งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Bonne Année Selamat Tahun Baru Happy New Year سنة سعيدة สวัสดีปีใหม่2010 From TB Clinic, Yaring Hopital.
Advertisements

Bonne Année Selamat Tahun Baru Happy New Year سنة سعيدة สวัสดีปีใหม่2010 From TB Clinic, Yaring Hopital สานฝันปันปัญญากับ HRD ครั้งที่ 1/2553.
การค้นหาผู้ป่วยวัณโรค
other chronic diseases
โรงพยาบาลสิรินธร สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร
การให้คำปรึกษาแบบเข้มข้น
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
Countdown To Zero , Elimination of MTCT in Thailand
ขอบคุณ.  ความรู้ใหม่ๆ ที่สร้างแรงบันดาลใจ – Will we survive? – 2 endgame: HIV tobacco  ทักษะการทำงานป้องกันควบคุมโรค – สื่อสาร – ยืดหยุ่น พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง.
จำนวนผู้มารับบริการฝากครรภ์
Maesai Hospital GREE N. บริบทของพื้นที่และ ผู้รับบริการ.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
กรอบการวิเคราะห์การพัฒนา ปี 2559 รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์ กลุ่มงานโยบายและ แผน รพ. ชร.
พลุและดอกไม้ไฟ.
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
II-9 การทำงานกับชุมชน.
ปีงบประมาณ 2556 งบการดูแลผู้ป่วยรายโรค การเข้าถึงยา
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
การแปลผล ABG ศรีวรรณ เรืองวัฒนา.
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
MPLUS SEXPERT.
กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
วันชนา จีนด้วง ศูนย์อนามัยที่ 2 พิษณุโลก
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019
แนวทางปฏิบัติ กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวี ด้อยสิทธิ์/ต่างด้าว
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
สถานการณ์ นโยบาย และการดำเนินงาน
ความรู้พื้นฐานด้านระบาดวิทยา
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชัยภูมิ
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการการป้องกันและการบริหารจัดการด้านเอดส์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 23-Jul-19.
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
การส่งเสริมสุขภาพ การสร้างพลังใจ และวางแผนชีวิต และสิทธิ
ตัวชี้วัดด้านวัณโรค รอบ NFM หน่วยงาน สสจ.ชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ สถานการณ์ งานอนามัยแม่และเด็ก เขต 8 ปีงบประมาณ 2550-2555 งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ ศูนย์อนามัยที่ 8

คำนำ สถานการณ์ การป่วยและตายของมารดาและเด็ก เป็นดัชนีวัดสภาวะสุขภาพประชากรและการพัฒนาของประเทศ ศูนย์อนามัยที่ 8 ได้ดำเนินงานตามแผนฯพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมพัฒนาสุขภาพแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในแผนฯพัฒนาฉบับที่ 11 (2555-2559) ได้มีการดำเนินงานเร่งรัดให้เกิด การพัฒนาเป็นโรงพยาบาลสายใยรัก การดำเนินงานเป็นการดูแลทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา ในระยะตั้งครรภ์ จนถึงหลังคลอดและการเลี้ยงดูบุตรแรกเกิดโดยชุมชนมีส่วนร่วมการพัฒนา คุณภาพบริการงานอนามัยแม่และเด็ก เพื่อมุ่งหวังให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการสมวัย ศูนย์อนามัยที่ 8 ได้จัดทำสรุปสถานการณ์งานแม่และเด็กครั้งนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะเป็นประโยชน์ในการนำไปเป็นข้อมูลเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในโอกาสนี้ขอขอบคุณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้ง 4 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร และอุทัยธานี ที่ได้ให้ความร่วมมืออย่างดียิ่งในการจัดเก็บ และการรายงานข้อมูลการ เฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็กมาโดยตลอด ศูนย์อนามัยที่ 8 นครสวรรค์ 2555

