เครื่องมือชุดธารปัญญา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
Advertisements

PMAT Personnel Management Association of Thailand
“Knowledge Management in Health Care”
ชื่อเรื่อง ชื่อผู้ดำเดินงาน ที่อยู่. * Tel: บทคัดย่อ ………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… บทคัดย่อ ………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
กองวิทยาการ กรมการขนส่ง ทหารเรือ. ภารกิจ มีหน้าที่ อำนวยการ ประสานงาน และดำเนินการ เกี่ยวกับการศึกษา ค้นคว้าวิจัย และพัฒนาเผยแพร่ให้คำแนะนำ ด้านวิทยาการขนส่ง.
การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management).
แนวทางการดำเนินงานประกัน คุณภาพการทดสอบมาตรฐาน ฝีมือแรงงาน การประชุมเชิง ปฏิบัติการ สำนักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมือ แรงงาน.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
รูปแบบและแนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
ณ ห้องประชุมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐPMQA สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
สำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว Plant Protection Sakaeo
บทนำ แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) เป็นการออกแบบที่แสดงตรรกะของกระบวนการทำงาน โดยมีการวาดแผนผังออกมา คล้ายกับการสร้างบ้าน ที่ต้องมีแปลน ภายนอก.
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self Assessment Report)
งานจัดการเรียนการสอน
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2560
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
มิถุนายน 2548 การประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2
หมวด 6 การปฏิบัติการ โดย ดร.สุนทรัสส์ เพชรรักษ์คำด้วง
แนวทางการจัดทำรายงาน
ประกาศกรมการจัดหางาน
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
รายงานการประเมินตนเอง
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
การบริหารการปฏิบัติงานของทรู (Cycle of Performance Management System)
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง แบบเอกสารกำกับการขนสิ่งปฏิกูล พ.ศ. 2561
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Selecting Research Topics for Health Technology Assessment 2016
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
แนวทางการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย และหน่วยงานในสังกัด
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เครื่องมือชุดธารปัญญา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้ นายแพทย์พิเชฐ บัญญัติ รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

เครื่องมือชุดธารปัญญา 1. ตารางแห่งอิสรภาพ เป็นตารางที่แสดงขีดความสามารถหลักในด้านต่างๆและช่องคะแนนประเมินในระดับตั้งแต่ 1(พื้นฐาน)ถึง5(ดีเยี่ยม) 2. แผนภูมิแม่น้ำ(River diagram) นำตารางอิสรภาพของแต่ละองค์การที่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้ประเมินขีดความสามารถไว้โดยนำค่าระดับจุดเป็นเส้นกราฟเพื่อสร้างเป็นแผนภูมิแม่น้ำ โดยให้แกนนอน(x)เป็นแกนที่ระบุขีดความสามารถหลัก แกนตั้ง(Y)เป็นแกนที่แสดงค่าระดับจาก 1-5

เครื่องมือชุดธารปัญญา 3. แผนภูมิขั้นบันได(Stair diagram)มีบทบาทต่อการจัดพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้มาก โดยแกนตั้งเป็นค่าระดับ 1-5 ส่วนแกนนอนเป็นตัวแสดงค่าช่องว่าง จะมีกลุ่มพร้อมให้และกลุ่มใฝ่รู้ 4. ขุมความรู้(Knowledge assets) เก็บรวบรวมสิ่งที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 ส่วนสำคัญคือประเด็นหลักๆ,เรื่องเล่า,ส่วนที่ให้รายละเอียดเพิ่มเติม 5. พื้นที่ประเทืองปัญญา เปิดเวทีให้ผู้สนใจได้เข้ามาศึกษาค้นคว้าแลกเปลี่ยนได้สะดวกขึ้นไม่ติดขัดทางด้านเวลาและระยะทาง

ตารางแห่งอิสรภาพ (Self Assessment) การกำหนดปัจจัยแห่งความสำเร็จในตารางอิสรภาพ กำหนดจากขั้นตอนหรือกระบวนการในการทำงาน(Process) ปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการทำงาน(Input) กำหนดจากผลลัพธ์ของความสำเร็จ(Results) กำหนดจากขีดความสามารถที่จะปฏิบัติงานนั้นๆให้สำเร็จ(Competency)

