การสัมมนาเวทีสาธารณะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
Advertisements

Development Communication Theory
บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สภาพแวดล้อมของช่องทางการตลาด (The Environment of Marketing Channels)
ตลาดและการแข่งขัน.
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
ก้าวต่อไป ภายใต้กระบวนการใหม่
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
Power Point ประกอบการบรรยาย แก่ “ประธานกรรมการและเลขานุการ กรรมการสถานศึกษา ตามโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานของกรรมการสถานศึกษา” วันที่ 19 ธันวาคม.
1 การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษนครพนม.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
การบริหารงานพัสดุภายใต้ พ. ร. บ
การค้าระบบใหม่ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก
การพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อเข้าสู่ Industry 4.0
บทที่ 7 ราคา Price.
ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร FTA
Market System Promotion & Development Devision
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
สถานการณ์การผลิตและการตลาด พืชตระกูลถั่ว
ความสำคัญของแสง ต่อการถ่ายภาพ
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
GATT & WTO.
EET2503-Wind Energy Technology
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
แนวทางการสร้าง Innovation Ecosystem ในมหาวิทยาลัย
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การเปลี่ยนแปลงบริษัทและควบรวมกิจการ
กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชน: แนวคิด และประสบการณ์วิจัย
Training & Development
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
ผศ. ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) 0405
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
National Policy in CKD Prevention
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
รายวิชา MFS1301 หลักการออกแบบเว็บ (Principles of Web Design) 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต หัวข้อที่ 9 Site Navigation อาจารย์ณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
Competitive advantage Team Financial
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ผศ.ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. ภารกิจด้านการเรียนการสอน
กระบวนการคิด การปรับตัว และ การเตรียมความพร้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า
รูปแบบการดำเนินธุรกิจสำหรับ อีคอมเมิร์ซ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
นโยบายและแนวทางในการกำกับมาตรฐาน
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษหนองคาย
กลยุทธ์ธุรกิจ.
หัวข้อการนำเสนอ ความเป็นมา นำเสนอเว็บไซต์ระบบคลังข้อมูลทางการค้าของไทย
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ชีวิตใหม่ของฝ่ายจัดซื้อ
กลยุทธ์องค์การ.
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสัมมนาเวทีสาธารณะ “กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้ากับการเจรจาต่อเนื่องภายใต้ FTA ไทย-ออสเตรเลีย ไทย-นิวซีแลนด์ และไทย-ญี่ปุ่น” พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA : การเจรจาด้านนโยบายการแข่งขัน โดย นายยุตินธร์ ประจันตบริบาล ผู้อำนวยการกลุ่มงานวิเทศสัมพันธ์และกิจการต่างประเทศ สำนักสารสนเทศการค้าในประเทศ กรมการค้าภายใน 20 กันยายน 2554 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ

แหล่งข้อมูลสนับสนุนการสัมมนา กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ www.thaifta.com ผลการศึกษา/วิจัย กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ กองนิติการ สำนักส่งเสริมการแข่งขันทางการค้า

หัวข้อการสัมมนา 1. พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี 3. ลักษณะกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของประเทศภาคี 4. ลักษณะและการพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย

1. พระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 รมว.พณ. เป็นประธาน ปลัด พณ. เป็นรองประธาน ปลัด กค. + ผู้ทรงคุณวุฒิ (8-12 คน) แต่งตั้งโดย ครม. มีภาคเอกชนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง พรบ. กำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด พ.ศ. 2522 พรบ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 โครงสร้างและความเป็นอิสระของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง (4-6 คน) คณะอนุกรรมการสอบสวน (1+1-4 คน)

2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี JTEPA : บังคับใช้ 1 พ.ย. 2550 ส่งเสริมการแข่งขันที่เป็นธรรมและเสรีโดยห้ามกิจกรรมที่จำกัดการแข่งขัน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับของแต่ละฝ่าย โดยไม่เลือกปฏิบัติบนพื้นฐานของสัญชาติ พรบ.การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542

2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี (ต่อ) TAFTA : บังคับใช้ 1 ม.ค. 2548 anti-competitive horizontal arrangements between competitors misuse of market power, including predatory pricing anti-competitive vertical arrangements anti-competitive mergers and acquisitions มาตรา 27 (ตกลงร่วมกัน) มาตรา 25 (อำนาจเหนือตลาด) มาตรา 29 (พฤติกรรมการค้าที่ไม่เป็นธรรม) มาตรา 26 (การควบรวมกิจการ)

2. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรี (ต่อ) TNZCEP : บังคับใช้ 1 ก.ค. 2548 anti-competitive horizontal arrangements between competitors misuse of market power, including predatory pricing anti-competitive vertical arrangements anti-competitive mergers and acquisitions มาตรา 27 (ตกลงร่วมกัน) มาตรา 25 (อำนาจเหนือตลาด) มาตรา 29 (พฤติกรรมการค้าที่ไม่เป็นธรรม) มาตรา 26 (การควบรวมกิจการ)

3. ลักษณะกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของประเทศภาคี ญี่ปุ่น : JFTC ออสเตรเลีย : ACCC, NCC นิวซีแลนด์ : NZCC Anti-monopoly Act (AMA) 1947 Subcontract Act 1956 Premiums and Misleading Representations 1962 Involvement Prevention 2002 Trade Practice Act 1974 National Competition Policy 1992 - Commerce Act 1986

4. ลักษณะและพัฒนาการของกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย จาก พรบ. กำหนดราคาสินค้าและป้องกันการผูกขาด พ.ศ. 2522 พรบ. การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 โครงสร้างและความเป็นอิสระของคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย โครงสร้างคณะกรรมการ ขั้นตอน รมว.พณ. เป็นประธาน ปลัด พณ. เป็นรองประธาน ปลัด กค. + ผู้ทรงคุณวุฒิ (8-12 คน) แต่งตั้งโดย ครม. มีภาคเอกชนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง (4-6 คน) คณะอนุกรรมการสอบสวน (1+1-4 คน)

การปรับปรุงและพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย 4. ลักษณะและพัฒนาการของกฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย (ต่อ) การปรับปรุงและพัฒนากฎหมายการแข่งขันทางการค้าของไทย ประเด็นการปรับปรุง ขั้นตอนการดำเนินการ การกำหนดให้รัฐวิสาหกิจที่ประกอบธุรกิจเชิงพาณิชย์อยู่ภายใต้บังคับของกฎหมาย คณะกรรมการกฤษฎีกา การปรับโครงสร้างคณะกรรมการฯ และการเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมาย ตั้งคณะทำงาน

สรุปประเด็นการสัมมนา 1. ลักษณะการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันทางการค้าภายใต้กรอบความตกลงการค้าเสรีต่างๆ ในขณะนี้ยังเป็นการกำหนดหลักการกว้างๆ และเน้นความร่วมมือระหว่างกัน แต่ในอนาคตการเจรจาด้านนโยบายการแข่งขันจะทวีความเข้มข้นมากขึ้นตามระดับความพร้อมของประเทศภาคี เช่นเดียวกับนโยบายด้านอื่นๆ เช่น การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ 2. กฎหมายการแข่งขันทางการค้าควรมีการพัฒนาปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพการประกอบธุรกิจและสภาพเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา อันจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นที่น่าเชื่อถือ