การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
เอื้อมพร ธาตุทำเล.
แนวทางการบริหารงบประมาณ
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ณ ห้องประชุมอินทนิล โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
แผนงาน / กิจกรรมตามนโยบายการ จัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ปีงบประมาณ 2558
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
การบริหารหลักสูตร.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ (กพค.)
Boot Camp & Regional English Training Centres
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ประกาศ ศธ. การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ป. 1-3 ลว. 31 ต. ค
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
ผู้อำนวยการสถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการประชุมเรื่อง นโยบายและแนวทางของหลักสูตรครูคุณภาพเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ.
กลุ่มหลักสูตร กลุ่มหลักสูตรที่ 1 : พัฒนาความรู้
Aj.Dr. Bualak Naksongkaew
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ การนำนโยบายปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ สู่การปฏิบัติ

กลุ่มวิจัยและพัฒนา ระบบการเรียนการสอน ปีงบประมาณ 2557

วิจัยและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนสองภาษา พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษาให้เข้มข้น ต่อยอดสู่ IP ปรับปรุงหลักเกณฑ์ แนวทาง การสอน EPและการสองภาษา ถอดบทเรียนและจัดทำแนวทางบริหารจัดการโครงการ EP/MEP พัฒนาคุณภาพโรงเรียน EP/MEP (ผู้บริหาร หัวหน้าโครงการ ศูนย์ภาค) วิจัยระดับความสามารถภาษาอังกฤษของครูสอนภาษาอังกฤษและนักเรียน พัฒนารายวิชาฟัง-พูด(Conversation courses)

1. รูปแบบ EBE (English Bilingual Education) เพิ่มแรงจูงใจและ เพิ่มโอกาสให้นักเรียน และครูใช้ภาษาอังกฤษ สำหรับ ป. ๑ - ป. ๖ จัดในโรงเรียนสภาพทั่วๆ ไปขนาดกลาง และขนาดเล็ก จัดสอนสองภาษาในวิชาวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา (ยกเว้นประวัติศาสตร์และศาสนา) ศิลปะ ครูที่ไม่ใช่ครูสอนภาษาอังกฤษเข้าอบรมการออกเสียง (phonics) การใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน(classroom languages) กระบวนการสอนและการประเมินผล ผู้ปกครองไม่ต้องจ่ายค่าใช้จ่ายเพิ่ม

1.EBE (ต่อ) ผลที่เกิดขึ้นนักเรียนใช้ภาษาอังกฤษอย่างคล่องแคล่ว ครูกล้าใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ทำให้ครูและนักเรียนใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในชั้นเรียน คำศัพท์และประโยคพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน ครูใช้คำสั่งในการจัดกลุ่ม ขั้นตอนการทำงานมากขึ้นได้เรียนรู้ การเปิดหนังสือคำชม และข้อมูลป้อนกลับ ฯลฯ เป็นภาษาอังกฤษ

2.รูปแบบ MEP (Mini-English program) ระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้ใช้ภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น มีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงระดับกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่กำหนด หลักสูตรสถานศึกษาจัดเข้มกว่าปกติ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านภาษาอังกฤษ และด้านวิชาการ นร. เรียนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย ๑๕ ชั่วโมง

2.รูปแบบ MEP (ต่อ) ระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้ใช้ภาษาอังกฤษอย่างเข้มข้น มีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงระดับกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่กำหนด หลักสูตรสถานศึกษาจัดเข้มกว่าปกติ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรด้านภาษาอังกฤษ และด้านวิชาการ นร. เรียนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย 15 ชั่วโมง

2.รูปแบบ MEP (ต่อ) นร. เรียนวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษอย่างน้อย ๑๕ ชั่วโมง มีครูชาวต่างขาติเจ้าของภาษา/หรือคุณสมบัติเทียบเท่าเป็นผู้สอน นักเรียนหนังสือ สื่อ และสื่อ ICT เป็นภาษาอังกฤษ ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมตามประกาศ ศธ. ผลที่เกิดขึ้น นักเรียนเก่งภาษา และด้านวิชาการ เป็นตัวแทนแข่งขัน ร่วมกิจกรรมทางภาษา กิจกรรมร่วมกับนานาชาติ ฯลฯ

3. EP (English Program) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาต่อยอดเข้มข้นกว่า MEP จัดระดับปฐมวัย- มัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนมีทักษะภาษาอังกฤษเทียบเคียงกับมาตรฐานของต่างประเทศ ผลสัมฤทธิ์สูงตามที่กำหนด เรียนเป็นภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละไม่น้อยกว่า ๑๘ ชั่วโมง พัฒนาโลกทัศน์ความเป็นสากล ผ่านการเรียนการสอน ปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียน และกับครูชาวต่างชาติ รวมทั้งบรรยากาศการใช้ภาษาอังกฤษ