การกำหนดค่าระดับการประเมินแต่ละปัจจัย กำหนดเป็นตัวชี้วัดเชิงตัวเลข ๓-๕ ระดับ กำหนดเป็นคำอธิบายเชิงคุณภาพ ๓-๕ ระดับ

อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ 1 = อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 50หรือน้อยกว่า 2 = อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 60 3 = อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ70 4 = อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 80 5 = อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 90หรือมากกว่า

ตารางอิสรภาพ “งานได้ผล ตนสุขใจ” การประชุมเชิงปฏิบัติการ มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัมฯ 4 – 5 ตุลาคม 2548 ตารางอิสรภาพ “งานได้ผล ตนสุขใจ” งานได้ผล ทำงานได้ตาม มาตรฐาน และ/หรือ ตามแนวทางที่ตั้งไว้ ทำงานได้บรรลุเป้าหมาย สามารถตอบสนองความต้องการของหน่วยงานได้ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำงานได้เหนือความคาดหมาย สร้างความประทับใจให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงและพัฒนาการทำงาน ให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป ตนสุขใจ สุขใจเพราะทำงานได้ตามที่รับผิดชอบ ทำได้ตามที่ได้รับมอบหมาย สุขและสนุกกับงาน มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ที่เกี่ยวข้อง สุขเพราะมีใจจดจ่ออยู่กับงาน คิดเชิงบวกและมองโลกในแง่ดี สุขเพราะเห็นคุณค่าของงานที่ทำ ทำงานด้วยใจ สุขเพราะการทำงานประสานกลมกลืนกับการดำเนินชีวิต สามารถ บูรณาการ งานและชีวิตได้

การกำหนดปัจจัยตารางอิสระภาพ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน: Process การจัดทำบัตรและรับเข้าสู่บริการ การตรวจประเมินเบื้องต้นก่อนพบแพทย์ การตรวจค่าน้ำตาลในเลือด การรักษาและการจ่ายยา การแนะนำเรื่องการรับประทานยาและการปฏิบัติตัว การตรวจติดตามอย่างต่อเนื่อง

การกำหนดปัจจัยตารางอิสระภาพ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน: Result การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในระดับปกติ การเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวาน ความพึงพอใจของผู้ป่วยที่มาระบบริการ ความร่วมมือในการรักษา การปฏิบัติตัวหรือพฤติกรรมสุขภาพเหมาะสม

การกำหนดปัจจัยตารางอิสระภาพ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน: Competency การให้การวินิจฉัยโรค การให้สุขศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การรักษาอย่างเหมาะสมกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น การสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติ พฤติกรรมบริการที่ดี

การกำหนดปัจจัยตารางอิสระภาพ การให้บริการห้องสมุดอย่างมีคุณภาพ: Input จำนวนบรรณารักษ์ คุณลักษณะของบรรณารักษ์ บริเวณหรือห้องให้บริการ ประเภทและจำนวนของหนังสือและสื่อต่างๆ งบประมาณที่ใช้ในการทำงาน อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานหรือเครื่องมือต่างๆ

การกำหนดปัจจัยตารางอิสระภาพ การให้บริการห้องสมุดอย่างมีคุณภาพ: Process การจัดทำบัตรสมาชิก การต้อนรับผู้มาใช้บริการ การให้บริการยืมหนังสือ การให้บริการคืนหนังสือ การซ่อมบำรุงหนังสือ การประชาสัมพันธ์การใช้ห้องสมุด

การกำหนดปัจจัยตารางอิสระภาพ การให้บริการห้องสมุดอย่างมีคุณภาพ: Result ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ความครอบคลุมของผู้ใช้บริการ การมาใช้บริการซ้ำของผู้ใช้บริการ การได้รับการยอมรับจากชุมชน การชำรุดหรือสูญหายของหนังสือที่ให้บริการ ความทันสมัยของหนังสือที่มีให้บริการ

การกำหนดปัจจัยตารางอิสระภาพ การให้บริการห้องสมุดอย่างมีคุณภาพ: Competency พฤติกรรมบริการ การให้บริการยืมหรือคืนหนังสือ การสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้บริการ การสื่อสารหรือการประชาสัมพันธ์ การมุ่งความสำเร็จของงาน การดูแลหนังสือหรือสื่อต่างๆในห้องสมุด

