การบริหารความเสี่ยง Risk Management

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การจัดระดับความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
Governance, Risk and Compliance
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
Strategic Line of Sight
MK201 Principles of Marketing
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารความเสี่ยง Risk Management

ความเสี่ยงคืออะไร ความเสี่ยง คือ โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด ความเสี่ยง คือ เหตุการณ์/การกระทำใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน การเปลี่ยนแปลง และส่งผลกระทบ หรือสร้างความเสียหายหรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ทั้งในระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน และระดับบุคคลได้

การบริหารความเสี่ยง การหา โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด และทำการบริหาร จัดการ ควบคุม ความเสี่ยงนั้นโดยการป้องกัน การลดผลกระทบด้านลบที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้งานประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กำหนดไว้

สภาพแวดล้อมกับกลยุทธ์เพื่อบรรลุเป้าหมาย

สภาพแวดล้อมหน่วยงาน โอกาส จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรค โอกาส/อุปสรรค ภายนอก S : สังคม T : เทคโนโลยี E : เศรษฐกิจ P : การเมือง และ กฎหมาย โอกาส จุดแข็ง จุดอ่อน จุดแข็ง/จุดอ่อน ภายใน โครงสร้างองค์กร / หน่วยงาน / เครือข่าย บริการ ปัจจัยด้านงานบุคคล เครื่องมือ และการผลิต งบประมาณ /การเงิน การบริหารจัดการ อุปสรรค

รศ.ดร.วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ ปัจจัยภายนอก Socio-cultural Factors (ความสลับซับซ้อนทางสังคม ผู้รับบริการ โครงสร้างประชากร การศึกษา อนามัย อาชีพ ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความรู้ เจตคติ พฤติกรรม ความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคล แนวคิดอนุรักษ์ ฯลฯ) Technological Factors (นวัตกรรม ความมีอยู่ของเทคโนโลยี ฯลฯ) Economic Factors (ภาวะทางเศรษฐกิจ การจ้างงาน อัตราดอกเบี้ย ฯลฯ) Political and Legal Factors (เสถียรภาพของรัฐบาล นโยบายของพรรคการเมือง กฎหมาย ฯลฯ) Physical Factors (สภาพทางภูมิศาสตร์ ดินฟ้าอากาศ ภัยธรรมชาติ ฯลฯ) รศ.ดร.วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์

รศ.ดร.วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ ปัจจัยภายใน Structure and Policy (โครงสร้างองค์กร กลยุทธ์ ฯลฯ) Service (ผลผลิตและผลลัพธ์ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ฯลฯ) Manpower (อัตรากำลัง คุณภาพบุคลากร การบริหารบุคคล ฯลฯ) Money (ประสิทธิภาพด้านการเงิน การระดมทุน ฯลฯ) Materials (วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร ฯลฯ) Management (กระบวนการ ภาวะความเป็นผู้นำ วัฒนธรรมองค์กรสารสนเทศ ฯลฯ) รศ.ดร.วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์

ความเสี่ยงในกระบวนการกับสภาพแวดล้อม ความเสี่ยงภายนอก สังคม / วัฒนธรรม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง / กฎหมาย Input Output Outcome Process /Activities ความเสี่ยงภายใน

ความเสี่ยงกระบวนการ และความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงภายนอก สังคม / วัฒนธรรม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง / กฎหมาย Input Output Outcome Impact Process /Activities ความเสี่ยงภายใน ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด

ความเสี่ยงกระบวนการ / ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม เป้าหมายการให้บริการ ตัวชี้วัด แผนการให้บริการ (กลยุทธ์หน่วยงาน) เป้าหมายการให้บริการระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัด ผลผลิต (Output) ตัวชี้วัด ภารกิจ กิจกรรม / กระบวนการ

ความเสี่ยงภายใน (กระบวนการ) ความเสี่ยงภายนอก สังคม / วัฒนธรรม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง / กฎหมาย Input Output Outcome Impact Process /Activities ความเสี่ยงภายใน ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) ด้านการดำเนินงาน (Operation Risk : O) ด้านการเงิน (Financial Risk : F) ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk :C)

