สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แนวทางการสนับสนุนการดำเนิน งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1 ปีงบประมาณ 2555.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ขั้นตอนการให้บริการ ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แนวทางการสนับสนุนการดำเนิน งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1 ปีงบประมาณ 2555

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE กรอบการบริหารงบ P&P   เป็นการบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัว แก่ คนไทยทุกสิทธิ   เป็นค่าชดเชยบริการตามชุดสิทธิประโยชน์และ ค่าบริการเพิ่มเติม ให้หน่วยบริการ สถานพยาบาล หรือองค์กรอื่นๆ ที่จัดบริการ P&P   เป็นค่าแก้ไขปัญหาสาธารณสุข (P&P) เฉพาะ พื้นที่ และหรือภาพรวมประเทศ   เป็นค่าสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE เป้าประสงค์การดำเนินงาน เพิ่มการเข้าถึงและความครอบคลุมบริการสร้าง เสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพิ่มคุณภาพชีวิตและลดภาระโรคที่เป็นปัญหา สำคัญของประเทศ 3

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE กรอบการบริหารงบ P&P ปี (1) NPP& Central procurement (22.50 ) (2) P&P Express Demand (128.72) (3 ) P&P Area based (57.42) (4) สนับสนุน และส่งเสริม การจัดบริการ (7.68) (5) ทันตกรรม ส่งเสริม (16.60) กองทุน อปท. (40.00) Area problem ระดับเขต/จังหวัด & คุณภาพ (17.42+ส่วนที่ เหลือจากกองทุน ตำบล) หน่วยบริการ Specific gr & activity (55.62) Capitation (73.10) หักเงินเดือน P&P Capitation ( บาท x ปชก. ทุกสิทธิ ล้านคน) คำนวณจาก บาท/ ปชก.UC ล้านคน

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 1.1 NPP บริหารจัดการโดยส่วนกลาง ในรูปคกก.เป็นการเฉพาะใน แต่ละแผน เป็นค่าสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ และ/หรือ ค่าบริการของแผนงานนั้น เช่น การพัฒนาศักยภาพ บุคลากร การพัฒนาระบบสารสนเทศ การพัฒนาระบบการ กำกับ ติดตามประเมินผล การนำร่องการจัดบริการ สาธารณสุขแนวใหม่ เป็นต้น 5 1. NPP &Central procurement (1)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แผนงาน NPP ที่จะดำเนินการ ปี 2555 แผนงานเดิม/มีมติแล้ว 1. แผนงานป้องกันและเฝ้า ระวังโรคซึมเศร้า 2. แผนงานคัดกรองป้องกัน และควบคุมโรคมะเร็ง 3. แผนงานควบคุมป้องกัน การติดเชื้อ HIV แผนงานเสนอเพิ่มเติมใหม่ 4. แผนงานเด็กฉลาด พัฒนาการดี 5. แผนงานควบคุมป้องกันปัจจัย เสี่ยงต่อโรคเบาหวานความดัน โลหิตสูง 6. แผนงานสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคในกลุ่มแรงงานและ ข้าราชการ 7. แผนงานสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันความเสี่ยงในกลุ่มวัยรุ่น 8. แผนงานควบคุม ป้องกันโรค Thalassemia ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ และระบบบริการ (กค.54) ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ และระบบบริการ (กค.54)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 1.2 Central procurement 1) EPI vaccine 2) Influenza vaccine 3) สมุดบันทึกสุขภาพ 3.1) สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก 3.2) สมุดบันทึกสุขภาพนักเรียน 7 1. NPP & Central procurement (2) Influenza vaccine กระทรวงสาธารณสุขโดยกรม คร. และ สปสช. รณรงค์ฉีดวัคซีนระหว่าง 1 มิ. ย ก. ย กลุ่มเป้าหมาย : ผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไปทุกสิทธิ และ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 โรคทุก สิทธิ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 2. P&P Express Demand (1) 8 จัดสรรเป็น 2 แบบดังนี้ 2.1 PPE-UC PPE-Capitation ตามจน.ปชก.UC PPE-Specific gr. & activity ตาม ปชก.เป้าหมาย 2.2 PPE-Non UC สปสช.จังหวัด/เขต/ส่วนกลาง PPE-Specific gr. & activity

