สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ.ป่าโมก ( รอบที่ 2) วันที่ 12 มิถุนายน 2560
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 1.การฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์ <12 สัปดาห์ ผลงานร้อยละ 46.59 (เป้าหมาย ร้อยละ 60) ผลการการดำเนินงานเพิ่มขึ้นกว่าการนิเทศ ครั้งที่ 1 แต่ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย สาเหตุเนื่องจาก 1หญิงตั้งครรภ์ปกปิดการตั้งครรภ์ 1.1 อายุ 15-19ปี - ในระบบ 3 คน - นอกระบบ 11 คน 1.2 เกิดความอาย -อายุมาก - ไม่มีสามี 2. ไม่มีเวลามาฝากครรภ์ 3.ไม่ทราบการฝากครรภ์ฟรีทุก 1.เพิ่มการประชาสัมพันธ์การฝากครรภ์ฟรีทุกสิทธิ์ทุกสถานบริการของรัฐ 2.สร้างแรงจูงใจในการฝากครรภ์ 3. เร่งรัดการคีย์ข้อมูลการฝากครรภ์ให้ครบ 4.ทบทวนการคีย์ข้อมูล Admin และผู้รับผิดขอบงานส่งเสริม
ประเด็น ผลงาน สาเหตุ /ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย 2. การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 43.2 (เป้าหมาย ร้อยละ 90) ผลงานยังไม่ได้เป้าหมาย เนื่องจาก 1. ไม่มีการติดตามหญิงตังครรภ์ในพื้นที่ 2. ไม่ได้คีย์ข้อมูล 3. Admin ยังเข้าใจคลาดเคลื่อนในการ คีย์ข้อมูลการฝากครรภ์ 1.จัดระบบติดตาม 2.บันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 3.ทบทวนการคีย์ข้อมูล Admin และผู้รับผิดขอบงานส่งเสริม 3 การตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ ต่ำกว่า 20 ปี ( 20 คน) ผลงานให้ HDC ไม่มี -ผลงานในทะเบียน ผลงานร้อยละ 20 (4 คน) (เป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 10) - วิเคราะหาปัญหาสาเหตุการการตั้งครรภ์ซ้ำและวางแผนในการแก้ต่อไป กรณีที่ข้อมูล HDC และทะเบียนคุมไม่ตรงให้ไปทบทวนและคีย์ข้อมูล
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2. การส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น เด็กนักเรียนสูงดีสมส่วน ร้อยละ 64.88 (เป้าหมายร้อยละ 66) -เป็นเด็กชาวเขาซึ่งจะมีความสูงที่เตี้ย เสริมการออกกำลังกาย(กระโดด)ที่ชัดเจน เน้นด้านโภชนาการเช่น ดื่มนม สุ่มเครื่องมือที่ใช้วัดและเครื่องชั่งน้ำหนักให้ได้มาตรฐาน 3. งานสุขภาพจิต อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จ ( 5 คน) เป้าหมาย <= 6.3 ต่อแสน ผลงาน 11.52 ต่อแสน -ระบบการคัดกรองและการเฝ้าระวังยังไม่ครอบคลุม 1.พัฒนาระบบการคัดกรองจิตเวชและสุรา 2.พัฒนาระบบการติดตามผู้ป่วย มีการคืนข้อมูลให้ รพ.สต. ในพื้นที่ 3.เพิ่มเติมในแบบคัดกรอง 2Q โดยเพิ่มข้อความการฆ่าตัวตาย 4.ให้ความรู้แก่ อสม. ในการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3. งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - จัดทำ Care Plan ได้ ร้อยละ 100 ของ รพ.สต.ที่สมัครส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.ยังไม่ได้รับเงินจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. CM ของ รพ.สต. เสียชีวิต สสจ.ประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเรื่องการโอนงบประมาณ ส่งรายชื่อ CM ให้สสจ. เพื่อเข้ารับการอบรม -ดำเนินการตาม Care Plan
กลุ่มงานควบคุมโรค