3. EP (ต่อ) ใช้ สื่อ ICT การพัฒนาทักษะ ICT ของนักเรียนและการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่าง ๆ โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากรจากผู้ปกครองเป็นค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในการจัดการเรียนการสอนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

4. IP (International Program) มุ่งจัดการเรียนการสอนให้ได้คุณภาพของโรงเรียนนานาชาติ ต่อยอดจากโปรแกรม EP โดยที่นอกจากจัดการเรียนการสอนรายวิชาต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษ การจัดกิจกรรมเสริมด้านภาษาแล้วเน้นการเรียนวิชาต่าง ๆ รวมทั้งวิชาภาษาอังกฤษที่กำหนดไว้สำหรับผู้ที่จะได้รับประกาศนียบัตรตามหลักสูตรของต่างประเทศ เช่น General Certificate of Secondary Education (IGCSE) ทำความร่วมมือกับโรงเรียน/โปรแกรมของต่างประเทศ นักเรียนจะได้รับประกาศนียบัตร 2หลักสูตร คือทั้งของไทยและของต่างประเทศ ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายมาก

5. รูปแบบ EIS (English Integrated Studies) กลุ่มผู้สนใจ ผู้บริหาร/ ครูร่วมกันพัฒนาขึ้น เพื่อเพิ่มทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียน เรียน มีการจัดการเรียนการสอนทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ครูไทยสอนวิชาต่าง ๆ โดยใช้ภาษาอังกฤษเบื้องต้นในการสื่อสารกับนักเรียน และใช้ภาษาไทยอธิบายเนื้อหาที่ซับซ้อน ครูใช้สื่อการสอนภาษาอังกฤษ และสื่อ ICT ต่าง ๆ จาก internet สพฐ. สนับสนุนครูด้านการพัฒนาทักษะการออกเสียง การสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษในชั้นเรียน อบรมผู้บริหาร ผู้ปกครองสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมบางส่วน

พัฒนาคุณภาพโรงเรียน EP/MEP สภษ. -ตั้งกรรมการพิจารณาเอกสาร และประเมิน -ออกประเมิน และสรุปผล -สพฐ. อนุมัติ MEP ศธ. อนุมัติ EP -กำกับคุณภาพโรงเรียนโดยใช้ มฐ. การจัด EP สพฐ. ร่วมกับ สพท. และประธานศูนย์ และ รร.พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง สพท. -เป็นพี่เลี้ยง ช่วยแนะนำ -แต่งตั้ง กรรมการประเมินตามเกณฑ์การประเมิน -เสนอขอรับการประเมินจากส่วนกลาง -รับนัดหมายออกประเมินร่วมกับกรรมการส่วนกลาง โรงเรียนที่สนใจเปิดสอน ศึกษาแนวทางและ เตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ

ปีงบประมาณ 2557 พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษาให้เข้มข้น ต่อยอดสู่ IP -หลักสูตรปกติ จัดให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน EP/MEP ปรับปรุงหลักเกณฑ์ แนวทาง การสอน EPและการสองภาษา ถอดบทเรียนและจัดทำแนวทางบริหารจัดการโครงการ EP/MEP ประชุมโรงเรียน EP/MEP (ผู้บริหาร หัวหน้าโครงการ )

พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา ปีงบประมาณ 2557 พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา - สพฐ.วิจัยและประเมินโครงการ EP -รร. ใช้เครื่องมือประเมินตนเองและจัดการสอนให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน EP -จัดEP/MEP เข้มข้นโปรแกรม - วิทย์คณิต -พัฒนา EP สู่ IP -สพฐ. ประชุมและปรับปรุงหลักเกณฑ์ แนวทาง การสอน Ep เสนอ ศธ

พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา ปีงบประมาณ 2557 พัฒนาหลักสูตรและการสอนสองภาษา - -ประชุม ผู้บริหาร / หัวหน้าโครงการ EP -ศูยน์ภาคจัดประชุม จัด open house ประจำปี -สพฐ. จัดเตรียมความพร้อมโรงเรียนที่สนใจเปิดการสอน EP/MEP -พัฒนาหลักสูตรโปรแกรม Gifted ด้านภาษา

ปีงบประมาณ 2557 วิจัยระดับความสามารถภาษาอังกฤษของครูสอนภาษาอังกฤษและนักเรียน ทดสอบ เก็บข้อมูลภาคสนาม รายงานผลวิจัย วิจัยและพัฒนารายวิชาฟัง-พูด(Conversation courses) วิเคราะห์ รวบรวมรายวิชาที่โรงเรียนเปิดสอนสำเร็จ วิเคราะห์เทียบกับ CEFR ทำ ให้ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ จะเน้นการวัดประเมินผลในชั้นเรียน เผยแพร่ จัดอบรมโรงเรียนที่สนใจ