งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทของสายสนับสนุนในการพัฒนายกระดับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทของสายสนับสนุนในการพัฒนายกระดับ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทของสายสนับสนุนในการพัฒนายกระดับ
คุณภาพมหาวิทยาลัย ด้วยการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน

2 รับเงินเดือนแตกต่างกัน
พนักงานมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ กลุ่มวิชาชีพเฉพาะและสนับสนุนวิชาการหรือสนับสนุนทั่วไป (ระดับปฏิบัติการ) 2 ปี ผู้เชี่ยวชาญ 3 ปี การแต่งตั้งตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญ 2 ปี ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ผลการประเมินปริมาณงาน คุณภาพงานในหน้าที่ ผลการประเมินสมรรถนะ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพของผลงาน การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุนฯ การเป็นที่ยอมรับนับถือในวงวิชาการหรือวิชาชีพ ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญพิเศษ 5 เรื่อง และมีผลงานอย่างน้อย 3 เรื่อง ที่ผู้เสนอขอเป็นผู้ดำเนินการหลักหรือเป็นชื่อแรกหรือเป็น Corresponding Author และมีส่วนร่วมในผลงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 และมีผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดีเด่น” และอย่างน้อย 3 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดีมาก ” กลุ่มวิชาชีพเฉพาะและสนับสนุนวิชาการ ประกอบด้วย งานวิจัย 2 เรื่อง มีคุณภาพ “ดีเด่น” และ งานวิเคราะห์ หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 3 เรื่อง มีคุณภาพ“ดีมาก” กลุ่มสนับสนุนทั่วไป ประกอบด้วย งานวิจัย 2 เรื่อง มีคุณภาพ “ดีเด่น” และ งานวิเคราะห์ หรือบทความ ตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 3 เรื่อง มีคุณภาพ “ดีมาก” ผู้ชำนาญการพิเศษ 5/3/2 ปี การแต่งตั้งตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญ ดำรงตำแหน่งชำนาญการพิเศษ 3 ปี ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ผลการประเมินปริมาณงาน คุณภาพงานในหน้าที่ ผลการประเมินสมรรถนะ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพของผลงาน การใช้ความรู้ความสามารถในงานสนับสนุนฯ ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ 4 เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดีมาก” และมีผลงานอย่างน้อย 3 เรื่อง ซึ่งผู้เสนอขอแต่งตั้งเป็นผู้ดำเนินการ หลักหรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author กลุ่มวิชาชีพเฉพาะและสนับสนุนวิชาการ ประกอบด้วยงานวิจัย 1 เรื่อง และ งานวิเคราะห์ หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 3 เรื่อง กลุ่มสนับสนุนทั่วไป จำนวน 4 เรื่อง ประกอบด้วยงานวิจัย 1 เรื่อง และ งานวิเคราะห์ หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 3 เรื่อง ระดับปฏิบัติการ การแต่งตั้งตำแหน่งผู้ชำนาญการพิเศษ ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง 5/3/2 ปี ตามลำดับ ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ผลการประเมินปริมาณงาน คุณภาพงานในหน้าที่ ผลการประเมินสมรรถนะ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพของผลงาน ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการพิเศษ จำนวน เรื่อง มีคุณภาพในระดับ “ดี” และมีผลงานอย่างน้อย 2 เรื่อง ที่ผู้เสนอขอเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือ เป็น Corresponding Author กลุ่มวิชาชีพเฉพาะและสนับสนุนวิชาการ ประกอบด้วยคู่มือหรืองานวิเคราะห์ และ งานวิจัย หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น กลุ่มสนับสนุนทั่วไป จำนวน 3 เรื่อง ประกอบด้วยงานวิเคราะห์ และ งานวิจัย หรือ คู่มือ หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ระดับแรกบรรจุ รับเงินเดือนแตกต่างกัน ตามคุณวุฒิ (ตรี/โท/เอก) 2

