Ubiquitous Learning การเรียนรู้แบบภควันตภาพ อ.อุบลวรรณ ลิ้มสกุล อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี นำเสนอโดย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ศูนย์บริการลูกค้า ทีโอที สาขาเลย
โรงเรียนฐานเทคโนโลยี ผู้บริหารและคณาจารย์ทุกท่าน
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
แนวทางการบริหารงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Learning Management System : LMS
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
บทที่ 1 : บทนำ อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ วท.ม.,วท.บ.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
แผนระบบสารสนเทศประจำปีงบประมาณ และ แผน e-Faculty ประจำปีงบประมาณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Ubiquitous Learning การเรียนรู้แบบภควันตภาพ อ.อุบลวรรณ ลิ้มสกุล อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี นำเสนอโดย

หัวข้อนำเสนอ ความหมายของการเรียนแบบภควันตภาพ คุณลักษณะของการเรียนแบบภควันตภาพ สภาพแวดล้อมในการเรียนแบบภควันตภาพ โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเรียนแบบภควันตภาพ ปัจจัยที่ส่งต่อความสำเร็จในการเรียนแบบภควันตภาพ แนวโน้มในการพัฒนาการเรียนแบบภควันตภาพในประเทศไทย ข้อดี ข้อจำกัด การเรียนแบบภควันตภาพ

e-Learning สู่ u-Learning e-Learning จะเน้นเรื่องของคอมพิวเตอร์และเน็ตเวิร์ก m-Learning เน้นเรื่องของอุปกรณ์มือถือและการติดต่อสื่อสารแบบไร้สาย u-Learning เน้นเรื่องของเทคโนโลยีเซนเซอร์ อุปกรณ์มือถือและการติดต่อสื่อสาร แบบไร้สาย Liu and Hwang,2009

นวัตกรรมและสารสนเทศออนไลน์, ปรัชญนันท์ นิลสุข

ความหมายของการเรียนแบบภควันตภาพ Junqi et al. (2010) กล่าวว่า เป็นการพัฒนาการเรียนรู้ในรูปแบบของสื่อดิจิตอล เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ตามความต้องการของผู้เรียน โดยใช้อุปกรณ์พกพา ไม่ จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สร้างความรู้และหาความรู้ได้ด้วยตัวเอง

ความหมายของการเรียนแบบภควันตภาพ Junqi et al. (2010) ได้สรุปความหมายการเรียนแบบภควันตภาพไว้ดังนี้ Anywhere สามารถเข้าถึงได้ทั่วโลกที่มีการเชื่อมโยงผ่านระบบเครือข่าย Anytime สามารถเรียนได้ตามเวลาที่ผู้เรียนต้องการ Any data สามารถเข้าถึงในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อีเมล์ การบริการสาธารณะ อินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต Any device สามารถใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการเรียนได้เช่น แท็บเล็ตพีซี พีดีเอ และ โทรศัพท์มือถือ เป็นต้น

ความหมายของการเรียนแบบภควันตภาพ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2555) กล่าวว่า การเรียนแบบภควันตภาพ เป็นศัพท์ใหม่ที่บัญญัติขึ้นมาในช่วงการพัฒนาการเรียน ด้วยแท็บเล็ต ของไทย ภควันต ตรงกับคำว่า Broadcast หรือ Ubiquitous (Existing Everywhere) หมายถึง การแพร่กระจายและการทำให้ปรากฏอยู่ทุกหนทุกแห่ง สามารถรับฟัง รับชม และรับรู้ได้ทุกเวลา เรียกรวมว่า ภควันตภาพ

