพื่อนช่วยเพื่อน นักเรียนมีพัฒนาการตาม Bloom’s Taxonomy Out Come

การนำ PLC ไปใช้ 1. อบรมความรู้ + PLC ส่งวิทยฐานะ

ข้อสังเกตการทำ PLC ยังมองปัญหาของตัวเองกับองค์ประกอบอื่น ยังไม่พูดถึงปัญหาของนักเรียน อนาคต อดีต วันนี้

กรอบแนวคิดโรงเรียน ICU 45% แนวทางแก้ปัญหา สาเหตุ ปัญหา การขอรับการช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ เร่งด่วน 1 2 3 4

3 1 เสนอข้อมูลที่คัดกรองแล้ว ต่อ กศจ. ประชาสัมพันธ์ ประสาน และระดมความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคลในการช่วยเหลือ และพัฒนาโรงเรียน ICU 2 4 กศจ. แต่งตั้งคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือและพัฒนาโรงเรียน ICU จัดกิจกรรมประสานสัมพันธ์ช่วยเหลือและพัฒนาโรงเรียน ICU

โรงเรียนดีใกล้บ้าน กับประชารัฐ นำบัญชีรายชื่อโรงเรียนจากข้อมูล GIS ไปสำรวจสภาพจริงว่ามีความเหมาะสม หรือไม่ เพื่อเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน แจ้งยืนยัน หรือเสนอแนะ ปรับเปลี่ยน โรงเรียนที่เหมาะสม เป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน สพฐ. และประชารัฐจะพัฒนาโรงเรียน ที่ได้รับการคัดเลือกเพื่อเป็นโรงเรียนดีใกล้บ้าน หมายเหตุ ไม่มีเป้าหมายไปยุบโรงเรียนใดๆ ที่อยู่ใกล้เคียง แต่เปิดโอกาสรับนักเรียนที่ต้องการไปเรียนพร้อมสนับสนุน ค่าพาหนะในการเดินทาง

โครงข่ายประสิทธิภาพการสื่อสาร e - Mail เป้าหมาย ครูและบุคลากรทุกคน ใช้ e-Mail เพื่อรับข่าวสารจาก รมว.ศธ. รมช.ศธ. และผู้บริหารระดับสูง ของกระทรวงศึกษาธิการ

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)

ผลจากงานวิจัยของสถาบัน TDRI การพัฒนาและอบรมครู - ไม่สอดคล้องกับความท้าทายและปัญหา - ใช้วิทยากรภายนอก - ขาดการติดตามผลและระบบสนับสนุน - ไม่แก้ปัญหาการทำงานของครู - ไม่ส่งเสริมให้ครูพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์การอบรมและพัฒนาครูในประเทศต่างๆ - วางแผนและออกแบบโดยผู้บริหาร - ครูเข้ารับการอบรมไม่ทั่วถึง - ระยะเวลาการอบรมครูไม่ช่วยให้เกิดการพัฒนาที่แท้จริง - เป็นการบรรยายหรือประชุมเชิงปฏิบัติการ - ขาดการติดตามผล

สถานการณ์การอบรมและพัฒนาครูในประเทศต่างๆ - การอบรมครูเป็นงานพิเศษนอกเหนือจากหน้าที่ประจำ - การอบรมเป็นการเพิ่มภาระให้ครู - ครูขาดสอน - การอบรมไม่สะท้อนภาพที่แท้จริงของการจัดการเรียนการสอน - ประเมินการอบรมจากจำนวนครูที่เข้าอบรม

การพัฒนาวิชาชีพ VS การเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Development VS Professional Learning 1. Authorities’ V Teachers’ V Students’ Needs 2. External V Internal Motivation 3. Outside V Inside Expertise 4. Recipients V Contributors 5. Generalized V Personalized Learning 6. One-time Event V Ongoing Process 7. Isolation V Collaboration

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพคืออะไร - เครื่องมือในการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน - การพัฒนาวิชาชีพครูด้วยการพัฒนาผู้เรียน - การร่วมมือรวมพลังของทุกฝ่ายในการพัฒนาผู้เรียน - การตรวจสอบทบทวนการปฏิบัติงานของครูที่มีผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน - การร่วมมือกันปรับปรุงการทำงานของครู

ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพคืออะไร - การสร้างการเปลี่ยนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงของครู - การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน - การทำงานร่วมกันด้วยความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร - การเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง

การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bloom (Bloom’s Taxonomy) 1. ระดับความรู้ความจำ (Remember) 2. ระดับความเข้าใจ (Understand) 3. ระดับการนำไปใช้ (Apply) 4. ระดับการวิเคราะห์ (Analyse) 5. ระดับประเมินผล (Evaluate) 6. ระดับสร้างสรรค์ (Create)