3 รับเงินเดือนแตกต่างกัน
พนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งประเภทสนับสนุนทั่วไป (ระดับช่วยปฏิบัติการ) ผู้เชี่ยวชาญ* ผู้ชำนาญงานพิเศษ การแต่งตั้งตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญ* * มหาวิทยาลัยเปิดโอกาสให้กลุ่มสนับสนุนทั่วไป (ระดับช่วยปฏิบัติการ) มีโอกาสก้าวหน้าในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญได้ แต่ต้องผ่านการพิจารณาและกลั่นกรองจากคณะกรรมการของส่วนงาน และคณะกรรมการประเมินของมหาวิทยาลัย โดยพิจารณาจากภาระงานหลัก ลักษณะงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ ความรู้ ความสามารถและความเหมาะสม รวมทั้งประสบการณ์ และความยุ่งยากของงานในตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นถึงขนาดต้องกำหนดตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้น ดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญงานพิเศษมาแล้ว 3 ปี ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ผลการประเมินปริมาณงาน คุณภาพงานในหน้าที่ ผลการประเมินสมรรถนะ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพของผลงาน ผลงานที่แสดงความเป็นผู้เชี่ยวชาญ 4 เรื่อง ซึ่งผู้เสนอขอแต่งตั้งเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author และมีคุณภาพในระดับ“ ดีมาก” ประกอบด้วย งานวิจัย อย่างน้อย 1 เรื่อง และ งานวิเคราะห์ หรือคู่มือปฏิบัติงาน หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น 3 เรื่อง ผู้ชำนาญงาน การแต่งตั้งตำแหน่งผู้ชำนาญงานพิเศษ ดำรงตำแหน่งผู้ชำนาญงานมาแล้ว 5 ปี ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ผลการประเมินปริมาณงาน คุณภาพงานในหน้าที่ ผลการประเมินสมรรถนะ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพของผลงาน ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญงานพิเศษ 3 เรื่อง ซึ่งผู้เสนอขอแต่งตั้งเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author และมีคุณภาพในระดับ “ดี” ประกอบด้วย งานวิเคราะห์ และ งานวิจัย หรือคู่มือปฏิบัติงาน หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ระดับช่วยปฏิบัติการ การแต่งตั้งตำแหน่งผู้ชำนาญงาน ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยมหิดล มาแล้ว 10 ปี และอยู่ในตำแหน่งนั้นมาแล้ว 5 ปี ผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ผลการประเมินปริมาณงาน คุณภาพงานในหน้าที่ ผลการประเมินสมรรถนะ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพของผลงาน ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญงาน 2 เรื่อง ซึ่งผู้เสนอขอแต่งตั้งเป็นผู้ดำเนินการหลัก หรือเป็นชื่อแรก หรือเป็น Corresponding Author และมีคุณภาพในระดับ “ ดี ” ประกอบด้วย คู่มือปฏิบัติงาน หรืองานวิเคราะห์ หรืองานวิจัย หรือบทความ หรือตำรา หรือหนังสือ หรืองานแปล หรือเอกสารประกอบการบรรยาย หรือผลงานทางวิชาการ ในลักษณะอื่น ระดับแรกบรรจุ รับเงินเดือนแตกต่างกัน ตามคุณวุฒิ (ปวช./ปวท./ปวส.)

4 คู่มือปฏิบัติงาน หมายถึง
เอกสารที่ใช้ประกอบการปฏิบัติงานใดงานหนึ่ง ที่กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง มีคำอธิบายงานที่ปฏิบัติ ประวัติความเป็นมา มีแผนกลยุทธ์การปฏิบัติงาน กำหนดตัวชี้วัด/ การประเมินผล แต่ละบท/เรื่อง/หัวข้อต้องมีหลักความคิด วัตถุประสงค์ และเนื้อหาสาระที่มีความสมบูรณ์ เนื้อหาในแต่ละเรื่อง มีกฎ ระเบียบ พระราชบัญญัติ หนังสือเวียน มติต่างๆ เอกสารที่เกี่ยวข้อง หลักเกณฑ์และวิธีการ เทคนิคหรือแนวทางในการปฏิบัติงาน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข ข้อเสนอแนะ ทั้งนี้ต้องใช้ประกอบการปฏิบัติงานมาแล้ว และต้องจัดทำเป็นรูปเล่ม

5 ความสำคัญของคู่มือการปฏิบัติงาน
ใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานที่สร้างความเข้าใจตรงกัน ใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่ศึกษาด้วยตนเอง ใช้เป็นเครื่องมือประกันคุณภาพ ทำให้การทำงานเป็นระบบ ใช้ในการบริหารจัดการ/การวิเคราะห์ระบบงาน *** ส่วนราชการส่วนใหญ่ให้ถือว่าคู่มือปฏิบัติงานเป็นผลงานทางวิชาการ

