เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC) นพ. ธนาสิทธิ์ วิจิตราพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC) นพ. ธนาสิทธิ์ วิจิตราพันธ์

องค์ 5 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน องค์ 1 การนำองค์กร และการบริหาร องค์ 2 การวางแผนกลยุทธ์และการบริหารทรัพยากร องค์ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน องค์ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร องค์ 5 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ องค์ 6 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน องค์ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงาน

องค์ประกอบที่ 1 การนำองค์กร และการบริหาร เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

องค์ประกอบที่ 1 การนำองค์กร และการบริหาร องค์ประกอบที่ 1 การนำองค์กร และการบริหาร 120 คะแนน 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายที่แสดงความมุ่งมั่นต่อการ พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ : ผู้นำ / ทีมนำ มีการแสดงความมุ่งมั่นอย่างไรที่ทำให้บรรลุ วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบายที่แสดงความมุ่งมั่นต่อการ พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ : ผู้นำ / ทีมนำ มีการแสดงความมุ่งมั่นอย่างไรที่ทำให้บรรลุ วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย การเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน ให้อธิบาย การได้มา ซึ่ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพและ แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่น ของผู้นำ / ทีมนำของโรงพยาบาลต่อการพัฒนา โรงพยาบาลให้เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน รวมทั้งวิธีการที่ผู้นำสื่อสารกับบุคลากร เพื่อกระตุ้นให้เกิดผล การดำเนินการที่ดี

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการดำเนินการอย่างไร ให้ได้มาซึ่ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย ที่แสดงความมุ่งมั่นต่อการ พัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (A) (2) โรงพยาบาลมีวิธีการสื่อสารวิสัยทัศน์ พันธกิจ ปรัชญา นโยบาย ด้านการส่งเสริมสุขภาพไปยังบุคลากร ภาคีเครือข่ายที่สำคัญ ผู้รับบริการ และชุมชน อย่างไร (D) (3) ทีมนำทำอย่างไรในการบูรณาการแนวคิด การเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับ ปัญหาและความต้องการด้านสุขภาพของชุมชน (I) (4) ทีมนำทำอย่างไร ในการ คงความมุ่งมั่น ให้ โรงพยาบาลเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพอย่างยั่งยืน (L)

 โรงพยาบาล มีการจัดทำวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย โดย การทำ SWAT Anslysis ด้วยการมีส่วนร่วมของตัวแทน จากทุกหน่วยงาน สหสาขาวิชาชีพ และ ชุมชน ใช้ข้อมูล สนับสนุน คือ.....

 โรงพยาบาล มีการถ่ายทอด/สื่อสารประชาสัมพันธ์และ สร้างความเข้าใจ แก่ - บุคลากร โดยมีการแจ้งในที่ประชุม ติดป้าย ประชาสัมพันธ์ ประกาศผ่านเสียงตามสาย - ผู้รับบริการ ญาติ โดยติดป้ายประชาสัมพันธ์ ประกาศ ผ่านเสียงตามสาย - ชุมชน โดยมีการแจ้งในที่ประชุมของชุมชน

 โรงพยาบาล มีการจัดตั้งคณะกรรมการต่างๆ ได้แก่..... และ ตั้งแกนนำชุมชน มีการประสานงานกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อ ดำเนินการด้านส่งเสริมสุขภาพ ให้สอดคล้องตามปัญหาสุขภาพ และ ความต้องการของ ชุมชน โดยการประชุมจัดทำแผน ใช้ข้อมูลสภาวะสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพของชุมชน (ยกตัวอย่าง ประกอบ)

 โรงพยาบาล......เป็นองค์กรขนาดใหญ่ มีบุคลากร ปฏิบัติงานเป็นจำนวนมาก ผู้รับบริการ-ญาติมารับบริการ เพิ่มขึ้นทุกปี สิ่งที่เป็นปัญหาสำคัญ คือ การขับเคลื่อน การ ดำเนินงานเรื่องต่างๆ แม้กระทั่งการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ จึงมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนินงานตามองค์ประกอบ เพื่อกระตุ้นให้ มีการ ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เน้นย้ำบ่อยๆ พร้อมกับการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในเชิงระบบ โดยยึดมาตรฐาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เป็นแนวทางในการ ดำเนินงาน