ความเสี่ยงภายใน (กระบวนการ) ความเสี่ยงภายนอก สังคม / วัฒนธรรม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง / กฎหมาย Input Output Outcome Impact ตัวอย่าง : การจัดทำแผนกลยุทธ์ ความเสี่ยงภายใน สภาพ แวดล้อม ใน+นอก ภารกิจ และ เป้าประสงค์ การประเมินผล / การทบทวน การปฏิบัติ งานตาม กลยุทธ์ กลยุทธ์ 3 ระดับ การควบคุม กลยุทธ์

การบริหารความเสี่ยงธรรมาภิบาล หลักภาระรับผิดชอบ หลักการมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม ความเสี่ยงภายนอก สังคม / วัฒนธรรม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง / กฎหมาย Input Output Outcome Impact การจัดทำแผนกลยุทธ์ ความเสี่ยงภายใน หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่า

ธรรมาภิบาล (Good Governance) หลักนิติธรรม การออกกฎหมายโดยถูกต้อง บังคับใช้อย่างเป็นธรรมและทั่วถึง บุคลากรรู้สิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย หลักคุณธรรม ปลอดจากการทำผิดกฎหมาย ผิดวินัย ผิดกฎจรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชีพ ศีลธรรม จริยธรรม หลักความโปร่งใส กลไกการทำงานทุกระดับ (การบริหาร การปฏิบัติ การวางแผน การดำเนินงาน การประเมินผล)โปร่งใสตรวจสอบได้ หลักความรับผิดชอบ มีเป้าหมายชัดเจน งานสอดคล้องกับเป้าหมายและกฎระเบียบ คำนึงถึงประโยชน์ของผู้รับบริการและส่วนรวม มีสำนึกต่อหน้าที่ ประชาชน สังคม หลักการมีส่วนร่วม การให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กร ได้รับรู้แสดงความคิดเห็น ร่วมตัดสินใจ ติดตาม ตรวจสอบ หลักความคุ้มค่า ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างประหยัด เกิดประโยชน์สูงสุด เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล

แนวคิดการบริหารความเสี่ยงในองค์กร การบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร การบริหารความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน การบริหารความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน การบริหารความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน การบริหารความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน การบริหารความเสี่ยง ระดับหน้าที่งาน การบริหารความเสี่ยง ระดับหน้าที่งาน การบริหารความเสี่ยง ระดับหน้าที่งาน การบริหารความเสี่ยง ระดับหน้าที่งาน

ตัวอย่างแนวคิดการจัดประเภทความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) ด้านการดำเนินงาน (Operation Risk : O) ด้านการเงิน (Financial Risk : F) ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk :C)

ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ การเมือง เศรษฐกิจ สถานการณ์โลก สังคม /วัฒนธรรม เทคโนโลยีภายนอก ชื่อเสียง ความน่าเชื่อถือ ภาวะผู้นำขององค์กร ตลาด / การนำเสนอบริการ ตราสินค้า ลูกค้า / ผู้รับบริการ การแข่งขันกับองค์กรอื่น การเมืองและกฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมเชิงปฏิบัติการ กลยุทธ์องค์กร

ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน ระบบขององค์กร /การกำหนดแผนงาน กระบวนการทำงาน/ การผลิต/การบริการ เทคโนโลยี/เครื่องมือ บุคลากร ข้อมูลข่าวสาร / การประสานงาน

ความเสี่ยงด้านการเงิน อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา สภาพคล่อง เงินทุน / งบประมาณ ความสามารถในการชำระหนี้ ความน่าเชื่อถือทางการเงิน ต้นทุน / ค่าใช้จ่าย /การทำกำไร

ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ ข้อกำหนดของทางราชการ ระเบียบข้อบังคับ กฎระเบียบ

ระบบการบริหารความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง (Risk Identification) วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง (Risk Analysis & Assessment) การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) การประเมินผล (Risk Evaluation)

ค้นหาความเสี่ยง (Risk Identification) การระบุความเสี่ยง (Risk) และทำการค้นหาสาเหตุของความเสี่ยง (Cause) ที่จะส่งผลกระทบต่อความสำเร็จของแผนงานหรือโครงการ โดยการใช้ข้อมูลที่มีอยู่ หรือเกิดจากการเก็บข้อมูลเพิ่มเติม นำมาประมวลผลเป็นข้อมูลข่าวสารที่แสดงถึงผลการดำเนินการ

