การสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ Online Information & Education Conference 2017 ณ ห้องประชุมรักตะกนิษฐ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ – วันศุกร์ที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๖๐ จำนวน ๒ วัน
ด้านวิชาการ ปัจจุบันประเทศต่างๆทั่วโลกมีการแข่งขันทางด้านการพัฒนาทางเศรษฐกิจ การศึกษา การจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาห้องสมุด ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของนานาประเทศ ประเทศไทยจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาในด้านต่างๆ ให้ทัดเทียมยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง และในโลกแห่งสังคมเรียนรู้ (Knowledge Society) เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง ประเทศที่พัฒนาแล้วทั้งหลายได้นำเทคโนโลยีสมัยใหม่นั้นนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดสำหรับการพัฒนาห้องสมุด เกิดดุลยภาพระหว่างห้องสมุดดั้งเดิมกับบริบทภายนอก (Balancing the external and traditional libraries) มีการให้บริการสารสนเทศหลากหลายประเภทเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
ด้านเทคนิคการสอน สร้างแนวคิดใหม่เกี่ยวกับการจัดการองค์ความรู้เพื่อพัฒนาห้องสมุดให้เกิดดุลยภาพระหว่างห้องสมุดดั้งเดิมกับบริบทภายนอก (Balancing the external and traditional libraries) การสอนแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศของนานาประเทศ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนางานห้องสมุดของประเทศไทยให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น มีการอบรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรให้สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการพัฒนางานห้องสมุดได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
Confront libraries being held accountable for the learning and research outcomes and cost-effectiveness of their efforts. The absence of reliable information that documents and explains shifting patterns in library operations and use is adversely affecting strategic planning and the cases that academic library directors must make to win or bolster support for the library and its changing directions. Academic libraries cannot effectively prepare for the future or position themselves on campus until they understand their changing roles in the current learning and research environment, which is radically different from the environment a decade ago. Understanding and evaluating library usage patterns and developmental paths are prerequisites to formulating a critical and appropriate response to widespread, rapid changes in higher education. Sources of library use data exist, but the data are incomplete and problematic. วาม