1.2 โครงสร้าง และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ : ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 1.2 โครงสร้าง และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ : ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ให้อธิบายถึงการ กำหนดคณะกรรมการ หรือคณะทำงานที่ รับผิดชอบในการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่เอื้อต่อ การปฏิบัติงานที่เป็นระบบ และแสดงกลไกการเชื่อมโยงประสาน ความร่วมมือกับคณะกรรมการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้อธิบายถึงการ กำหนดคณะกรรมการ หรือคณะทำงานที่ รับผิดชอบในการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่เอื้อต่อ การปฏิบัติงานที่เป็นระบบ และแสดงกลไกการเชื่อมโยงประสาน ความร่วมมือกับคณะกรรมการหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) ทีมนำมีวิธีการใน การกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการ หรือคณะทำงาน (A,D) ที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพให้มีความเชื่อมโยง (I)เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพอย่างไร 40 คะแนน

ตัวอย่าง รพ. สมมติ 1.2 (1) ทีมนำมีวิธีการ ในการกำหนดโครงสร้างคณะกรรมการ หรือ คณะทำงาน (A,D) ที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ ให้มีความเชื่อมโยง (I) เพื่อสนับสนุนการดำเนินงาน โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพอย่างไร  โรงพยาบาล จัดประชุมตัวแทนจากทุกหน่วยงาน และสห สาขาวิชาชีพ ร่วมแสดงความคิดเห็นในการ จัดทำ โครงสร้างการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ มี การแต่งตั้งคณะกรรมการ หรือ คณะทำงาน ได้แก่ คณะ กรรมการ และ มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน เป็น ลายลักษณ์อักษร ซึ่งแต่ละคณะกรรมการ มีการดำเนินงาน ที่เชื่อมโยงกัน มีการประชุมร่วมกันเพื่อหาโอกาสพัฒนา งาน ตลอดจนมีการสื่อสารให้บุคลากรทราบ โดยการ ประชุมชี้แจง

ให้อธิบาย วิธีการที่ทีมนำปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อการ ดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ แสดงให้เห็นถึงการทำงาน ของโรงพยาบาลที่มีผู้นำ และทีมงานที่เป็น สหสาขาวิชาชีพ โดย เป็นแบบอย่าง ที่ดีและมี จิตวิญญาณ ของการส่งเสริมสุขภาพ 1.3 วัฒนธรรมองค์กร เหมาะสมต่อการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ : ทีมนำมีวิธีการอย่างไรในการปลูกฝังวัฒนธรรม องค์กรที่เหมาะสมต่อการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 1.3 วัฒนธรรมองค์กร เหมาะสมต่อการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ : ทีมนำมีวิธีการอย่างไรในการปลูกฝังวัฒนธรรม องค์กรที่เหมาะสมต่อการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน

อธิบาย ศัพท์ วัฒนธรรมองค์กร หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิตการ ทำงานในองค์กรหนึ่งองค์กรใดโดยเฉพาะ ซึ่งวัฒนธรรม องค์กรแสดงให้เห็นพฤติกรรมการแสดงของคนในองค์กร สะท้อนความเชื่อของคนในองค์กร แสดงถึงการกระทำ ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง

1.3 (ต่อ)โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการปลูกฝังวัฒนธรรม องค์กร (A) ที่เอื้อต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ ขั้นตอนสำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใคร ซึ่งจะ นำไปสู่ (D) การเป็นองค์กรที่เป็นแบบอย่าง (L) ด้านการ ส่งเสริมสุขภาพ (2) ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการสอดแทรกกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพเข้ามาในงานประจำ (I)

ตัวอย่าง รพ. สมมติ 1.3 (1) ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการปลูกฝังวัฒนธรรม องค์กร (A) ที่เอื้อต่อการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ ขั้นตอนสำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใคร ซึ่งจะ นำไปสู่ (D) การเป็นองค์กรที่เป็นแบบอย่าง (L) ด้านการ ส่งเสริมสุขภาพ  โรงพยาบาล มีการระดมความคิดเห็นจากตัวแทน บุคลากรทุกหน่วยงาน เพื่อ ร่วมกำหนดวัฒนธรรมองค์กร ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ การสวมหมวกนิรภัย/คาด เข็มขัดนิรภัยทุกครั้งที่ขับขี่รถ, Healthy Meeting ฯลฯ และ มีการสื่อสารสู่ผู้ปฏิบัติ โดยการประชุมชี้แจง การติด ป้ายประชาสัมพันธ์ ประกาศผ่านเสียงตามสาย มีการ กำหนดข้อตกลงในการปฏิบัติ ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้วิธีปฏิบัติระหว่างหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความยั่งยืน