คุณลักษณะของการเรียนแบบภควันตภาพ Yahya et al.(2010) แบ่งคุณลักษณะเป็น 5 ด้านดังนี้ 1.ความคงทน ถาวร (Permanency) ข้อมูลจะมีอยู่จนกว่าผู้เรียนจะลบข้อมูลของตนเอง ชิ้นงานทุกชิ้น ที่เกิดจากการกระบวนการเรียนรู้จะถูกบันทึกไว้อย่างต่อเนื่อง 2.ความสามารถในการเข้าถึงได้ตลอดเวลาตามที่ผู้เรียนต้องการ (Accessibility) 3.ความรวดเร็วในการแสดงผล (Immediacy) เมื่อผู้เรียนต้องการข้อมูล 4.มีการปฏิสัมพันธ์ (Interactivity) ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน หรือ ผู้เชี่ยวชาญ และปฏิสัมพันธ์กับสื่อการสอน 5. บริบทของผู้เรียน (Context Awareness) ในกระบวนการจัดการเรียนการสอนผู้เรียน สามารถรับรู้บริบทของการเรียน ของกลุ่ม ผ่านการแจ้งเตือนไปยังอุปกรณ์พกพาของผู้เรียน

สภาพแวดล้อมในการเรียนแบบภควันตภาพ การออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนแบบภควันตภาพ ได้ประยุกต์ใช้ทฤษฎีการ เรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ในการออกแบบ ซึ่ง Jacobs (1999) กล่าวว่า การใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ในการออกแบบการศึกษาจะช่วยเชื่อมโยงข้อมูล ความรู้ของผู้เรียนเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้

สภาพแวดล้อมในการเรียนแบบภควันตภาพ มีองค์ประกอบดังนี้ 1.คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Mobile Devices) 2. ระบบบริหารจัดการเรียนรู้แบบภควันตภาพ(u-LMS) 3. เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย (Wireless Technology) 4. บริบทผู้เรียน (Context Awareness)

โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเรียนแบบภควันตภาพ ประยูร และ สุพันธ์ (2545) กล่าวว่า โครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเรียนแบบภค วันตภาพจำแนกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ 1. เทคโนโลยีพื้นฐาน 2. เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ 3. เทคโนโลยีการเข้าถึง 4. เทคโนโลยีการประยุกต์ใช้งาน

ปัจจัยที่ส่งต่อความสำเร็จในการเรียนแบบภควันตภาพ Andrews, Tynan &Stewart, 2011) ความหลากหลายที่เกิดกับผู้เรียน (Student Diversity) ความพร้อมและความเหมาะสมในเชิงโครงสร้างพื้นฐาน (Appropriate Infrastructure) นโยบายขององค์กร/สถาบัน (Institutional Policy) การสร้างความพร้อมในเชิงวิชาการ (Academic Preparedness) นโยบายภาครัฐ (Government Policy) ความพร้อมในระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ทรงประสิทธิภาพ (Pervasiveness of Mobile Computing Power)

ปัจจัยความสำเร็จในการเรียนแบบภควันตภาพ Ubiquitous Learning Student Diversity Appropriate Infrastructure Institutional Policy Academic Preparedness Government Policy Pervasiveness of Mobile Computing Power ความหลากหลายที่เกิดกับผู้เรียน ความพร้อมและความเหมาะสม ในเชิงโครงสร้างพื้นฐาน นโยบายขององค์กร / สถาบัน การสร้างความพร้อมในเชิงวิชาการ นโยบายภาครัฐ ความพร้อมในระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ที่ทรงประสิทธิภาพ Andrews, Tynan &Stewart, 2012

แนวโน้มในการพัฒนาการเรียนแบบภควันตภาพในประเทศไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนอมพร (2552) กล่าวว่า ดำเนินงานด้านไอทีเพื่อไปสู่ Ubiquitous Campus ปี 2011 นักศึกษาและชุมชนภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่จะสามารถเข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากสารสนเทศได้อย่างครอบคลุม ทุกที่ ทุกเวลา และจากเครื่องมือที่ หลากหลาย การให้บริการการใช้ประโยชน์สารสนเทศเพื่อการสื่อสารการเรียนรู้ เช่น การ ให้บริการ Digital Content ในสื่อรูปแบบใหม่ Game Based Learning สตรีมมิ่ง มีเดีย ผ่านอุปกรณ์เข้าถึงในรูปแบบต่าง ๆ