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE Non UC (128.72) UC (128.72) หน่วย บริการ จัดสรรตาม Specific gr&activity (55.62) จัดสรรตาม ปชก. UC (73.10) หักเงินเดือน P&P Express Demand ( บาท ต่อปชก. ทุกสิทธิ) สปสช. จังหวัด (24.66) สำนักงาน/ เขต บริการ PP แก่ ปชก. ทุกสิทธิ จัดสรรตาม Specific gr&activity (67.68) จัดสรรตาม Specific gr&activity (58.86)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE UC PPE-Capitation ตามจน.ปชก.UC เพื่อเป็นการเหมาจ่ายค่าบริการ PP ทั่วไป และหรือ ปัญหาสำคัญระดับประเทศ สำหรับปชก.ทุกสิทธิ แก่ หน่วยบริการประจำ ตามยอดที่ปรับเกลี่ยแล้วจาก จังหวัด จัดสรรแบบ flat rate อัตรา บาท/ปชก. ตาม จำนวนปชก. UC (ใช้ข้อมูลปชก. UC ณ 1 กค.54) 2. P&P Express Demand(2)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE PPE-Specific gr.&activity   เพื่อเป็นค่าบริการแบบเหมาจ่ายตามชุดกิจกรรมที่กำหนดใน 5 กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด, เด็ก 0-5 ปี เด็ก 6-12 ปี,ผู้ใหญ่ ปี,ผส.60 ปีขึ้นไป   จัดโอนให้แก่หน่วยบริการประจำโดยตรง ตามยอดที่ปรับเกลี่ยแล้ว จากจังหวัด 2. P&P Express Demand(3)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE Non UC สปสช.สาขาจังหวัด   เพื่อเป็นค่าบริการ PP เชิงรุกสำหรับปชก.สิทธิ SSS + CSMBS ให้แก่ หน่วยบริการ สถานพยาบาล หน่วยงานอื่นๆ   สปสช.เขต จัดสรรผ่านสสจ.เพื่อบริหารจัดการให้เกิดการบริการ เชิงรุก ภายใต้ เงื่อนไข บริการ หลักเกณฑ์ วิธีการที่ สปสช.เขต กำหนด   จัดสรรแบบ flat rate อัตรา บาท/ปชก. ตามจำนวนปชก. สิทธิ Non UC (ปชก. SSS ใช้ข้อมูลจน.ปชก.ตามที่ตั้งโรงงาน จากสปส. ณ 1 กค.54 ปชก. CSMBS ใช้ข้อมูลจากศูนย์ทะเบียน ณ 1 กค.54) 2. P&P Express Demand(4)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ส่ำนักงาน/เขต   สปสช. จัดทำสัญญา/ข้อตกลงบริการกับหน่วยบริการ สถาบันการศึกษา หน่วยงาน /องค์กร/กลุ่มของผู้มีสิทธิ SSS หรือ CSMBS เพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการ PP กลุ่ม Non UC 2. P&P Express Demand(5)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE จัดสรรเพิ่มเติมSpecific gr.&activity   เพื่อเป็นค่าบริการแบบเหมาจ่ายตามชุดกิจกรรมที่กำหนดใน 5 กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด, เด็ก 0-5 ปี เด็ก 6-12 ปี,ผู้ใหญ่ ปี,ผส.60 ปีขึ้นไป   จัดโอนให้แก่หน่วยบริการประจำโดยตรง ตามยอดที่ปรับเกลี่ยแล้ว จากจังหวัด 2. P&P Express Demand(6)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE PPE-Specific gr.&activity   กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด 2. P&P Express Demand(7) กิจกรรมบริการกลุ่มเป้าหมายการจัดสรรงบ ครอบคลุม ANC ตามคู่มือกรมอนามัย หญิงตั้งครรภ์100% Thalassemiaหญิงตั้งครรภ์100% PNCหญิงหลังคลอด100% Depression screeningหญิงตั้งครรภ์ + หญิงหลัง คลอด 50% FPหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงาน100% กิจกรรม Thalassemia ไม่รวมถึงกรณีการตรวจยืนยัน ในหญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส ซึ่ง สปสช. จ่ายจากงบ NPP

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE PPE-Specific gr.&activity   กลุ่มเด็ก 0-5 ปี 2. P&P Express Demand(8) กิจกรรมบริการกลุ่มเป้าหมายการจัดสรรงบ ครอบคลุม EPI ของแต่ละช่วงอายุ เด็ก 0-1 ปี 2-3 ปี 4-5 ปี 100% การตรวจร่างกายการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ การติดตามการเจริญเติบโต ประเมินพัฒนาการ และความฉลาดทาง อารมณ์ 0-5 ปี100% การตรวจคัดกรอง TSHแรกเกิด100% กิจกรรมการตรวจ TSH ไม่รวมถึงกรณีการตรวจยืนยัน และการติดตามรายที่ผล ผิดปกติ ซึ่งกำหนดไว้ในงบ PPA

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE PPE-Specific gr.&activity   กลุ่มเด็ก 6-12 ปี 2. P&P Express Demand(9) กิจกรรมบริการกลุ่มเป้าหมายการจัดสรรงบ ครอบคลุม การตรวจสุขภาพทั่วไป การติดตามการ เจริญเติบโต เด็ก 6-12 ปี100% การตรวจการได้ยินเด็ก ป.1 และ ป.6100% การตรวจวัดสายตา EPI