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนไม่เกิน 18 : แสนประชากร (ปชก 28,542คน) ต.ค. 59 – พ.ค. 60 เสียชีวิต 5 ราย คิดเป็น 17.5 : แสนประชากร กิจกรรม 1.มีการคืนข้อมูลให้ในที่ประชุมหัวหน้าส่วนราชการ 2.มีการประชุมคณะกรรมการ ศปถ. อำเภอในช่วงเทศกาลปีใหม่ / สงกรานต์ ยังขาดการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดอุบัติเหตุและเสียชีวิตทางถนน ยังขาดการวางแผนแก้ไขแผนมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 1.นำข้อมูลที่วิเคราะห์ได้เข้าสู่เวที ศปถ. อำเภอเพื่อร่วมวางแผนแก้ไขอย่างต่อเนื่อง ตามปัจจัย -รถ -ถนน -คน 2. อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่ไม่เกิน ร้อยละ 2.4 -กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 985 ราย - ป่วย DM รายใหม่ 11ราย คิดเป็นร้อยละ 1.1 มีการจัดกิจกรรมในกลุ่มเสี่ยง เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อสังเกต ผู้ป่วย DM ขึ้นทะเบียนใหม่ 103 ราย
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3.ร้อยละการควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิต ( ร้อยละ 40 , ร้อยละ 50) ควบคุม DM 1,733 ราย ตรวจ Hba1c 710 ราย คิดเป็น ร้อยละ 40.1 -ควบคุมน้ำตาลได้ 370 ราย คิดเป็นร้อยละ22 ผู้ป่วย HT จำนวน 3,917 ราย ตรวจ BP 2,723 ราย คิดเป็นร้อยละ 70 ควบคุม BP ได้ 1,679 ราย ร้อยละ 43 กิจกรรม มี NCD คลินิกของ รพ.ป่าโมก ที่จัดบริการให้ความรุ้ ให้คำปรึกษา ส่งต่อข้อมูลให้ รพ.สต. ดูแลให้พื้นที่ เยี่ยมบ้าน ขาดการนำข้อมูลจากแห่ลงข้อมูลที่มีอยู่ มาใช้วิเคราะห์วางแผน ควบคุมกับ การดำเนินงานในภาพเครือข่ายอำเภอ - มีประชุม 1 ครั้ง ไม่เพียงพอ 1.การใช้ข้อมูล Chronic Link มาใช้ ในการวางแผน ควบคุม กำกับ ราย รพ.สตและเครือข่าย 2.ควรจัดประชุม NCD Boand และมีข้อมูลมาวิเคราะห์ ติดตามต่อเนื่อง ทุก 2-3 เดือน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. PCC PCC ปี 2564 2. PCT -Team 1 ปี 2560 -Team 2 ปี 2562 -Team 3 ปี 2564 ขอทบทวนผู้จัดการทีม 2 และ 3 และจะทำหนังสือแจ้งสสจ.ภายในสัปดาห์นี้ ให้ส่งหนังสือแจ้ง สสจ.ภายในวันที่ 16 มิย. 60
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ( HA ) -HA ขั้นที่ 2 -ยื่นหนังสือแสดงความจำนงเพื่อดำรงขั้นที่ 2 เรียบร้อยแล้ว -อาคารสถานที่ที่ได้ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะได้แก่ ป้ายบอกทางหนีไฟ การจัดที่จอดรถผู้ป่วย /ผู้พิการ การทำกริ่งขอความช่วยเหลือในห้องน้ำผู้พิการ -ระบบบำบัดน้ำเสียไม่ผ่านเกณฑ์ -อาคารสถานที่ในส่วนของห้องตรวจ OPD ฝ้าเพดานหล่นเนื่องจากฝนตกหนักเมื่อสัปดาห์ก่อน -ห้อง Leb คับแคบไม่ได้แยกห้องตรวจกับห้องเจ้าหน้าที่ -ระบบบำบัดน้ำเสียไม่ผ่านเกณฑ์ในเรื่องค่าสารละลายรวมไม่ผ่านเกณฑ์ -ขาดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง -กำลังดำเนินการแก้ไขปรับปรุงฝ้าเพดาน - อาจขยายไปห้องข้างเคียงหรือย้ายไปตึกใหม่ -ทบทวนการทิ้งน้ำเสียจากหน่วยงานต่างๆใน รพ. ว่าเป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ เช่นหน่วยงานซักฟอก X-ray Ward ทันตกรรม -รพ.จะผลักดันการดำเนินงานโดยกำหนดเป็นตัวชี้วัด -ร่วมกิจกรรมพัฒนาในระดับจังหวัดและระดับเขต
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2 P Safety -มีการแต่งตั้งคณะกรรมการตามที่กระทรวงกำหนด -มีระบบรายงานความเสี่ยง -มีการกำหนดการรายงานความเสี่ยงเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติราชการ -โปรแกรมรายงานความเสี่ยงที่เคยใช้มีปัญหาในการใช้งาน -ผู้รับผิดชอบงานใช้โปรแกรม Excel สรุปรวบรวมเอง -เรียนรู้การแก้ไขโปรแกรมจาก โรงพยาบาลโพธิ์ทอง