แนวโน้มในการพัฒนาการเรียนแบบภควันตภาพในประเทศไทย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย,2553) ได้ร่วมมือกับ ไมโครซอฟท์ มุ่งสร้างสังคมการเรียนรู้ยุคดิจิตอลด้วยเทคโนโลยี Cloud Computing แห่งแรกในประเทศไทย เพื่อพัฒนาการศึกษามิติใหม่ Hybrid Learning 2.0 สู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สร้างประสบการณ์ในการเรียนรู้แบบ Cloud-Based Services แก่นักศึกษา

แนวโน้มในการพัฒนาการเรียนแบบภควันตภาพในประเทศไทย มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้พัฒนารูปแบบการศึกษามิติใหม่ เรียกว่า Second Life เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรก ในประเทศไทย ที่เปิดการสอนออนไลน์ในโลกเสมือนจริง เมื่อจบได้ปริญญาเทียบเท่ากับนักศึกษาปกติ เปิดสอน 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรปริญญาโทการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และหลักสูตรปริญญาเอกวิธีวิทยาอีเลิร์นนิ่ง โดยผู้เรียนสามารถ ศึกษาผ่านมือถือได้อีกช่องทางหนึ่ง

ข้อดี ข้อจำกัด การเรียนแบบภควันตภาพ ข้อดี ข้อดี – การเชื่อมต่อกับเครือข่ายไม่ว่าผู้ใช้งานจะเคลื่อนย้ายไปยังสถานที่ต่าง ๆ – การให้บริการที่สามารถเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ทั้งสถานที่และอุปกรณ์ – การบูรณาการ ทำให้เกิดการประโยชน์ต่อประสบการณ์การเรียนแบบกลางแจ้ง (Outdoor) และการเรียนในร่ม (Indoor) ข้อจำกัด – ระบบเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อให้ครอบคลุมถึงขนาด Ubiquitous ต้องใช้การลงทุนมาก – จำนวนผู้ใช้บริการและผู้ที่มีความสามารถในการเข้าถึงยังน้อยไม่คุ้มค่าการลงทุน

ที่มาของข้อมูล ชัยยงค์ พรหมวงศ์. ภาพอนาคตการศึกษาไทย:สู่การศึกษาภควันตภาพ. (คู่มืออบรมปฏิบัติ การบูรณาการใช้คอมพิวเตอร์พกพา(Tablet) เพื่อยกระดับการเรียนการสอน). กรุงเทพฯ: สำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน,2555 สิทธิชัย ลายเสมา. ระบบการเรียนรู้ด้วยทีมเสมือนจริงในภาพแวดล้อมการเรียนแบบภควันต ภาพ โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาเชิง สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และ ทักษะการทำงานร่วมกัน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ,2557

ที่มาของข้อมูล Andrew, T.,Tynan, B. and Stewart, C. Ubiquitous Learning:Issues in the Australian Higher Education Context. Information Age Publishing Inc.,2012 Jacobs, M. Situated Cognition: Learning and Knowledge Related to Situated Cognition. [online] (1999). Available from: URL: paper/situated.htm

ที่มาของข้อมูล Junqi, W., Yumei, Liu. And Zhibin, Liu. “Study of Instructional design in Ubiquitous Learning.” In Second International Workshop on Education Technology and Computer Science : Liu, G.Z and Hwang, G.J. “A key step to understanding paradigm shifts in e-Learning : towards context-aware ubiquitous learning.” British Journal of Educational Technology. 41(2010) :1-9

ที่มาของข้อมูล Yahya, S., Ahmad, E. and Jalil, K. “The definition and characteristics of ubiquitous learning: A discussion. “International Journal of Education and Development using Information and Communication Technology, 6(2010) :