6 ลักษณะคู่มือการปฏิบัติงานที่ดี
กระชับ ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน เหมาะสมกับผู้ใช้ น่าสนใจ น่าติดตาม เป็นปัจจุบัน ระบุผู้ทำ วันที่..ที่ใช้ และมีตัวอย่างประกอบ *** หากระบุได้ว่านำไปปฏิบัติจริงตั้งแต่เมื่อใดที่หน่วยงานใด มีปัญหาอย่างไร ได้แก้ไขมาแล้วอย่างไร ทำให้มีน้ำหนักมากขึ้น

7 วัตถุประสงค์ของการทำคู่มือการปฏิบัติงาน
เพื่อจัดคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงถึงขั้นตอนการปฏิบัติงานของงาน……. และสื่อให้เห็นกระบวนการของงาน…….ตามมาตรฐาน เพื่อใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ 7

8 การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
ทำคู่มือการปฏิบัติงานทำไม? ผลงานวิชาการประกอบการต่อสัญญาจ้างตั้งแต่ระยะที่ 2 เพื่อขอชำนาญการ / ชำนาญการพิเศษ รายงานประกันคุณภาพ QA 8

9 ทำคู่มือการปฏิบัติงานเพื่ออะไร
การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานถือเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่ง - สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน - มุ่งไปสู่การบริหารคุณภาพของงานอย่างมีประสิทธิภาพ - เพื่อให้การทำงานของหน่วยงานได้มาตรฐาน ตามเป้าหมาย - ได้ผลิตผลหรือการบริการที่มีคุณภาพ - เสร็จรวดเร็วทันตามกำหนดเวลา/การทำงานปลอดภัย ไม่ผิดพลาด บรรลุความสำเร็จ 9

10 โปรแกรมการรายงานการใช้เงิน โปรแกรมการรับ - จ่ายเงิน
การทำผลงานสำหรับผู้ที่เลื่อนระดับตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานบริหาร คู่มือปฏิบัติงาน ได้แก่ การจัดเก็บเอกสาร ประกันคุณภาพ โปรแกรมการรายงานการใช้เงิน โปรแกรมการรับ - จ่ายเงิน โปรแกรมการนำเสนอหนังสือ โปรแกรมการสืบค้นไปรษณียภัณฑ์ 10

11 คู่มือการปฏิบัติงาน ( Work Manual)
องค์ประกอบคู่มือปฏิบัติงาน โครงร่างคู่มือ เทคนิคและแนวทาง การเขียนคู่มือ ความหมายคู่มือ ระดับของคู่มือ ความสำคัญคู่มือ ประเภทคู่มือ ลักษณะคู่มือ แนวทางการจัดทำคู่มือ

12 แนวทางการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน
เขียนเป็นบท อย่างน้อย 5 บท เป็นเรื่องที่สามารถใช้ประโยชน์ พัฒนางาน ทำให้ลดขั้นตอน เวลา ในการทำงาน (Lean) เป็นภาระงานที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจ มีความชำนาญในเรื่องนั้นเป็นอย่างดี สามารถนำไปปฏิบัติและทำงานได้ *** ยกตัวอย่างที่ปฏิบัติได้ / ปฏิบัติไม่ได้

13 ประเภทคู่มือการปฏิบัติงาน
คู่มือที่ให้ความรู้

14 คู่มือปฏิบัติงานมี 3 ระดับ
คู่มือปฏิบัติงานมี 3 ระดับ Manual Book เป็นคู่มือที่นำเอา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน มติ หนังสือตอบข้อหารือที่เกี่ยวข้องรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ ทำรูปเล่ม Tip Book เป็นคู่มือที่ลักษณะเหมือนระดับ 1 ระดับ 2 แต่เพิ่มเทคนิค ประสบการณ์ในสาขาวิชาชีพ Cook Book เป็นคู่มือที่มีลักษณะเหมือนระดับ 1 แต่เพิ่มขั้นตอน วิธีการปฏิบัติงาน