สถานการณ์ ภาวะสุขภาพของมารดาและทารกปริกำเนิด ปี 2550-2555 ตารางแสดง การคลอด การตายมารดาและทารก,อัตราส่วนการ ตายมารดา,อัตราตายปริกำเนิด ปี 2550-2554 ข้อมูล 2550 2551 2552 2553 2554 2555 1. จำนวนมารดาคลอด (คน) 25,568 25,018 24,357 24,258 24,168 18,653 2. จำนวนมารดาตาย 1 7 6 5 3. จำนวนการเกิดทั้งหมด (มีชีพ+ไร้ชีพ) 25,754 25,191 24,375 24,520 23,954 18,684 4. จำนวนทารกเกิดมีชีพ 25,636 25,073 24,268 24,392 24,036 18,668 5. จำนวนทารกตายปริกำเนิด 193 211 178 201 75 101 6. อัตราส่วนการตายมารดา (ต่อ 100,000 การเกิดมีชีพ) 3.9 27.9 24.7 20.5 4.2 37.5 7. อัตราตายปริกำเนิด (ต่อ 1000 การเกิดทั้งหมด) 7.5 8.4 7.3 8.2 66 5.4

1. อัตราการคลอดปกติและคลอดผิดปกติ ปี 2550-2555 แผนมิภูแสดง อัตราการคลอดปกติและคลอดผิดปกติปี 2550-2555 การคลอดปกติ การคลอดผิดปกติ หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน ร้อยละ 10 ตารางแสดง อัตราการคบอดปกติแบะคลอด ผิดปกติปีงบประมาณ 2550-2255 การคลอด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 การคลอด ปกติ 68.6 67.2 67.7 67.5 65.1 64.3 การคลอด ผิดปกติ 31.4 32.8 32.3 32.5 34.9 35.7 - การผ่าท้อง คลอด 85.9 84.6 86.4 86.9 88.7 90.2 - ใช้คีมคีบ 1.9 2.4 2.5 3.1 1.5 1.2 - ใช้เครื่อง สุญญากาศ 10.9 11.7 9.8 8.9 9.0 7.9 - ท่าก้น 1.3 1.1 1.0 0.8 การคลอดปกติและผิดปกติ ปี 2550-2555 พบว่าการคลอดปกติมีแนวโน้มลดลงคิดเป็นร้อยละ 68.6, 67.2, 67.7, 67.5, 65.1 และ .64.2 ส่วนการคลอดผิดปกติมีแนวโน้มสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 31.4,32.8,32.3,32.5,34.9 และ 35.9 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาวิธีการคลอดผิดปกติ พบว่าการผ่าท้องคลอดสูงกว่าวิธีการคลอดผิดปกติอื่น และเพิ่มขึ้นในทุกปี คือ ร้อยละ 85.9, 84.6, 86.4, 86.9,88.7 และ 32.4

2. อัตราแม่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี แผนมิภูแสดง อัตราแม่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน ร้อยละ 10 ตารางแสดง อัตราแม่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกินร้อย ละ 10 จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพงเ พชร 18.9 21.6 22.6 25.1 24.0 24.9 นครสวร รค์ 21.0 20.8 22.3 22.2 21.7 พิจิตร 20.9 21.1 21.8 19.9 22.9 อุทัยธานี 16.8 20.3 22.1 23.5 22.4 เขต 8 19.8 23.1 22.5 ระดับเขต ระดับประเทศ อัตราแม่ที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี ในระดับประเทศและระดับภาคเหนือมีแนวโน้มสูงขึ้น การดำเนินงานระดับเขต ตั้งแต่ปี 2550-2555 มีแนวโน้มสูงขึ้น ในอัตรา 19.8,21.0,22.2,22.4,23.1 และ 22.5 ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายจังหวัดพบว่า ทุกจังหวัดมีแนวโน้มสูงขึ้น โดยในปี 2555 มีหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดสูงกว่าเป้าหมาย (เป้าหมายไม่เกิน 10) ในทุกจังหวัด สูงสุดในปี 2555คือ จังหวัดกำแพงเพชรร้อยละ 24.9 รองลงมาคือจังหวัดอุทัยธานี ร้อยละ 22.4

3. อัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอด 4 ครั้งตามเกณฑ์ แผนมิภูแสดง อัตราการได้รับการดูแลก่อนคลอด 4 ครั้งตามเกณฑ์ หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ร้อยละ 90 ตารางแสดง อัตราการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกินร้อย ละ 90 จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพง เพชร 76.4 75.8 78.6 88.0 78.5 78.8 นครสว รรค์ 80.6 79.9 81.5 81.7 83.8 87.1 พิจิตร 79.2 82.5 82.6 85.1 อุทัยธา นี 87.2 88.9 88.3 90.4 89.8 90.0 เขต 8 80.4 81.2 84.5 82.9 84.9 ระดับเขต การดูแลก่อนคลอดพบว่า หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอด 4 ครั้งตามเกณฑ์ ปี พ.ศ. 2550-2555 มีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ก็ยังต่ำกว่าเป้าหมาย (เป้าหมายร้อยละ 90) โดยในปี 2555 มีการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ของเขตร้อยละ 84.9 และจังหวัดอุทัยธานีสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย คือ มีการฝากครรภ์ร้อยละ 90

4. ภาวะโลหิตจางหญิงตั้งครรภ์ แผนมิภูแสดง ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน ร้อยละ 10 ตารางแสดงภาวะโลหิตจางในหญิง ตั้งครรภ์ หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกินร้อย ละ 90 จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพง เพชร 15.8 13.7 17.4 24.7 นครสว รรค์ 17.3 16.6 19.2 18.5 17.2 พิจิตร 17.7 24.2 22.4 21.4 24.1 อุทัยธา นี 19.7 22.2 21.3 20.2 18.6 18.2 เขต 8 16.7 19.4 21.1 ระดับเขต ระดับประเทศ ภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ พบว่าปี 2550-2555 ผลการดำเนินงานระดับเขต มีแนวโน้มสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 17.3,16.7.19.4,19.2,18.2 และ 21.1 ตามลำดับ ในปี 2555 จังหวัดที่มีหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางสูงสุดคือ จังหวัดกำแพงเพชรร้อยละ 24.7 รองลงมา จังหวัดพิจิตร ร้อยละ 24.1

5. อัตราการติดเชื้อ HIV ในหญิงตั้งครรภ์ หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 10 ไม่เกิน ร้อยละ 10 ตารางแสดง อัตราการติดเชื้อ HIV ใน หญิงตั้งครรภ์ หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 10 ไม่เกินร้อย ละ 1 จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพงเ พชร 0.6 0.5 นครสว รรค์ 0.4 พิจิตร 0.7 อุทัยธา นี เขต 8 ระดับเขต ระดับประเทศ การติดเชื้อ HIV ในหญิงตั้งครรภ์ การดำเนินงานระดับประเทศปี 2500-2555 พบหญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อ HIV ลดลง ร้อยละ 0.6,0.6,0.6,0.6 และ 0.5 ตามลำดับ ในปี 2555 จังหวัดที่มีผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมาย สูงถึง 3 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชรนครสวรรค์ และพิจิตร ร้อยละ 0.5

6. อัตรามารดาตาย แผนมิภูแสดง อัตรามารดาตาย ตารางแสดง อัตรามารดาตาย หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่ เกินร้อยละ 18:แสนการเกิดชีพ จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพงเ พชร 29.8 16.6 15.9 39.9 นครสว รรค์ 9.4 37.7 30.5 18.8 38.8 พิจิตร 21.9 อุทัยธา นี 58.5 30.3 62.7 80.1 เขต 8 3.9 27.9 24.7 20.5 4.2 37.5 หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน ร้อยละ 18:แสนการเกิดชีพ ระดับเขต ระดับประเทศ การตายมารดาพบว่า อัตราส่วนการตายมารดา ต่อ 100,000 การเกิดมีชีพ ปี 2550-2555 ในภาพของเขตมีแนวโน้มลดลงต่ำกว่าเป้าหมาย (18:การเกิดมีชีพ) แต่การดำเนินงานในปี 2555 ในรอบ 9 เดือน ผลการดำเนินงานทั้งในภาพเขตและภาพจังหวัด มีผลการดำเนินงานสูงขึ้น คือจังหวัดอุทัยธานีกำแพงเพชร และนครสวรรค์ ในอัตรา 80.1,39.9 และ 38.8 ตามลำดับ