เครื่องมือในการตรวจวัด ปัญหา, ผล 1. แผ่นตรวจสอบ (Check Sheet) 2. ผังพาเรโต (Pareto diagram) 3. กราฟ (Graph) 4. ผังเหตุและผล (Cause & Effect diagram) 5. ผังการกระจาย (Scatter diagram) 6. แผนภูมิควบคุม (Control chart) 7. ฮิสโตแกรม (Histogram)

การระบุความเสี่ยง

แนวคิดการระบุความเสี่ยง ประเด็นที่ตองพิจารณา ความเสี่ยงที่อาจจะเกิด ตัวอย่างปัจจัยที่เป็นความเสี่ยง ดานกลยุทธ์/ แผนงาน ……… .......... กลยุทธ์ ผู้รับบริการ การนำเสนอบริการ ภาวะผู้นำ ชื่อเสียง ความน่าเชื่อถือ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การแข่งขันกับองค์กร หรือหน่วยงานอื่น ดานการดำเนินงาน ระบบขององค์การ กระบวนการทำงาน เทคโนโลยี บุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก ข้อมูลข่าวสารระบบสารสนเทศ การประสานงาน

แนวคิดการระบุความเสี่ยง ประเด็นที่ตองพิจารณา ความเสี่ยงที่อาจจะเกิด ตัวอย่างปัจจัยที่เป็นความเสี่ยง ดานการเงิน ……… .......... อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา สภาพคล่อง งบประมาณ ความสามารถในการชำระหนี้ความน่าเชื่อถือทางการเงิน การทำกำไร ค่าใช้จ่าย รายรับ การทุจริต ดานการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ กฎระเบียบ กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ข้อกำหนดของทางการ

แนวคิดการระบุสาเหตุของความเสี่ยง ความเสี่ยงที่อาจจะเกิด สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความเสี่ยง 1. ……………………………. ………………………………………. ...................................................... ……………………………………… 2. …………………………….. .....................................................

วิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง (Risk Analysis & Assessment) การนำปัจจัยเสี่ยง และสาเหตุของความเสี่ยงที่ค้นพบจากกระบวนการค้นหาความเสี่ยง มาประเมินและวิเคราะห์ ระดับของความเสี่ยง โดยทำการจัดลำดับความเสี่ยงจากผลกระทบในมิติต่างๆ หรือการประเมินมากกว่ามิติเดียว

การประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง เพื่อจัดระดับความเสี่ยง ผลกระทบของความเสี่ยง Consequences (C) สูงมาก Almost Certain สูง Likely ปานกลาง Moderate ต่ำ Unlikely น้อยมาก Rare น้อยมาก Insignificant น้อย Minor ปานกลาง Moderate สูง Major สูงมาก Catastrophic โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Likelihood (L)

ตัวอย่าง Risk Model:เกณฑ์สำหรับวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง.................A............................ โอกาสที่จะเกิด ความเสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย) ระดับคะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก มากกว่า 1ครั้งต่อเดือน ระหว่าง1-6 เดือนต่อครั้ง ระหว่าง 6-12 เดือนต่อครั้ง มากกว่า 1ปีต่อครั้ง มากกว่า 5 ปีต่อครั้ง 5 4 3 2 1

ตัวอย่าง Risk Model:เกณฑ์สำหรับวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง.................A............................ ผลกระทบต่อองค์กร ความเสียหาย ระดับคะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก มากกว่า 10 ล้านบาท 5แสนบาท -10 ล้านบาท 1แสนบาท-5แสนบาท 1 หมื่นบาท – 1 แสนบาท น้อยกว่า 1 หมื่นบาท 5 4 3 2 1

ตัวอย่าง Risk Model:เกณฑ์สำหรับวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ระดับคะแนน 1=น้อยมาก 2=น้อย 3=ปานกลาง 4=สูง 5=สูงมาก ความรุนแรงของผลกระทบ (c) C1:มูลค่าความเสียหาย C2:อันตรายต่อชีวิต/ความปลอดภัย <5% เหตุเดือดร้อนรำคาญ >5-10% มีผู้บาดเจ็บเล็กน้อย >10-15% มีผู้บาดเจ็บที่ต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์มีความพึงพอใจ/>40-60% หรือ 3 ข่าว >5-7.5% >15-20% มีผู้บาดเจ็บสาหัส >20% มีผู้เสียชีวิต