15 เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
ให้ทำคู่มือตรงกับภาระงาน กำหนดชื่อเรื่อง ต้องเน้นกลุ่มผู้ใช้ เช่น คู่มือกิจกรรมนักศึกษา/คู่มือหอพักนักศึกษา กำหนดโครงเรื่อง มีขอบเขต /กรอบการเขียน กำหนดเนื้อหา/การนำเสนอ ต้องมีความถูกต้อง ทันสมัย สมบูรณ์ อธิบายเนื้อหาโดยใช้ภาษาวิชาการ ส่วนประกอบรูปเล่ม ต้องประกอบด้วย ส่วนนำ เนื้อหา (บท)รายละเอียด รูป/ตาราง(ถ้ามี) บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติ

16 แนวทางการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน
ขั้นที่ 1 วิเคราะห์งานที่ปฏิบัติ งานอะไรบ้างที่ทำ ขั้นตอน ปัจจัยที่ใช้ หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ปัญหา/สาเหตุ ในการปฏิบัติงาน อะไรบ้าง แยกปัญหาเป็นข้อย่อย (คน /กฎ/ระเบียบ) ขั้นที่ 4 ขั้นวางแผนกำหนดโครงร่าง ทำสารบัญ เนื้อหา ขั้นที่ 3 วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขจากปัญหา/สาเหตุขั้นที่ 2 คือ คน/กฎ/ระเบียบ

17 ขั้นตอนในการจัดทำคู่มือ
- กำหนดหัวเรื่องที่จะทำรวบรวมและศึกษารายละเอียดเอกสารที่เกี่ยวข้อง - จัดทำ Work Flow - เขียนรายละเอียดในแต่ละขั้นตอน - ทดสอบ - ปรับปรุง เผยแพร่ ใช้งานจริง - ประเมิน และปรับปรุง ให้เป็นปัจจุบัน

18 โครงร่างคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคในการปฏิบัติงาน - แผนกลยุทธ์ในการปฏิบัติงาน - ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Flow Chart) - วิธีการให้บริการกับผู้รับบริการมีความพึงพอใจ - การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน - จรรยาบรรณ/จิตสำนึกในการปฏิบัติงาน โครงร่างคู่มือการปฏิบัติงาน เสถียร คามีศักดิ์ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข - ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน - แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน - ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 1 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา - หลักเกณฑ์/วิธีการดำเนินงาน - สิ่งที่ควรคำนึงในการปฏิบัติงาน/ข้อควรระวัง/ข้อสังเกต - กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน มติ ที่เกี่ยวข้อง - เอกสาร และงานวิจัย/แนวคิดที่เกี่ยวข้อง บทนำ - ความเป็นมา /ความสำคัญ (ภูมิหลัง) - วัตถุประสงค์ของการศึกษา - ประโยชน์ของการศึกษา - ขอบเขตของการศึกษา บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ - ลักษณะงานที่ปฏิบัติ - หน้าที่ความรับผิดชอบ/บทบาทของตำแหน่ง - โครงสร้างการบริหารจัดการ

19 โครงร่างคู่มือการปฏิบัติงาน
เทคนิคในการปฏิบัติงาน - ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Flow Chart) - การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน - จรรยาบรรณ/จิตสำนึกในการปฏิบัติงาน โครงร่างคู่มือการปฏิบัติงาน จิตต์อารีย์ กนกนิรันดร ปัญหาและข้อเสนอแนะ - ปัญหาในการปฏิบัติงาน - แนวทางแก้ไขและพัฒนางาน - ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 1 บทที่ 2 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติ - หลักเกณฑ์/การปฏิบัติงาน วิธีการปฏิบัติงาน เงื่อนไข /ข้อสังเกต/สิ่งที่ควรคำนึงในการปฏิบัติงาน บทนำ - ความเป็นมา วัตถุประสงค์การศึกษา - ขอบเขตการศึกษา - นิยามศัพท์หรือคำจำกัดความ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ -โครงสร้างการบริหารจัดการ บทบาทความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

20 โครงร่างคู่มือการปฏิบัติงาน
กรณีตัวอย่างศึกษา กรณีศึกษา กรณีศึกษา กรณีศึกษา การยกตัวอย่างควรยกให้เห็น 2 ด้าน คือกรณีที่ ”ถูก” หรือ “ทำได้ ”และกรณีที่ “ผิด” หรือ “ทำไม่ได้ “ โครงร่างคู่มือการปฏิบัติงาน เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ - ปัญหาและอุปสรรคการใช้คู่มือ แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน แนวทางพัฒนางานหรือปรับปรุงงาน - ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 1 บทที่ 2 กฎ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์ มาตรฐาน วิธีการวิเคราะห์ - กฎ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์มาตรฐาน การรวบรวมข้อมูล วิธีการคำนวณ/วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ - ความเป็นมาและความสำคัญคู่มือ - วัตถุประสงค์ - ประโยชน์ที่ได้รับ ขอบเขตของคู่มือ คำจำกัดความ ข้อตกลงเบื้องต้น โครงสร้างและหน้าที่รับผิดชอบ - โครงสร้างหน่วยงาน/บริหาร/อัตรากำลัง -บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