7. อัตราสาเหตุการตายของมารดา ตารางแสดง อัตราสาเหตุการตายของมารดา สาเหตุ 2550 2551 2552 2553 2554 2555 1. ตกเลือด 1 2.การติด เชื้อ 33.3 100 3.ความดัน โลหิตสูง 57.1 20.0 4.น้ำคร่ำอุด ตัน 14.3 60.0 2 5.สาเหตุ ทางอ้อม 28.6 4 สาเหตุการตายของมารดา ตั้งแต่ ปี 2550-2555 ส่วนใหญ่ตายจากสาเหตุทางอ้อม เช่น เป็นมาลาเรีย เบาหวาน และตายจากน้ำคร่ำอุดตัน

8. อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม แผนมิภูแสดง อัตราทารกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน ร้อยละ 7 ตารางแสดง อัตราทารกเกิดน้ำหนัก น้อยกว่า 2,500 กรัม หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่ เกินร้อยละ 7 จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพง เพชร 9.1 9.4 10.3 9.5 10.6 9.8 นครสว รรค์ 8.9 7.8 8.6 9.7 8.7 8.4 พิจิตร 7.4 7.1 7.7 8.3 อุทัยธา นี 8.5 7.6 7.5 9.0 เขต 8 8.2 8.8 ระดับเขต ระดับประเทศ ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ในภาพเขตมีแนวโน้มสูงขึ้น ร้อยละ 8.6, 8.2, 8.8, 9.5,9.0 และ 8.8 ซึ่งสอดคล้องกับผลการดำเนินงานระดับประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกัน

9. อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด แผนมิภูแสดง อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิด หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 30:1000การเกิดมีชีพ ตารางแสดง อัตราการขาดออกซิเจนใน ทารกแรกเกิด หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 30:1000 การเกิดมีชีพ จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพงเ พชร 25.9 37.9 37.1 24.0 24.3 25.8 นครสว รรค์ 29 22.4 21.2 28.8 29.1 25.5 พิจิตร 19.2 18.0 17.3 16.2 16.5 17.7 อุทัยธา นี 26.7 23.9 24.5 20.7 18.3 เขต 8 26.1 25.3 24.7 23.0 ระดับเขต ระดับประเทศ อัตราการขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดมีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2550-2555 ในอัตรา 26.1,25.8,25.3,24.7,24.5 และ 23.0 ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายจังหวัดพบว่าในปี 2555 ทุกจังหวัดในเขต 8 มีเด็กแรกเกิดมีภาวะขาดออกซิเจนในอัตราที่ดี คือ น้อยกว่าเป้าหมาย (เป้าหมาย 30:1000 การเกิดมีชีพ) และจังหวัดที่มีอัตราการขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิดน้อยที่สุด คือจังหวัดพิจิตร และอุทัยธานี ในอัตรา 17.7 และ 18.3 ตามลำดับ