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE PPE-Specific gr.&activity   กลุ่ม ปี 2. P&P Express Demand(10) กิจกรรมบริการกลุ่มเป้าหมายการจัดสรรงบ ครอบคลุม CxCA Screening เพศหญิง ปี เพศหญิง13% Depression Screening30-60ปี ที่ป่วยด้วยโรค เรื้อรัง 100% Metabolic screening & behavior modification 30-60ปี45% 1)กิจกรรมการคัดกรอง CxCA มุ่งเน้นการคัดกรองหญิงที่ไม่เคยได้รับการตรวจมาในปี 53 และ 54 โดยการทำ Pap smear หรือ VIA 2)กิจกรรมการคัดกรอง Depression มุ่งเน้นคัดกรองกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE PPE-Specific gr.&activity   กลุ่ม ≥60 ปี 2. P&P Express Demand(11) กิจกรรมบริการกลุ่มเป้าหมายการจัดสรรงบ ครอบคลุม Depression Screening≥60ปี100% Metabolic screening & behavior modification ≥60ปี45%

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ขั้นตอนการจัดสรร /จัดโอนงบข้อ 2.1, ) สปสช.แจ้งยอดวงเงินที่จะได้รับตลอดทั้งปีรวมทั้งเป้าหมายการ ดำเนินงานในแต่ละกลุ่ม ผลผลิตผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นไปยัง เขต + สาขาจังหวัด 2) อปสจ.ปรับเกลี่ยเป้าหมาย และเงินค่าบริการแจ้งกลับมายังสปสช. ส่วนกลางผ่าน สปสช.เขต 3) สปสช.จัดโอนค่าบริการตามยอดที่ปรับเกลี่ยแล้วลงสู่หน่วยบริการ โดยตรง P&P Express Demand (12)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ขั้นตอนการจัดสรร /จัดโอนข้อ ) สปสช.เขตจัดสรรวงเงิน ให้แก่ จังหวัด โดย คกก. ปกส.จังหวัด หรือ อปสจ. เพื่อบริหารจัดการบริการ P&P เชิงรุกแก่ประชากรไทยสิทธิประกันสังคม และข้าราชการ ในพื้นที่ 2) เงื่อนไขบริการ หลักเกณฑ์ วิธีการและอัตรา เป็นไป ตามที่ สปสช.เขตกำหนด P&P Express Demand(13)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำหรับเขตบริการสาธารณสุขนำร่อง (เขต 9 และ 13 ) สามารถกำหนดแนวทางการจ่ายเป็นอย่างอื่นได้ แต่ ต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. และต้องได้ข้อมูล ผลผลิต ผลลัพธ์การบริการตามที่กำหนด P&P Express Demand(14)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 3.1 กองทุนอปท. - - จัดสรร flat rate อัตรา 40 บาท/ปชก. ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2554 Global ระดับเขต - - ครอบคลุมกิจกรรม/กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. Activity based ได้แก่ การคัดกรองความเสี่ยงในชุมชน การจัดการ ข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ อนามัยโรงเรียน สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ 2.Target based ได้แก่ กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง P&P Area based (1)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 3.2 บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่บริหารโดย สปสช.สาขาจังหวัด - สปสช.แจ้งวงเงินให้แก่ สปสช.เขตทราบ เพื่อกำหนดเงื่อนไข หลักเกณฑ์ วิธีการ จัดสรรให้แก่จังหวัด - จัดสรรเป็นค่าบริการในกิจกรรม ดังนี้ 1) บริการเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพเฉพาะในพื้นที่ หรือตามแผนงาน NPP 2) บริการร่วมที่มีความจำเป็นต้องดำเนินการในระดับจังหวัด เช่น การติดตาม เด็กที่มีผล TSH ผิดปกติเพื่อให้บริการตรวจยืนยัน TSH การตรวจคัดกรองต้อกระจก ฯลฯ 3) จัดบริการเชิงรุกเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ 4) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรเอกชน /ภาคเอกชน ร่วมให้บริการ PP 5) อื่นๆ - จัดโอนตามยอดที่ สปสช.เขตแจ้งให้แก่จังหวัด ไม่เกิน 2 งวด งวดที่ 1 ภายใน ธค. 54, งวดที่ 2 ภายใน มิย P&P Area based (2)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE จัดสรรตามเกณฑ์คุณภาพ (P4P)บริหารโดยสาขาจังหวัด   สปสช.สาขาจังหวัดกำหนดประเด็นกระบวนการบริการและบริหารจัดการที่เป็น ปัญหาร่วมของหน่วยบริการปฐมภูมิในจังหวัด ซึ่งจังหวัดมุ่งหวังให้หน่วยบริการ ปฐมภูมิมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง และจัดทำเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพเชิง กระบวนการ วิธีการประเมินและอัตราการจ่ายโดยสอดคล้องกับเงื่อนไข หลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราการจ่ายที่ตกลงกับสปสช.เขต พร้อมทั้งสำเนาให้ สปสช.เขตทราบ 3. P&P Area based (3)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE กรอบกิจกรรม พัฒนากลไกการบริหารจัดการและการบริการของหน่วยบริการ/ หน่วยบริหารในระดับตำบล อำเภอ จังหวัดให้เข้มแข็ง พัฒนาศักยภาพบุคลากรทั้งการบริการและการจัดการของหน่วย บริการและหน่วยบริหาร รวมถึงการพัฒนาศักยภาพกองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พัฒนาสารสนเทศให้มีข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องในฐานข้อมูล ของหน่วยบริการ และมีข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ ติดตาม และ ประเมินผลระดับอำเภอ จังหวัด เขต และประเทศ การนิเทศติดตาม กำกับและประเมินผลโดยส่วนกลางและพื้นที่ พัฒนารูปแบบบริการโดยภาคประชาชนตลอดจนนวตกรรมการ บริการและการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค งบสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ PP(1)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การจัดสรร - วงเงินไม่เกิน 300 ลบ.สปสช.จัดสรรวงเงินเป็น ภาพรวม สปสช.เขต ตามจน.จังหวัดและหน่วยบริการ 1) จัดสรรขั้นต่ำเท่ากันทุกจังหวัดอัตรา 3 ลบ. 2) กรณีจังหวัดที่มีจน.หน่วยบริการประจำมากกว่า 14 แห่ง ได้รับจัดสรรเพิ่มอีก - วงเงินที่เหลือ บริหารจัดการโดยสปสช.ส่วนกลาง + เขต - การจัดโอนจะบูรณาการไปพร้อมกับงบอื่นๆที่ลงสู่จังหวัด ได้แก่ บริการปฐมภูมิ งบทันตกรรมส่งเสริม งบฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางการแพทย์ งบแพทย์แผนไทย งบบริการควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเรื้อรัง 4. งบสนับสนุน ส่งเสริมการจัดบริการ PP (2)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การติดตามและประเมินผล   การสำรวจในชุมชนภาคตัดขวางทุกปี ทันเวลา - กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเป้าหมายบริการ - แสดงภาพความเป็นตัวแทนจังหวัด เขต ประเทศ - ความถี่: ทุกปี - ดำเนินการโดยสถาบันทางวิชาการที่เป็นอิสระ   ระบบรายงาน - 18 แฟ้ม (OP/PP/IP individual record) - โปรแกรมเฉพาะ(Cervical screening) - รายงานจากจังหวัด การรายงานการใช้งบส่งเสริม สนับสนุนการจัดบริการ 28