21 คู่มือการปฏิบัติงานบุคลากรหอพัก
เทคนิคในการปฏิบัติงาน แนวทางการพัฒนางานหอพักนักศึกษา แผนยุทธศาสตร์ 1 ปี แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี คู่มือการปฏิบัติงานบุคลากรหอพัก อัมพร อรุณศรี ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข - ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงาน - แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน - ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก บทที่ 3 บทที่ 4 บทที่ 5 บทที่ 1 บทที่ 2 มาตรฐานงานหอพักนักศึกษา - มาตรฐานครุภัณฑ์ใน/นอกห้องพักและอื่น ๆ มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Flow Chart) บทนำ -หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ - ขอบเขตของคู่มือ - ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ประโยชน์ของคู่มือ) โครงสร้างงานหอพักนักศึกษา - วิสัยทัศน์/พันธกิจ/ยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์ - บทบาทหน้าที่การบริหารงานหอพักนักศึกษา - ระเบียบหอพักไทย/อังกฤษ 21

22 เกณฑ์การประเมินคู่มือ
คุณค่าคู่มือมีประโยชน์ เชื่อถือได้ เสนอแนวคิดผู้เขียน ความถูกต้องและทันสมัย ใช้ภาษาถูกต้อง ครอบคลุมข่ายขอบข่ายทุกหัวข้อ ศึกษา ค้นคว้า สนับสนุนคู่มือ จัดเรียงลำดับเนื้อหา รูปแบบการเขียน 22

23 คู่มือการปฏิบัติงาน งานวิจัย บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 บทบาทและหน้าที่ความ รับผิดชอบ บทที่ 3 หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน/เงื่อนไข บทที่ 4 เทคนิคในการปฏิบัติงาน บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรค/แนวทางการแก้ไขและพัฒนางาน •ภาคผนวก •บรรณานุกรม บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล • ภาคผนวก • บรรณานุกรม

24 เกณฑ์ในการพิจารณา คู่มือปฏิบัติงาน งานวิจัย
ดี เนื้อหาสาระถูกต้อง สมบูรณ์ทันสมัย มีแนวคิด และนำเสนอที่ชัดเจน มีการเสนอความรู้/ วิธีการทันต่อความก้าวหน้า คุณภาพการใช้งาน ถูกต้องชัดเจน สามารถนำไปใช้อ้างอิง/ ปฏิบัติได้ และมีประโยชน์ต่อการพัฒนา งานในหน้าที่ คู่มือปฏิบัติงาน ดี ตรงตามวัตถุประสงค์ กระบวนการถูกต้องตาม หลักวิชาการและนำไปปฏิบัติใช้มีประโยชน์ ต่อการพัฒนางาน งานวิจัย

25 เกณฑ์ในการพิจารณา(ต่อ)
ดีมาก ก่อให้เกิดความรู้ใหม่/เทคนิควิธีการใหม่และเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาระบบมาตรฐานงาน คู่มือปฏิบัติงาน ดีเด่น บุกเบิกใหม่ / กระตุ้นให้เกิดความคิดค้นคว้าต่อเนื่อง / เป็นที่เชื่อถือยอมรับในวงวิชาชีพ ดีมาก ก่อให้เกิดความรู้ใหม่/เทคนิควิธีการใหม่และเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาระบบมาตรฐานของงาน งานวิจัย ดีเด่น บุกเบิกใหม่ / กระตุ้นให้เกิดความคิด ค้นคว้าต่อเนื่อง / เป็นที่เชื่อถือยอมรับในวงวิชาชีพ

26 ความสำเร็จ Goals ก้าวไกลด้วยผลงาน สานฝันพิชิตชัย มุ่งสู่แผนงาน
เพิ่มพูนความรู้ ใฝ่หาข้อมูล มุ่งมั่นทำใจ บันไดสู่ความสำเร็จ