10. อัตราตายปริกำเนิด แผนมิภูแสดง อัตราตายปริกำเนิด หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน 9:1000 การเกิดทั้งหมด ตารางแสดง อัตราตายปริกำเนิด หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน 9:1000 การเกิดทั้งหมด จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 2555 กำแพงเ พชร 7.3 8.9 7.7 7.4 4.1 นครสว รรค์ 8.5 9.0 8.2 8.3 4.7 4.6 พิจิตร 6.7 7.5 5.9 8.4 3.8 อุทัยธา นี 6.6 5.7 9.1 5.3 6.1 เขต 8 7.6 4.9 5.4 ระดับเขต ระดับประเทศ อัตราตายปริกำเนิดในภาพเขตมีแนวโน้มลดลง ในปี 2550-2555 ในทุกจังหวัดในเขต มีการดำเนินงานได้ดีกว่าเป้าหมาย (ไม่เกิน 9:1000 การเกิดทั้งหมด) ในอัตรา 7.6,8.4,7.3,8.2,4.9 และ 5.4 ตามลำดับ จังหวัดที่มีผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมาย คือ มีอัตราตายปริกำเนิดน้อยที่สุดคือจังหวัดพิจิตรและนครสวรรค์ ในอัตรา 3.8 และ 4.6 ตามลำดับ

11. อัตราสาเหตุการตายทารกปริกำเนิด ตารางแสดง สาเหตุการตายทารกปริกำเนิด ปี 2550 - 2554 สาเหตุ 2550 2551 2552 2553 2554 2555 1.ตายเปื่อย 39.9 38.6 37.7 27.2 33.6 2.ตายคลอดสด 7.5 4.5 4.4 15.4 14.2 10.8 3.พิการแต่กำเนิด 15.6 10.1 11.4 8.6 8.3 3.9 4.คลอดก่อน กำหนด 9.8 13.5 12.0 16.0 4.1 13.8 5.ขาดออกซิเจน ขณะคลอด 15.0 20.3 15.2 10.3 3.6 7.9 6.สาเหตุเฉพาะใน มารดา 5.2 3.4 3.8 1.7 1.9 7.สาเหตุเฉพาะใน ทารก 4.6 5.6 6.9 1.2 2.9 8.ไม่ทราบสาเหตุ 2.3 7.6 6.7 9.9 รวม 100 สาเหตุการตายปริกำเนิด ในปีงบประมาณ 2550-2555 ส่วนใหญ่เกิดจากการตายเปื่อยยุ่ย คิดเป็นร้อยละ 39.9,39.9.38.6,37.7,27.2และ 33.6 ตามลำดับ รองลงมา ตายจากการคลอดก่อนกำหนด คิดเป็นร้อยละ 9.8,13.5,12.0,16.0,4.1 และ 13.8 ตามลำดับ

12. อัตราการติดเชื้อ HIV ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน ร้อยละ 3.7 ตารางแสดง อัตราการติดเชื้อ HIV ในเด็ก อายุต่ำกว่า 2 ปี หมายเหตุ เป้าหมายแผนฯ 11 ไม่เกิน ร้อยละ 3.7 จังหวัด 2550 2551 2552 2553 2554 กำแพง เพชร 6.7 3.7 10 นครสว รรค์ 1.9 6.9 2.1 2.9 พิจิตร อุทัยธา นี 4.3 5.6 เขต 8 2.2 3.9 3 ระดับเขต ระดับประเทศ อัตราการติดเชื้อ HIV ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ในปี 2550-2555 มีแนวโน้มลดลงทั้งในระดับเขต ในการดำเนินงานของเขตใน 3 จังหวัด มีการดำเนินงานได้ตามเป้าหมาย ตั้งแต่ปี 50-55 มีเพียง 1 จังหวัดที่ผลการดำเนินงานในปี 2554 ยังสูงกว่าเป้าหมาย (ไม่เกินร้อยละ 3) คือจังหวัดกำแพงเพชร ร้อยละ 10.0

สรุป สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก เป็นข้อมูลจัดเก็บ ตามรอบปีงบประมาณ ที่รวบรวมยอดอย่างต่อเนื่องจากงานบริการ ในสถานบริการสาธารณสุขทำให้เห็นแนวโน้มของดัชนีวัด งานอนามัยแม่และเด็กในภาพรวม เพื่อให้การเฝ้าระวัง และพัฒนาบริการ การดูแลสุขภาพมารดาและทารก มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น