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. ผลิตภัณฑ์อาหารผลิตภัณฑ์สุขภาพได้มาตรฐาน ผ่าน ร้อยละ 100 1. ผลการดำเนินงานเป็นผลจากการตรวจด้วย Test kit ของรพ.ป่าโมก เท่านั้น ไม่รวมผลของ รพ.สต. และ ผลตรวจของ Mobile 2.ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอไม่ติดตามการรายงานผลของ รพ.สต. ผ่าน Excel Online และ รพ.สต. ส่วนใหญ่ไม่ส่งรายงาน ทำให้ไม่สามารถวิเคราะห์สถานการณ์ของอำเภอได้ 3. รพ.สต.ไม่มีชุดตรวจยาและเครื่องสำอางค์ 1.ผู้รับผิดชอบระดับอำเภอควรทำความเข้าใจตัวชี้วัดให้ชัดเจน 2.ผลการดำเนินงานต้องรวมรายงานผลการตรวจของ Mobile Unit เขต 4 และผลงานของ รพ.ป่าโมก เพื่อวิเคราะห์ภาพรวมสถานการณ์ในอำเภอ จากผลรวมของMobile Unit พบอาหารได้มาตรฐาน ร้อยละ 98.64 (พบสารเร่งเนื้อแดง น้ำมันทอดซ้ำและสารฟอกขาว
กลุ่มงานประกันสุขภาพ
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. เพิ่มรายได้ -ได้ตามเป้าหมาย ทั้ง 1 กิจกรรม(ทันตกรรม) -ไม่ได้ตามเป้าหมาย 4กิจกรรม (ฟิตเนส ,กายภาพ ,แพทย์แผนไทย ,ห้องพิเศษ) ฟิตเนส 1.ผู้รับบริการมาไม่สม่ำเสมอ กายภาพ / แผนไทย 1. บุคลากรไม่เพียงพอ ห้องพิเศษ 1.มีการ Admit น้อย -มีการประชาสัมพันธ์เชิงรุก / กระตุ้นติดตามให้มารับบริการ อยู่ระหว่างการรับสมัครบุคลากรเพิ่ม
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 2. ลดรายจ่าย - เวชภัณฑ์มิใช่ยา 5 ประเภท -ได้ตามแผน 5 ประเภท -
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 3. การจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้ มีคำสั่งในการจัดตั้งศูนย์จัดเก็บรายได้และกำหนดผู้รับผิดชอบหลักเป็นรายลักษณ์อักษร - * รพ. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์จัดเก็บรายได้ และคณะทำงานศูนย์ประกันสุขภาพ - คุณสมคิด งามวิลัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เป็นประธานกรรมการ - คุณสุนัน ขาวประพันธ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รองประธานกรรมการ - คุณสำเนียง เทียมปัญญา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เลขานุการ
ผู้รับผิดชอบงานแผนงาน โรงพยาบาลมีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานงานแผนปฏิบัติงานและแผนยุทธศาสตร์ คุณนิรัชรา ศรีเผือก ทันตแพทย์ชำนาญการ ประธานคณะกรรมการ คุณศังกร แฝงสวัสดิ์ เภสัชกรชำนาญการพิเศษ รองประธานกรรมการ คุณนวพร จิรังกร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เลขานุการ มีกรรมการ 11 คน
กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล
ประเด็น ผลงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ 1. การคีย์ข้อมูล Happionometer - รพ. ร้อยละ 58.11 สสอ. ร้อยละ 100 - รพ.สต. ร้อยละ 100 รพ. คีย์ข้อมูลไม่ครบ ให้ผู้รับของโรงพยาบาลกำกับติดตามให้เจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลให้ครบ
งานการเงินและบัญชี
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.การจัดทำแผนทางการเงิน (แผนเกินดุล 89,284.57) มีการปรับแผน 6 เดือนหลัง ทำแผนเกินดุล EBITDA 76,287.64 เพิ่มรายได้ (2,438,098) Fitness= 9280,00บาท กายภาพบำบัด=372,269.บาท แพทย์แผนไทย = 362,000บาท ทันตกรรม =211,479บาท ห้องพิเศษ =564,350าท -กำกับให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.