ร.พ. ที่ 1 กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA   เริ่มต้น (ระดับ 1) พอใช้ (ระดับ2) ดี ( ระดับ3) ดีมาก (ระดับ4) ดีเยี่ยม (ระดับ5) 1. การทบทวนขณะดูแลผู้ป่วย 2. การทบทวนความคิดเห็น/คำร้องเรียนของ ผู้รับบริการ 3. การทบทวนการส่งต่อ/ขอย้าย/ปฏิเสธการรักษา 4. การทบทวนการตรวจรักษาโดยผู้ชำนาญกว่า 5. การค้นหาและป้องกันความเสี่ยง 6. การป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล 7. การป้องกันและเฝ้าระวังความคลาดเคลื่อนทางยา 8. การทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ 9. การทบทวนความสมบูรณ์ของการบันทึกเวชระเบียน 10. การทบทวนการใช้ข้อมูลวิชาการ 11. การทบทวนการใช้ทรัพยากร 12. การติดตามเครื่องชี้วัดสำคัญ กรอบแนวคิดการประเมินตนเองตามบันไดขั้นที่ 1 สู่ HA (Self Assessment Framework for HA) ร.พ. ที่ 1

แผนภูมิแม่น้ำ (River Diagram) แกนนอน (X) เป็นปัจจัยแห่งความสำเร็จ แกนตั้ง (Y) เป็นค่าระดับที่แต่ละแห่งประเมินได้ ลากเส้นเชื่อมจุดแต่ละจุดที่ประเมินได้ในแต่ละปัจจัยของแต่ละหน่วยงาน เปรียบเทียบคะแนนประเมินสูงที่สุดและต่ำที่สุดของแต่ละหน่วยงานในแต่ละปัจจัย ลากเส้นเชื่อมจุดสุงสุดของทุกปัจจัย และต่ำสุดของทุกปัจจัย แล้วแปลผลที่ได้???

ระดับปัจจุบันของ รพ.ที่ 1 และรพ.อื่นๆ

ระดับที่แตกต่างของแต่ละองค์ประกอบ

“ธารปัญญา” แสดงระดับปัจจุบันของ รพ. ที่ 1 เมื่อเทียบกับกลุ่ม

ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล ช่องว่าง (Gap) ระหว่างระดับที่เป็นเป้าหมาย (Target) กับระดับปัจจุบัน (Current) ในเรื่องการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาล Target Current

แผนภูมิขั้นบันได(Stair diagram) ๑ แผนภูมิขั้นบันได คือ ๑ ปัจจัยที่ใช้เปรียบเทียบกันของทุกหน่วยงาน ทุกหน่วยงานประเมินตนเองโดยอิสระว่า ณ ปัจจุบันหน่วยงานของตนเองทำได้ในระดับไหน (ปัจจุบัน) และในอนาคตข้างหน้าจะพัฒนาไปจนถึงระดับไหน (ความใฝ่ฝัน/เป้าหมายอนาคต) นำค่าอนาคตลบด้วยค่าปัจจุบันเพื่อหาช่องว่างหรือโอกาสในการพัฒนา แปลผลที่ได้เพื่อกำหนดหาผู้พร้อมให้และผู้ใฝ่รู้ นำมาจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน

6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7 GAP ( = Target minus Current) 5 4 3 2 1 LEVEL พร้อมให้ 6. การป้องกันและเฝ้าระวัง การติดเชื้อในโรงพยาบาล ร.พ.7 ร.พ.2, 8 ร.พ.5, 9 ใฝ่รู้ ร.พ.6 ร.พ.1 ร.พ.3 ร.พ.4 ร.พ.10, 11

เครื่องมือชุดธารปัญญา “ True success exists not in learning, but in its application to the benefit of mankind” สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก องค์พระบิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันของไทย “ความสำเร็จที่แท้จริงมิได้อยู่ที่การเรียนรู้ หากแต่อยู่ที่การนำมาประยุกต์ใช้ เพื่อคุณประโยชน์แก่มนุษยชาติ” Tel. 081 8889011 e-mail : tingbanyati@yahoo.com , www.practicallykm.gotoknow.org