ผลของวิตามินอีต่อคุณภาพไข่ปลาดุกทะเล (Plotosus canius) สุพิศ ทองรอด1 มนทกานติ ท้ามติ้น2 สมประสงค์ ขันถม3 ชัชวาลี ชัยศรี2 นงลักษณ์ สำราญราษฎร์2 บริษัทไทยยูเนี่ยนฟีดมิลล์1 สถาบันวิจัยอาหารสัตว์น้ำชายฝั่ง2 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งจังหวัดระยอง3
ปลาดุกทะเล (ดัก, ปิ่นแก้ว) ปลาดุกทะเล (Canine Catfish Eel หรือ Eeltail Catfish) พบบริเวณน้ำตื้นหรือบริเวณชายฝั่งที่เป็นหาดโคลน มี 2 ชนิด - Plotosus lineatus และ Plotosus canius เพศผู้ต่อเพศเมียเท่ากับ 1:2 ตัวเมียขนาด 300-700 กรัม มีไข่ประมาณ 700-1000 ฟอง 4-6.4 มิลลิเมตร (เฉลี่ย 4.7 มิลลิเมตร) ราคาแพง เริ่มหายาก ยอมรับอาหารสำเร็จรูปได้ดี ละลายในไขมัน สารต้านการออกซิเดชั่น มีผลต่อการพัฒนาของรังไข่ วิตามินอี
วัตถุประสงค์ เพื่อทราบผลของวิตามินอีในอาหารระดับต่างๆ กัน ต่อคุณภาพไข่ปลาดุกทะเล
ตารางที่ 2 วิตามินอีในอาหาร วิธีการทดลอง ตารางที่ 1 สูตรพื้นฐาน วัสดุอาหาร กรัม ปลาป่นไทย 35 หัวกุ้งป่น 7 ตับหมึก กากถั่วเหลือง 23.3 แป้งสาลี 14 เลซิทิน 60% 1.67 น้ำมันปลาทูน่า 1.16 น้ำมันถั่วเหลือง 0.64 วิตามินอี 50% รำ* 3.32 อื่น ๆ** 6.91 รวม 100 อาหาร 3 สูตร ๆ ละ 3 ซ้ำ (CRD) วิตามินอี (-tocopheryl acetate 50%) 0, 0.1 และ 0.2% โปรตีน 49%, ไขมัน 10-11% ตารางที่ 2 วิตามินอีในอาหาร ปริมาณในอาหาร (mg/kg) 1 2 3 ปริมาณที่ใส่ 500 1000 ผลวิเคราะห์*** 31.390.99 333.079.13 6328.07 ** หวีทกลูเท่น 5, วิตามินซี 0.48, วิตามินรวม 0.3,แร่ธาตุรวม 0.01, BHT 0.02, บีเทน 1, กรดโพรพิโอนิค 0.1 ***วิเคราะห์วิตามินอีตามวิธีของ Manz and Philipp (1982) ด้วยเครื่อง HPLC ยี่ห้อ Water รุ่น Alliance
วิธีการทดลอง รับปลา 6 เดือน จากม.ราชภัฎเพชรบุรี พัก 1 เดือน คัดปลาขนาดเท่ากันทดลอง ให้อาหาร 2 มื้อ จนอิ่ม บ่อทดลอง 0.5 ไร่ กระชัง 9 กระชัง สุ่มปลาทดลอง 60 ตัวต่อกระชัง
วิธีการทดลอง การเจริญเติบโตและอัตราการรอดตาย เลี้ยงปลาดุกทะเลเป็นระยะเวลา 4 เดือน บันทึกความยาวและน้ำหนัก จำนวนของปลาทุกเดือน พัฒนาการและความสมบูรณ์เพศของปลาทดลอง ชั่งน้ำหนักรังไข่และตับ (GSI และ HSI) ทุกเดือน สุ่มนับจำนวนไข่ต่อแม่เพื่อหาความดกไข่และวัดขนาดของไข่ เก็บตัวอย่างปลาทุกเดือนและเมื่อจบการทดลองเพื่อวิเคราะห์วิตามินอี วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ANOVA และ LSD ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% วิธีการทดลอง ชั่งนน./วัดความยาว
ผลการทดลอง การพัฒนาเซลสืบพันธุ์ M F F M
ผลการทดลอง ตารางที่ 3 คุณภาพแม่พันธุ์และไข่ปลาดุกทะเล หลังได้รับอาหารทดลอง 4 เดือน นน.ตัว (g) ความดกไข่ (ฟอง/แม่) ขนาดไข่ (มม) GSI (%) HSI (%) Vit E ตับ (mg/kg) Vit E ไข่ (mg/kg) 1 0 mg/kg 159.921.9 77716a 3.90.1 a 26.82.7 a 1.80.4 a 27.91.4b 36.10.0 b 2 500 mg/kg 153.220.1 674169 a 4.30.1 a 28.82.2 a 1.60.6 a 48.35.5 a 85.517.9 a 3 1000 mg/kg 165.923.7 729114 a 4.20.2 a 28.63.8 a 1.70.5 a 43.86.2 a 99.928.7 a
ผลการทดลอง
ผลการทดลอง เดือนที่ 2 T1 T3 T2 เดือนที่ 3 T1 T2 T3
การทดลองเพาะปลาดุกทะเล
สรุปและวิจารณ์ผลการทดลอง แม่ปลาดุกทะเลสามารถสร้างไข่ได้ เมื่ออาหารมีวิตามินอี 31.4-632 mg/kg วิตามินอีสะสมในตับและไข่มากขึ้นเมื่อได้รับการเสริมในอาหาร ระดับที่เหมาะสมในอาหาร 500 mg/kg (0.1% -tocopheryl acetate E50%) ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาประสิทธิภาพของอาหารที่มีต่อน้ำเชื้อ
ขอบคุณ คุณบัญญัติ ศิริธนาวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยอาหารสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดเพชรบุรี ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยอาหารสัตว์น้ำชายฝั่ง บริษัท BASF (ประเทศไทย) ให้ความอนุเคราะห์วิตามินอี