ปัจจัยความสำเร็จของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ - ยอมรับว่าหัวใจหลักของการเรียนรู้ของครูคือการเรียนรู้ของผู้เรียน - ยอมรับว่าการสอนและการปฏิบัติงานของครูมีผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน - เข้าใจความแตกต่างของระดับการเรียนรู้ - สร้างบรรยากาศความร่วมมือร่วมใจ - สร้างความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร - รับฟังและแสดงความคิดเห็นด้วยทัศนคติเชิงบวก

ปัจจัยความสำเร็จของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ - ยอมรับว่าหัวใจหลักของการเรียนรู้ของครูคือการเรียนรู้ของผู้เรียน - ยอมรับว่าการสอนและการปฏิบัติงานของครูมีผลต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียน - เข้าใจความแตกต่างของระดับการเรียนรู้ - สร้างบรรยากาศความร่วมมือร่วมใจ - สร้างความสัมพันธ์แบบกัลยาณมิตร - รับฟังและแสดงความคิดเห็นด้วยทัศนคติเชิงบวก

วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การบริหารจัดการ - ภาระงาน : จัดชั่วโมงรวมอยู่ในภาระงานสอนของครู /ภาระงาน - การจัดกลุ่ม - กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกันในระดับชั้นเดียวกัน - กลุ่มครูที่สอนวิชา/กลุ่มสาระเดียวกันในช่วงชั้นเดียวกัน - บุคลากรแบ่งกลุ่มตามลักษณะงาน - จำนวนสมาชิก : 6-8 คน (ผู้บริหาร/ศึกษานิเทศก์ หมุนเวียนเข้าร่วม ทุกกลุ่ม) - ระยะเวลา : 2-3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตลอดหนึ่งปีการศึกษา

วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ บทบาทสมาชิกในกลุ่ม - ผู้อำนวยความสะดวก - รักษาระดับการมีส่วนร่วมของสมาชิก - ควบคุมประเด็นการพูดคุย - ผู้ร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ผู้หาข้อมูลเพิ่มเติม - ผู้บันทึก logbook (ทุกคน)

วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ วิธีดำเนินงาน - เสนอประเด็นปัญหาที่พบจากการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือปัญหา จากการทำงาน - ร่วมกันคัดเลือกประเด็นปัญหา - ระดมสมองนำเสนอวิธีแก้ปัญหาจากประสบการณ์ - หาข้อมูลความรู้เพิ่มเติม - จาก ศน./ผู้เชี่ยวชาญ - จากงานวิจัยในชั้นเรียน - จากแหล่งข้อมูลต่างๆ - จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วิธีการดำเนินงานชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ วิธีดำเนินงาน - อภิปรายสรุปและเลือกวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสม - นำไปทดลองใช้ในการเรียนการสอนในชั้นเรียน /ในการทำงาน - สมาชิกร่วมกันสังเกตการสอนและเก็บข้อมูล หรือเก็บข้อมูลจากการทดลองใช้ ในการทำงาน - อภิปรายผลจากการสังเกตการสอนและปรับปรุงแก้ไข - สรุปผลวิธีการแก้ปัญหาที่ให้ผลดีต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน /การทำงาน - บันทึกทุกขั้นตอนการทำงานกลุ่ม : ระบุปัญหา วิธีแก้ การทดลองใช้ ผลที่ได้ - แบ่งปันประสบการณ์

ปัจจัยความสำเร็จของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ : 9 แนว พระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 1. ภูมิสังคม 2. ระเบิดจากข้างใน 3. การมีส่วนร่วม 4. ประโยชน์ส่วนรวม 5. องค์รวม 6. ทำตามลำดับขั้น 7. ไม่ติดตำรา 8. พึ่งตนเอง 9. ประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด

นายชัยวัฒน์ แก้วบัวทอง หัวหน้าคณะทำงานพัฒนาครูจังหวัดสุราษฎร์ธานี “PLC เป็นกระบวนการพัฒนาครูที่ทำได้ทันที ไม่ต้องรอใครสั่งการ ลงทุนน้อย ไม่ต้องทิ้งเด็กๆตาดำๆ ไปอบรมทีละหลายๆวัน เพราะ PLC ใช้ห้องเรียน เป็นหน้างาน ทำแล้วพัฒนาและแก้ปัญหาเด็กได้ตรงประเด็น ใช้ปัญหาของเด็กเป็นตัวตั้งในการทำงานของครู PLC เป็นการรวมตัวกันของครู ร่วมกันทำแผนการสอน ร่วมกันสังเกตการสอน และร่วมกันวิพากษ์ ทำซ้ำจนเกิดนวัตกรรมการเรียนรู้ เมื่อมีนวัตกรรมเกิดขึ้นจึงเชื่อได้ว่า เด็กๆได้รับการพัฒนาศักยภาพ… โรงเรียนก็ดำเนินการต่อเนื่องจนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร” นายชัยวัฒน์ แก้วบัวทอง หัวหน้าคณะทำงานพัฒนาครูจังหวัดสุราษฎร์ธานี จาก PLC วิถีไทย : นานาทัศนะ โครงการติดตามสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้โครงการพัฒนาระบบกลไกและแนวทางการหนุนเสริมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียน

"เมื่อผู้บริหารการศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเข้าใจเรื่อง PLC นี้ อย่างชัดเจน PLC ก็จะกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร เป็นเครื่องมือในการพัฒนาครู และบุคลากรทุกฝ่ายอย่างยั่งยืน แต่ต้องเข้าใจว่า PLC ไม่ใช่หัวข้อการอบรม แต่เป็น กระบวนการ ครูสามารถนำกระบวนการ PLC นี้มาใช้เพื่อศึกษาเรื่อง ที่ตนเองสนใจ หรือเพื่อศึกษาหาทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนที่ตนพบ หรือเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับบริบทของตน ได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน คือใช้กระบวนการ PLC แต่ปรับเปลี่ยนหัวข้อหรือปัญหา ที่ต้องการศึกษาได้ตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรียน แต่ละพื้นที่" รศ. นราพร จันทร์โอชา

โรงเรียนมัธยมดีใกล้บ้าน ? เป็นโครงการนำร่อง โรงเรียนมัธยมดีใกล้บ้าน คือ โรงเรียนมัธยม ที่มี โรงเรียนขยายโอกาส ที่มีนักเรียนในระดับ มัธยมต้น น้อยกว่า 120 คน อยู่ห่างไม่เกิน 5 นาทีการเดินทาง

แล้วอย่างไรต่อ ?? ได้รายชื่อ โรงเรียนประชารัฐ รุ่นที่ 2 เพื่อเป็น โรงเรียนดีใกล้บ้าน ชัดเจน ระดมทรัพยากรจากทั้งภาครัฐ เอกชน และท้องถิ่น สนับสนุน ให้เป็น โรงเรียนคุณภาพที่ดีที่ชัดเจน ที่เป็น ทางเลือกที่ดี ให้กับชุมชนอย่างแท้จริง เกลี่ยครู และผู้อำนวยการ ให้เหมาะสมที่จะพัฒนา โรงเรียนให้มีคุณภาพที่แท้จริง (รวมโครงการครูคืนถิ่น โครงการคืนครูสู่ท้องถิ่น และอื่นๆ)

แล้วอย่างไรต่อ ?? พัฒนาเกณฑ์ครูใหม่ และผู้บริหารโรงเรียน ที่มี คุณภาพ และมีศักยภาพ พัฒนาระบบจูงใจ ให้ครู และผู้บริหาร ให้พัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ตัวนักเรียน และอยาก อยู่โรงเรียนที่เล็กกว่า การใช้การประเมินคุณภาพการศึกษา ของ สมศ. กระตุ้น การยกระดับคุณภาพการศึกษา การใช้การประเมินความดีความชอบ วิทยฐานะ

แล้วอย่างไรต่อ ?? พัฒนากลไกการทำงานร่วมกับชุมชน เพื่อให้ เข้าใจโครงการนี้ เตรียมการ ศูนย์เรียนรู้ และกิจกรรมชุมชน สำหรับโรงเรียนในพื้นที่ครอบคลุม เพื่อรองรับ ชุมชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการนี้ ฯลฯ

เป้าหมาย ?? เริ่มปีการศึกษา 2560 ให้ได้มากที่สุด เก็บตกในปีการศึกษา 2561

ทุกเป้าหมายที่ต้องการให้เกิด ต้องมี กรอบแนวคิด หลักสูตร กิจกรรม กระบวนการเรียนรู้ และการประเมินผล รองรับ ทุกหลักสูตร ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนว่า - เรียนไปทำไม ? - ผลสัมฤทธิ์สุดท้ายที่ต้องการที่เป็นรูปธรรมและมีประโยชน์ในการดำเนิน ชีวิตในอนาคต คืออะไร ? - ใช้กระบวนการอย่างไร จึงจะเกิดผลที่ต้องการได้จริง 100% ? - แล้ว จะประเมินผลอย่างไร จึงจะรู้ว่า เกิดขึ้นในตัวเด็กจริง ?