ผลต่างแผนและผล ไม่เกินร้อยละ 5 (พย.59รายได้ 20.66 % ค่าใช้จ่าย -14.04%) ไตรมาส 2/60 รายได้ -5.87% ค่าใช้จ่าย -6.60% เมย 60 รายได้ -2.26% ค่าใช้จ่าย -5.87%) รายได้ค่ารักษาน้อยกว่าแผน รวม 1.12 ล้าน ร้อยละ -7.81% ดังนี้ อปท.-11.73 กรมบัญชีกลาง -9.89 ,ประกันสังคม -7.94,แรงงานต่างด้าว -13.59 ,ชำระเงิน 1.8 เนื่องจากผู้รับบริการน้อยลง ค่าใช้จ่ายเกินแผน ค่าจ้างชั่วคราว 1.09 ,ค่าใช้จ่ายอื่น 3.05 เนื่องจากมีค่ารักษาตามจ่าย(refer) ค่าใช้จ่ายโครงการ 1 ล้านรอดำเนินการ ค่าใช้จ่ายที่ต่ำกว่าแผนเกิน 5% ยา 12.70 ,เวชภัณฑ์มิใช่ยา วัสดุการแพทย์ 11.59 ,วัสดุทันต กรรม 14.21,วิทย์ 14.60 ,เนื่องจากมีการควบคุมการใช้/และซื้อร่วมเวชภัณฑ์มิใช่ยา และยาคงคลังลดลง (เดืม 1.5 เหลือ 1 เดือน) ค่าตอบแทน -7.85,ค่าใช้สอย -13.35 ,ค่าสาธารณูปโภค -28.44 ประมาณการเพิ่ม 10%,วัสดุใช้ไป -13.42 ,ค่าเสื่อม ราคา -20.26,รอรับรู้อาคารพักแพทย์ ,หนี้สงสัยจะสูญ -86.67 ให้มีการวิเคราะห์หาสาเหตุและวางแนวทางกำกับให้เป็นไปตามแผน
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 2.1ระบบสอบทานรายงานการเงินกับข้อมูลรักษา 3.ประเมินประสิทธิภาพการเงิน 7 ตัว (เกณฑ์ผ่าน 4 ตัว) 4.หน่วยบริการมีสัดส่วนของต้นทุนต่อรายได้ไม่เกิน ค่าmean+1SD ของกลุ่มบริการระดับเดียวกัน (20กลุ่ม) (รพช. F 2 <=30,000) มีการสอบทานรายงานการเงิน(งบทดลอง/ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา/งานประกัน) ข้อมูลยังไม่ตรงกันสิทธิกรมบัญชีกลาง,อปท,ประกันสังคม พรบ. ยังไม่ครอบคลุมสิทธิ UC ไตรมาส 2/60 ผ่าน 4 ตัว (B-) ไตรมาส2/60 (ผ่าน) =0.20 (mean+1SD=0.33) สอบทานแล้วข้อมูลยังไม่ตรงกัน และยังไม่มีการสอบทานสิทธิ UC -ระยะเวลาชำระหนี้ 471 วัน cash 0.43 (เกณฑ์ cash <0.8 จ่ายภายใน 180 วัน การประมวลผลโดยส่วนกลางทางรพ.ไม่ทราบข้อมูล ให้มีการสอบทานข้อมูลการรักษา(hosxp},การเรียกเก็บ,ทะเบียนคุมลูกหนี้ค่ารักษา ทำแผนการชำระหนี้ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา จัดระบบชำระหนี้ก่อน-หลัง มีระบบการบริหารสั่งซื้อ รับรู้หนี้สิน จังหวัดประสานส่วนกลางเรื่องการส่งข้อมูลผลการประเมิน
ประเด็นการติดตาม ผลการดำเนินงาน ปัญหาที่พบ แนวทางการแก้ไขปัญหา 5.คะแนนการประเมิน FAI ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ไตรมาส 2/60 ได้ 96 % (ผ่าน) ไม่มี กิจกรรมการควบคุมภายใน ให้ดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนด โดยให้ส่งผลการดำเนินการตามแผนและผล การพัฒนาองค์การ 5 มิติ ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน สป. ภายใน 30 มิย 60 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพบัญชี ให้ดำเนินการตามเกณฑ์ที่กำหนดและกิจกรรมการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังให้ดำเนินให้ครบทุกขั้นตอนตามเกณฑ์ที่กำหนด
พยากรณ์แนวโน้มไตรมาส 4 ปี 60 งปม. CR (<1.5) QR(<1) Cash (<.80) NWC(<0) NI+Depreciation Risk scoring เมย.60 0.67 0.61 0.34 -10,450,409.57 6,474,683.72 6 Planfin รายได้ Planfin ค่าใช้จ่าย NI Risk scoring 104,535,139.96 96,617,689.46 7,917,450.50 6 ผลการดำเนินงานตามแผน เดือนเมษายน 2560 รายได้ค่ารักษาน้อยกว่าแผน 1.125 ล้านค่าใช้ต่ำกว่าแผน 3.421 สรุป รพ.ป่าโมกมีรายได้งบลงทุน จำนวน 14,760,362.86 บาท (อาคารพักแพทย์ 10.875 ล้าน ,งบค่าเสื่อม 1.895 ล้าน งบประมาณ 1.990 ล้าน ทำให้การพยากรณ์ผลการดำเนินงานในเดือนกันยายน 2560 ไม่มีปัญหาวิกฤติรุนแรงระดับ 7
สรุปรับจ่ายโรงพยาบาลป่าโมก
ถาม - ตอบ