เทคนิคในการทำคู่มือ สำหรับยื่นขอชำนาญการ
ไม่รู้จะเขียนคู่มือเกี่ยวกับอะไร? - งานที่ทำอยู่ทุกวัน - ปัญหาที่เจอบ่อยๆ - อะไรที่เราอยากถ่ายทอดให้คนอื่นรู้ - ถ้าเราไม่มาทำงานแล้วคนอื่นทำแทนได้
ไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง? - เขียนตามโครงร่างคู่มือ ช่วยได้มากๆ
โครงร่างคู่มือปฏิบัติงานหลัก
บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ บทที่ 1. บทนำ บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ บทที่ 3. หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน และเงื่อนไข บทที่ 4. เทคนิคในการปฏิบัติงาน บทที่ 5. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไข และพัฒนางาน
บทที่ 1. บทนำ - ความเป็นมา/ความจำเป็น/ความสำคัญ - วัตถุประสงค์ - ขอบเขต - นิยามศัพท์เฉพาะ/คำจำกัดความ
วัตถุประสงค์?? เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ ของหน่วยงาน เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับผู้บริหารในการติดตามงาน/บริหารงาน เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่น เป็นเครื่องมืออ้างอิงให้บุคลากรสามารถทำงานทดแทนกันได้ ลดข้อผิดพลาดในการทำงาน อื่นๆ
ขอบเขต ทำให้ใครใช้ คู่มือนี้สำหรับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในตำแหน่ง..... ในคู่มือมีอะไร คู่มือนี้ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง เช่นเขียนว่า คู่มือนี้ประกอบด้วยวิธีการใช้งาน.... และแนวทางการแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา เพื่อให้.... สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตลอดจนนำเสนอข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อเป็น ประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องและเป็นแนวทาง ในการพัฒนางานให้เกิดประสิทธิภาพต่อไป
ขอบเขต ตัวอย่าง คู่มือปฏิบัติงานการใช้บริการสำหรับผู้มาขอตรวจ Menuscript
- นิยามศัพท์เฉพาะ /คำจำกัดความ ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ศึกษาหรือใช้คู่มือทราบถึงคำจำกัดความต่างๆ ที่มีอยู่ในคู่มือนี้ คำศัพท์เฉพาะที่มีในคู่มืออาจจะเป็นภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศหรือคำย่อ เป็นต้น
บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ - บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่ง - ลักษณะงานที่ปฏิบัติ - โครงสร้างการบริหารจัดการ
บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ อธิบายให้ทราบถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีอยู่ในคู่มือนี้ โดยแยกเป็นหน้าที่ของหน่วยงาน และหน้าที่ของตำแหน่งนั้นๆ
บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
บทที่ 2. บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
บทที่ 3. หลักเกณฑ์วิธีการ ปฏิบัติงานและเงื่อนไข กฏ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 4. เทคนิคในการปฏิบัติงาน - กิจกรรม/แผนปฏิบัติงาน - ขั้นตอนการปฏิบัติงาน - วิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน - จรรยาบรรณ/คุณธรรม/จริยธรรมในการปฏิบัติงาน
บทที่ 4. เทคนิคในการปฏิบัติงาน - กิจกรรม/แผนปฏิบัติงาน
บทที่ 4. เทคนิคในการปฏิบัติงาน - กิจกรรม/แผนปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม
บทที่ 5. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางาน - ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ยกตัวอย่างกรณีศึกษา - แนวทางแก้ไขและพัฒนา - ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางาน มีปัญหาอะไร ? พบแล้วแก้ไขด้วยวิธีการอย่างไร ผลเป็นอย่างไร ผู้เขียนควรที่จะเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา แนวทางการพัฒนางานหรือปรับปรุงงานและข้อเสนอแนะ
บทที่ 5. ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางาน
บรรณานุกรม ภาคผนวก (ถ้ามี)
ภาคผนวก - แบบสอบถาม - แบบสัมภาษณ์ - ตัวอย่างแบบฟอร์ม เป็นต้น ภาคผนวกหมายถึงส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานที่เขียน แต่ไม่ใช่เนื้อหาของงาน เป็นส่วนที่นำมาเพิ่มเพื่อให้เข้าใจง่ายแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น จะมีหรือไม่แล้วแต่ความจำเป็น ภาคผนวกมักประกอบไปด้วย - แบบสอบถาม - แบบสัมภาษณ์ - ตัวอย่างแบบฟอร์ม เป็นต้น
สิ่งที่ทำให้คู่มือมีคุณค่าและ ถือเป็นการเขียนทางวิชาการ เพื่อให้ได้ตำแหน่งสูงขึ้นไป คือ เพิ่มเทคนิควิธีการ ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานมานานเข้าไป
ผลงานที่เสนอขอตำแหน่ง เสนอผลงานอย่างน้อย 3 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดี” และ มีผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง ซึ่งผู้ขอแต่งตั้งเป็นผู้ดำเนินการหลักหรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author โดยไม่กำหนดจำนวนร้อยละการมีส่วนร่วม
ผลงานต้องประกอบด้วย กลุ่มวิชาชีพเฉพาะหรือกลุ่มสนับสนุนวิชาการ เสนอผลงาน 1. คู่มือปฏิบัติงาน หรืองานวิเคราะห์หรืองานสังเคราะห์้ อย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. งานวิจัย หรือบทความทางวิชาการ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย (เอกสารประกอบการบรรยาย จำนวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1 เรื่อง) หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น กลุ่มสนับสนุนทั่วไป เสนอผลงาน 1. งานวิเคราะห์หรืองานสังเคราะห์้ อย่างน้อย 1 เรื่อง และ 2. คู่มือปฏิบัติงาน หรืองานวิจัย หรือบทความทางวิชาการ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย (เอกสารประกอบการบรรยาย จำนวน 3 หัวข้อเทียบได้กับ 1 เรื่อง) หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
ตัวอย่างผลงานของผู้เสนอขอตำแหน่งสูงขึ้น(สายสนับสนุน) http://intranet.mahidol/op/orpr/Newhrsite/knowledge/article.html
ค่อยๆ เพิ่มวันละหน่อย หากไม่ละความพยายามคู่มือเสร็จแน่นอนค่ะ ค่อยๆ ทำวันละนิด ค่อยๆ เพิ่มวันละหน่อย หากไม่ละความพยายามคู่มือเสร็จแน่นอนค่ะ