27 ตัวอย่างหัวข้อ ผลงานวิชาการ คู่มือการปฏิบัติงาน งานวิจัย
ตัวอย่างหัวข้อ ผลงานวิชาการ คู่มือการปฏิบัติงาน งานวิจัย

28 นักวิชาการคอมพิวเตอร์
คู่มือ : การใช้โปรแกรมทรานสคริปกิจกรรมนักศึกษา

29 บุคลากร คู่มือ : การกำหนดและเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ
เชี่ยวชาญพิเศษ สายสนับสนุน วิจัย/วิเคราะห์ : วิเคราะห์การ เข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ

30 นักวิชาการเงินและบัญชี
คู่มือ : การบริหารงบประมาณ ตามระเบียบว่าด้วยการบริหาร งบประมาณ พ.ศ.2548 งานวิจัย/วิเคราะห์ :การโอน งบประมาณรายจ่าย ของกอง .... งบประมาณ พ.ศ.2548 งานวิจัย/วิเคราะห์ :การ เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายของกอง...

31 นักวิชาการพัสดุ คู่มือ : การจัดซื้อ-จัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกฯ
พ.ศ.25.. วิจัย/วิเคราะห์ :วิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง ของคณะ....

32 นักวิชาการศึกษา วิจัย/วิเคราะห์ :การตกออกซ้ำชั้นของนักศึกษาคณะ.......
คู่มือ : การวิเคราะห์ การ ตกออกซ้ำชั้นของนักศึกษา วิจัย/วิเคราะห์ :การตกออกซ้ำชั้นของนักศึกษาคณะ คู่มือ : การวิเคราะห์/ประเมินหลักสูตร วิจัย/ วิเคราะห์ :การประเมิน ผลหลักสูตร ของคณะ... คู่มือ : การศึกษา/การวิเคราะห์ ประสิทธิภาพการผลิตบัณฑิต วิจัย/วิเคราะห์ :การศึกษา ประสิทธิภาพการผลิตบัณฑิต ของคณะ......

33 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
คู่มือ : การจัดประชุม สัมมนา วิจัย/วิเคราะห์ : ประเมินผลการจัดประชุมสัมมนาของ วิจัย : การประเมินผลโครงการ คู่มือ : การจดบันทึกรายงานการประชุม วิจัย/ วิเคราะห์ : วิเคราะห์ บันทึกรายงานการประชุมของ กรรมการประจำคณะ

34 นักแนะแนวการศึกษา/นักวิเทศสัมพันธ์
คู่มือ : ทุนการศึกษาของ...... วิจัย/วิเคราะห์ : วิเคราะห์การทุนการศึกษาปีการศึกษา คู่มือ : การนำเสนอผลงานทางวิชาการในต่างประเทศ วิจัย/วิเคราะห์ : ประเมินผลการนำเสนอผลงานในต่างประเทศ ของ......

35 นิติกร คู่มือ : การสอบสวน และดำเนินการเกี่ยวกับวินัยนักศึกษา
วิจัย/วิเคราะห์ : การดำเนินการทางวินัยนักศึกษาปีการศึกษา

36 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
คู่มือ : การวิเคราะห์เพื่อกำหนด ตำแหน่งอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา วิจัย/วิเคราะห์ : ความต้องการอาจารย์ของ คณะ... ในแผนฯ 10(พศ ) คู่มือ : การวิเคราะห์เพื่อกำหนดตำแหน่งสายสนับสนุน วิจัย/วิเคราะห์ : ความต้องการบุคลากรสายสนับสนุน ของคณะ......ในแผนฯ 10 (พ.ศ )

37 ฝากถึงทุกคน เพราะแสวงหา. มิใช่เพราะรอคอย เพราะเชี่ยวชาญ
ฝากถึงทุกคน เพราะแสวงหา มิใช่เพราะรอคอย เพราะเชี่ยวชาญ มิใช่เพราะโอกาส เพราะสามารถ มิใช่เพราะโชคช่วย ดังนั้นแล้ว “ลิขิตฟ้าหรือจะสู้มานะตน” * ขอให้ทุกคนโชคดีและมีความก้าวหน้า ในชีวิตการงานทุกคน* 37


ดาวน์โหลด ppt บทบาทของสายสนับสนุนในการพัฒนายกระดับ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google