การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด
เปรียบเทียบการ ดำเนินงาน จังหวัดขอนแก่นจังหวัดร้อยเอ็ด 1. นายแพทย์วิทยา ชาติ บัญชาชัย โปรแกรม IS 33 จังหวัด 2. ไม่อยู่ในจังหวัด เป้าหมาย 3. ใช้โปรแกรม IS ทั้ง จังหวัด 3. ใช้โปรแกรม IS เฉพาะ รพท. 4. ผู้รับผิดชอบ IS โดยตรง 4. ผู้รับผิดชอบเวียน 5.TEA Unit ต้นแบบ 5. เพิ่งเริ่ม TEA Unit 6. มีหน่วยงานระดับเขตใน พื้นที่ ( ปภ./ สคร./ กองบัญชาการตำรวจภูธร ภาค 4) 6. สนง. ปภ./ ภ. จว. 7. อัตราตาย 20+/ แสน ปชก
ข้อมูล 3 ฐาน เริ่มต้น อย่างไร 1. รับฟังแนวทางการดำเนินงานจากทีมข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย 2. เชิญ ตัวแทน ภจว. / สภ ทุก สภ.(33 สภ.) หัวหน้างานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ทุก รพ. / ผู้รับผิดชอบงานฯ ปภ./ ผู้จัดการ บ. กลาง คุ้มครองผู้ประสบภัยฯ ผู้แทนแขวงทางหลวง ทางหลวงชนบท ประชุมเพื่อรับฟังแนวทางฯ 3. ตั้งวงคุย การจัดเก็บ การรวบรวมข้อมูล ระยะเวลานำส่ง 4. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ / สะท้อนกลับข้อมูล / นำเสนอทีมบริหาร 5. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ปรับปรุง แก้ไข
รูปแบบ ชุดข้อมูล บ. กลาง ฯ
รูปแบบ ชุดข้อมูล IS ตาย AE
รูปแบบ ชุดข้อมูล IS ตายในตึก
รูปแบบ ชุดข้อมูล ข้อมูลตำรวจ
รูปแบบ ชุดข้อมูล ข้อมูลตำรวจ
รูปแบบ ชุดข้อมูล บูรณาการ 3 ฐาน
รูปแบบ ชุดข้อมูล ข้อมูล รพช.
ปีงบประมาณ 2556 ( ตค.55- กย.56) ตคพย ธค มค กพ มีค เมย. พค. มิย กค สค กย รวม ฐา น ตคพยธคมคกพมีคเม ย พคมิยกคสคกยรว ม สธ บ.บ ตร. รว ม ผลการดำเนินงาน
ปีงบประมาณ 2557 ( ตค.56- กย.57) หน่ว ย ตคพยพย ธคมคกพมีคเม ย พคมิยกคสคกยรว ม สธ บ.บ ตร รวม
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2558 ( ตค.57- กย.58) หน่ วย ตคตค พยพย ธคธค มคมค กพกพ มี ค เม ย พคพค มิ ย กคกค สคสค กยกย รว ม สธ บ. กล าง ตร รว ม
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559 ( ตค.58- กย.59) หน่ วย ตคตค พยพย ธคธค มคมค กพกพ มี ค เม ย พคพค มิ ย กคกค สคสค กยกย รว ม สธ บ. กล าง ตร รวม
ประโยชน์จากการทำข้อมูล 3 ฐาน ใช้ข้อมูล 3 ฐานนำไปสู่การกำหนดและ แก้ไขจุดเสี่ยง โดยได้รับการยอมรับจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และร่วมกันแก้ไข ปัญหา ทำให้ผู้บริหารสนใจรายงานการสอบสวน การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน โดย ให้นำเสนอในที่ประชุมทุกเดือน เกิดมาตรการองค์กรเพื่อความปลอดภัยใน การใช้รถใช้ถนน โดยมีองค์กรทีผ่านการ ประเมินหมวกนิรภัย 100% แล้ว 5 แห่งทั้ง ภาครัฐและเอกชน และดำเนินการขยาย โดย อปท. และ บ. กลาง กำหนดให้สถานศึกษาเข้าร่วมองค์กรสวม หมวกนิรภัยทุกแห่ง
ปัญหาอุปสรรค 1. ภาระงานมาก 2. การรวบรวมข้อมูลล่าช้า 3. บางหน่วยงานไม่เห็น ความสำคัญ 4. ข้อมูลบางหน่วยยังส่งเป็น กระดาษ เสียเวลาจัดการ 5. บางหน่วยงานข้อมูลไม่ครบ เช่น เลข ID 6. ใช้เวลาในการรวบรวมมาก
ข้อเสนอแนะ 1. ข้อมูลสาธารณสุขคิดเป็นร้อย ละ ข้อมูล บริษัทกลางคิดเป็น ร้อยละ ข้อมูลตำรวจ คิดเป็นร้อยละ ควรมีการกำหนดแบบ รายงานกลางที่ง่ายในการเก็บ และข้อมูลครบตามที่ต้องการ (core data)
ข้อเสนอแนะ 5. ควรแยกข้อมูล 3 ฐานราย อำเภอ 6. นำเสนอในเวทีผู้บริหาร บ่อยๆ ( ทุกเดือน ) 7. ใช้ข้อมูล 3 ฐานนำไปสู่ การกำหนดและแก้ไขจุด เสี่ยง 8. แลกเปลี่ยนระหว่างจังหวัด ในเขตเดียวกัน