บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การดำเนินงานโครงการ เมื่อได้รับอนุมัติงบประมาณ
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
โครงการประชุมทางวิชาการสายวิทยาการปลัดบัญชี
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Seminar 1-3.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ฝ่ายการดำเนินงานในโรงแรม
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบเอกสาร
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
วาระที่ 3.1 ผลเบิกจ่ายงบลงทุน
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ประชุมบุคลากรศูนย์อนามัยที่ 4
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา

องค์ประกอบของการสัมมนา 1. ด้านเนื้อหา 2. ด้านบุคลากร 3. ด้านสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ 4. ด้านเวลา 5. ด้านงบประมาณ

องค์ประกอบด้านเนื้อหา สาระหรือเรื่องราวที่จะนำมาจัดสัมมนา ประกอบด้วย 1.1 จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา ต้องเขียนให้ชัดเจน, มักกำหนดเพื่อให้ ได้สาระอย่างใดอย่างหนึ่ง

องค์ประกอบด้านเนื้อหา เช่น เพื่อร่วมกันพิจารณา หาข้อสรุปจากผลงาน ค้นคว้าวิจัย เพื่อให้ได้แนวทางแก้ปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

องค์ประกอบด้านเนื้อหา 1.2 เรื่องที่จะนำมาจัดสัมมนา ควรเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาปัญหา และ แนวทางแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับงาน หรือเรื่องที่ กำลังศึกษาอยู่ มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาวะของสังคม

องค์ประกอบด้านเนื้อหา สามารถกำหนดปัญหาได้ เป็นเรื่องที่ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป ควรกำหนด “ชื่อเรื่อง” ที่มีลักษณะสั้น กะทัดรัด กระชับ เข้าใจง่าย ชัดเจน และตรง ความหมาย

องค์ประกอบด้านเนื้อหา 1.3 หัวข้อเรื่อง – เพื่อเป็นกรอบของ แนวความคิดของเรื่องที่สัมมนา 1.4 กำหนดการสัมมนา - ควรระบุ ชื่อหน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคล ผู้ดำเนินการสัมมนา

องค์ประกอบด้านเนื้อหา ชื่อเรื่องสัมมนา วัน เดือน ปี (ที่จัดสัมมนา) เวลา สถานที่ 1.5 ผลที่ได้จากการสัมมนา – ได้รับประโยชน์ อะไรบ้าง (ได้ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ)

องค์ประกอบด้านบุคลากร 2.1 บุคลากรฝ่ายจัดการสัมมนา – บุคคลหรือ คณะกรรมการที่มีหน้าที่ในการจัดสัมมนา อาจ แบ่งเป็น ประธาน, รองประธาน, เลขานุการ, ฝ่ายทะเบียน, ฝ่ายเอกสาร,เหรัญญิก,พิธีกร,สถานที่, อาหาร, ประชาสัมพันธ์,ประเมินผล ฯลฯ

องค์ประกอบด้านบุคลากร 2.2 วิทยากร – บุคคลที่ทำหน้าที่บรรยาย อภิปราย หรือถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ ควรเลือกวิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวข้องกับหัวข้อเรื่องที่ใช้ในการสัมมนา 2.3 ผู้เข้าร่วมสัมมนา

องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ 3.1 ห้องประชุมใหญ่ – ห้องประชุมรวมที่ใช้ใน การสัมมนา 3.2 ห้องประชุมย่อย – ห้องประชุมขนาดกลาง หรือเล็ก ควรอยู่ใกล้ห้องประชุมใหญ่ เพื่อความ สะดวกในการประสานงาน

องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ 3.3 ห้องรับรอง – ใช้รับรองวิทยากร แขกพิเศษ ให้ เตรียมตัวก่อนสัมมนา 3.4 ห้องรับประทานอาหารว่าง 3.5 ห้องรับประทานอาหาร 3.6 อุปกรณ์ด้านโสตทัศนูปกรณ์ – ไมค์ลอย, เทปบันทึกเสียง, กล้องถ่ายรูป ฯลฯ

องค์ประกอบด้านเวลา ควรคำนึงถึงในเรื่องต่อไปนี้ 4.1 ระยะเวลาสำหรับเตรียมการ – มีการ วางแผนว่างานแต่ละชิ้นต้องใช้ระยะเวลาในการ ทำเท่าไร เมื่อไรเสร็จ 4.2 การเชิญวิทยากร - เป็นเรื่องสำคัญมาก

องค์ประกอบด้านเวลา 4.3 เวลาที่ใช้ในการสัมมนา – จะมาก 4.3 เวลาที่ใช้ในการสัมมนา – จะมาก หรือน้อย ขึ้นอยู่กับ “เรื่องที่สัมมนา” และ “หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ สัมมนา”

องค์ประกอบด้านงบประมาณ ต้องมีการวางแผนค่าใช้จ่ายให้รอบคอบ ข้อควรคำนึงในการ “จัดทำงบประมาณ” 5.1 ให้แต่ละฝ่ายที่ทำหน้าที่รับผิดชอบทำงาน จัดทำประมาณค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ – เสนอ เหรัญญิกและที่ประชุม - อนุมัติ

องค์ประกอบด้านงบประมาณ 5.2 ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ต้องจัดซื้อ - ควรรู้ราคาซื้อ ขายในตลาดก่อน เพื่อจะได้ไม่ผิดพลาดเมื่อ ประมาณค่าใช้จ่าย,ควรคำนึงถึงค่าใช้จ่ายที่คาด ว่าจะเพิ่มขึ้นได้ อาจใส่ในหมวดเบ็ดเตล็ด

องค์ประกอบด้านงบประมาณ 5.3 การจัดทำงบประมาณ - เมื่อวางแผนเกี่ยวกับ ค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่าย และได้รับความ เห็นชอบจากที่ประชุม ให้จัดทำงบประมาณ รวมทั้งโครงการ แล้วนำไปใส่ในโครงการ เพื่อเสนอฝ่ายบริหารอนุมัติ

องค์ประกอบด้านงบประมาณ หมายเหตุ เหรัญญิกต้องทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย รวมทั้งมี เอกสารการเบิกจ่ายเงิน และ ลายเซ็นผู้รับเงิน

องค์ประกอบด้านงบประมาณ 5.4 การสรรหางบประมาณ เพื่อใช้จ่ายในการ ดำเนินการสัมมนา อาจทำได้โดย 5.4.1 งบประมาณจากหน่วยงานที่จัดสัมมนา 5.4.2 การขอความสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น