ตัวอย่าง Risk Model:เกณฑ์สำหรับวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง ระดับคะแนน 1=น้อยมาก 2=น้อย 3=ปานกลาง 4=สูง 5=สูงมาก โอกาสที่จะเกิดความเสียหาย(L) L4:ความถี่ในการเกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน L5:โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ <5% <10% >5-10% >10-20% >10-15% >20-30% >15-20% >30-40% >20% >40% หมายเหตุ : หาค่าคะแนนเฉลี่ยจาก C และ L แล้วนำไปวัดระดับความเสี่ยงใน Risk Matrix:

แผนผังประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment Matrix) ผลกระทบของความเสี่ยง Consequences (C) สูงมาก Almost Certain สูง Likely ปานกลาง Moderate ต่ำ Unlikely น้อยมาก Rare 5 10 15 20 25 4 8 12 16 3 6 9 2 1 น้อยมาก Insignificant น้อย Minor ปานกลาง Moderate สูง Major สูงมาก Catastrophic โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Likelihood (L)

แผนผังประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment Matrix) 5 ปานกลาง สูง สูงมาก 4 3 2 ต่ำ 1 ผลกระทบของความเสี่ยง Consequences (C) โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Likelihood (L)

เกณฑ์ความสามารถในการยอมรับความเสี่ยง ระดับความเสี่ยง ระดับคะแนน แทนด้วยแถบสี ความหมาย ต่ำ 1 - 3 Acceptable or Limited Focus - ระดับที่ยอมรับได้ โดยไม่ต้องควบคุมความเสี่ยง ไม่ต้องมีการจัดการเพิ่มเติม ปานกลาง 4 - 9 Tolerable but caution or Management Discretion/Medium Risk - ระดับที่พอยอมรับได้ แต่ต้องมีการควบคุม เพื่อป้องกันไม่ให้ความเสี่ยงเคลื่อนย้ายไปยังระดับที่ยอมรับไม่ได้ สูง 10 - 16 Intolerable or Attention Required/High Risk - ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้โดยต้องจัดการความเสี่ยง เพื่อให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ต่อไป สูงมาก 17 - 25 Intolerable or Immediate Attention Require/High Risk - ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้เป็นต้องเร่งจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ทันที

ผลการประเมินความเสี่ยง (Risk Profile) ผลกระทบของความเสี่ยง Consequences (C) สูงมาก Almost Certain สูง Likely ปานกลาง Moderate ต่ำ Unlikely น้อยมาก Rare 5 4 3 2 1 ความเสี่ยง 3 ความเสี่ยง 1 ความเสี่ยง 2 น้อยมาก Insignificant น้อย Minor ปานกลาง Moderate สูง Major สูงมาก Catastrophic โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง Likelihood (L)

การจัดการความเสี่ยงภายนอก ควบคุมไม่ได้ ความเสี่ยงภายนอกที่ควบคุมได้ยาก ให้ระบุ “ข้อเสนอแนะ” ของโครงการ / แผนงาน เพื่อบริหารความเสี่ยงในเชิงการลดผลกระทบ โดยการกำหนดเป็น “แผนสำรองฉุกเฉิน” Impact Outcome วิเคราะห์ผลกระทบจากปัจจัยภายนอก ที่มีผลต่อความสำเร็จ Output ควบคุมได้ การบริหารความเสี่ยงภายนอกที่สามารถควบคุมได้ค่อนข้างมาก ให้บริหารความเสี่ยง โดยจัดทำ กิจกรรม (Activity) เพิ่มเติม เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากสาเหตุของความเสี่ยงนั้น Activities Input

การควบคุมความเสี่ยงภายใน การกำหนดกระบวนการควบคุม การกำหนดเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน การกำหนดขอบเขตอำนาจ และวิธีการใช้งบประมาณ การกำหนดศูนย์รับผิดชอบ การตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำ QC (Quality Control) การทำ TQM (Total Quality Management) การทำ Six Sigma มีการทบทวนความเสี่ยงเป็นระยะ

การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) วิธีการจัดการกับความเสี่ยง 4 วิธี การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) การควบคุมหรือการลดความสูญเสีย (Risk Control /Risk Reduction) การรับความเสี่ยงไว้เอง (Risk Acceptance) การถ่ายโอนหรือการกระจายความเสี่ยง (Risk Transfer /Risk Sharing)

การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) การเลือกที่จะไม่รับความเสี่ยงไว้เลย ทั้งนี้ การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นจากการวิเคราะห์ต้นทุนกับผลประโยชน์ที่จะได้รับแล้วเมื่อพบว่าผลประโยชน์ที่จะได้รับไม่คุ้มกับต้นทุนที่จะเกิดขึ้นจึงหลีกเลี่ยงที่จะเผชิญกับกิจกรรมความเสี่ยงนั้นโดยสิ้นเชิง ซึ่งสามารถดำเนินการโดยการเลิกทำกิจกรรมหรือภารกิจนั้น หรือให้ผู้อื่นเป็นผู้รับผิดชอบแทน

การควบคุมหรือการลดความสูญเสีย (Risk Control /Risk Reduction) เมื่อเผชิญกับความเสี่ยงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ วิธีที่เหมาะสมคือการวิเคราะห์หาวิธีการควบคุมความเสี่ยงหรือควบคุมความสูญเสีย วิธีการควบคุมความสูญเสียมี 2 วิธีการหลักคือ การป้องกันการเกิดความสูญเสีย และการควบคุมขนาดของความสูญเสียหลังเกิดความสูญเสียขึ้น การป้องกันการเกิดความสูญเสีย คือการพยายามจะลดความถี่ หรือโอกาสของการเกิดความสูญเสีย นั่นคือการวิเคราะห์หามาตรการหรือวิธีการใดๆ ในการที่ป้องกันไม่ให้ความสูญเสียเกิดขึ้น การควบคุมขนาดความสูญเสีย เป็นวิธีการพยายามจะลดความรุนแรงของความสูญเสียเมื่อเกิดความสูญเสียขึ้นแล้ว

สาเหตุที่ทำให้ เกิดความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยง การบริหาร ความเสี่ยง การบริหารเพื่อลด การบริหารเพื่อลด สาเหตุ ความเสี่ยงภัย ปัญหาที่เกิด ผลกระทบ เป้าหมาย สาเหตุที่ทำให้ เกิดความเสี่ยง ผลกระทบ ปัญหาที่เกิดจากเหตุการณ์ ภัยที่เกิด / เหตุการณ์/ ความเสี่ยง ผลกระทบ สาเหตุที่ทำให้ เกิดความเสี่ยง เป้าหมาย ปัญหาที่เกิดจากเหตุการณ์ ผลกระทบ สาเหตุที่ทำให้ เกิดความเสี่ยง การยอมรับ

การรับความเสี่ยงไว้เอง (Risk Acceptance) วิเคราะห์ความเสี่ยงแล้ว เห็นว่าความเสี่ยงไม่มีวิธีการใดเลยที่เหมาะสมในการจัดการนอกจากรับเอาไว้เอง จึงเป็นผู้เลือกรับความเสี่ยงนั้นเอาไว้เองโดยที่เรารู้ว่าความเสี่ยงนั้นมีอยู่ เราจึงมักมีการเตรียมแผนที่จะควบคุมความสูญเสียเอาไว้ หรือความเสี่ยงนั้นมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นน้อย  และผลกระทบจากการเกิดมีน้อย การยอมรับความเสี่ยงไว้เองมีความคุ้มค่ามากกว่าการดำเนินการอย่างอื่น และผลกระทบอยู่ในระดับที่ยอมรับได้

การถ่ายโอนหรือการกระจายความเสี่ยง (Risk Transfer /Risk Sharing) ความเสี่ยงที่เราหลีกเลี่ยงไม่ได้และไม่สามารถรับเองไว้เองได้ควรได้รับการถ่ายโอนไปให้ผู้อื่นในบางส่วนเป็นการแบ่งเบาหรือกระจายความเสี่ยงโดยให้มีผู้อื่นมาร่วมรับผิดชอบในกรณีที่เกิดความเสี่ยงขึ้น

การประเมินผล (Risk Evaluation) การประเมินผลการบริหารจัดการกับความเสี่ยงตามแผนที่เราวางไว้ โดยยึดตามวัตถุประสงค์ของแผนการบริหารความเสี่ยงในเรื่อง และวิธีการที่กำหนด

การบริหารความเสี่ยง Risk Management