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ต้องการ สัดส่วนหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับบริการฝากครรภ์ สัดส่วนการฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ ≤12 สัปดาห์ สัดส่วนทารกแรกเกิดที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ สัดส่วนเด็กที่ได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สัดส่วนเด็กนักเรียนที่ได้รับบริการอนามัยโรงเรียน สัดส่วนหญิงอายุ ปีที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปาก มดลูก สัดส่วนผู้ใหญ่อายุ 30 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองภาวะ ซึมเศร้า สัดส่วนผู้ใหญ่อายุ 30 ปีขึ้นไปที่ออกกำลังกายพอเพียง ฯลฯ 29

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แนวทางบริหารงบ P&P ปี2555 ที่ต่างจากปี 2554 (1) NPP   ดำเนินงานโดยคณะกรรมการ Steering ของแต่ละแผนงาน ซึ่งมีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง   ปรับปรุงการบริหารจัดการงบ NPP ใหม่โดยเน้นเรื่อง/ ประเด็นที่มีความสำคัญระดับประเทศและต้องการการจัดการ PPE   ปรับการจ่ายแบบ itemized ตามผลงานในปี เป็นจ่ายตามชุด กิจกรรมของกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ   ส่วนที่เหลือจ่ายในอัตราเดียวกัน(Capitation)   ให้สปสช.จังหวัดเป็นผู้ปรับเกลี่ยงบประมาณ 30

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE PPE   จัดสรรงบ Non UC (บางส่วน)ให้ สปสช.จังหวัดบริหาร   ยกเลิกการส่งข้อมูล itemized ยกเว้นการคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก PPA   เน้นการจ่ายเพื่อเป็นค่าบริการP&Pที่ต้องดำเนินการใน ระดับจังหวัด(ไม่ใช้เพื่อพัฒนาระบบ)   เพิ่มการจ่ายตามคุณภาพบริการของบริการปฐมภูมิ เพิ่มงบสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการ P&P 31 แนวทางบริหารงบ P&P ปี2555 ที่ต่างจากปี 2554 (2)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 32