ตัวอย่าง รพ. สมมติ 1.3 (2) ทีมนำมีวิธีการอย่างไร ในการสอดแทรกกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพเข้ามาในงานประจำ (I)  การจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสอดแทรกในงานประจำ โดย การประชุมตัวแทนทุกหน่วยงาน ร่วมคิดกิจกรรม และ พิจารณาความพร้อม ความครอบคลุมของกิจกรรมในแต่ ละหน่วยงาน ทั้งในและนอกเวลาราชการ ซึ่งสามารถ ปฏิบัติได้จริง เช่น กิจกรรมยืดเหยียดกล้ามเนื้อ, การฟัง เพลง, Healthy Birthday ฯลฯ

องค์ประกอบที่ 2 เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC) องค์ประกอบที่ 2 การวางแผนกลยุทธ์และ การบริหารทรัพยากร เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 2 การวางแผนกลยุทธ์และ การบริหารทรัพยากร 120 คะแนน 2.1 การวางแผนกลยุทธ์ : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไร ในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 2.1 การวางแผนกลยุทธ์ : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไร ในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ให้อธิบายถึง วิธีการ ที่โรงพยาบาลใช้ในการวางแผน กลยุทธ์การพัฒนาโรงพยาบาลให้เป็นโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงพยาบาล เพื่อให้เกิดความชัดเจนใน การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร ในการ วางแผนกลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ ขั้นตอนที่สำคัญในการจัดทำแผนกลยุทธ์มี อะไร ผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญมีใคร และข้อมูลนำเข้าใน การจัดทำแผนมีอะไรบ้าง (A)

 โรงพยาบาล จัดการประชุมหัวหน้ากลุ่ม /งานทุกงาน และ ผู้เกี่ยวข้อง นำแผนยุทธศาสตร์ และ ข้อมูล/ปัจจัย ภายใน-ภายนอก ได้แก่ ผลลัพธ์การดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ฯลฯ มาใช้ในการจัดทำแผนกลยุทธ์ ด้านการ ส่งเสริมสุขภาพ

2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ : โรงพยาบาลนำ กลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ไปปฏิบัติ อย่างไร 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ : โรงพยาบาลนำ กลยุทธ์ เพื่อการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ไปปฏิบัติ อย่างไร 40 คะแนน ให้อธิบายวิธีการแปลง วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ไปสู่ แผนปฏิบัติการ การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ รวมทั้งการถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจแผน กลยุทธ์/แผนปฏิบัติการ ให้กับบุคลากรภายในองค์กร ภาคีเครือข่าย ผู้รับบริการและชุมชน

2.2 (ต่อ) โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดทำ แผนปฏิบัติการ ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ เพื่อการเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ (A) (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การถ่ายทอด (D) แผนปฏิบัติการ เพื่อการดำเนินงานให้บุคลากร ภาคี เครือข่าย และชุมชน ที่ทำให้มั่นใจว่ามีการนำไปปฏิบัติ อย่างสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน (I) (3) โรงพยาบาลมี ระบบการประเมิน/วัดผลการ ดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการที่สำคัญอย่างไร (L)

 โรงพยาบาล มีการประชุมระดมความคิดของหัวหน้างาน/ ตัวแทนทุกหน่วยงาน ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการ ส่งเสริมสุขภาพ ให้สอดรับตามแผนกลยุทธ์ โดย ส่งเสริม สุขภาพครอบคลุมทั้งกลุ่มผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ - ญาติ และ ชุมชน

 โรงพยาบาล มีการถ่ายทอด และสร้างความเข้าใจ แผนปฏิบัติการ แก่ บุคลากร ผ่านทางการประชุม, หนังสือเวียน และ มีการประเมินผลการรับรู้ เพื่อให้เกิด ความเชื่อมั่นในการนำไปปฏิบัติ มีการถ่ายทอดสู่ภาคี เครือข่าย และ ชุมชน ผ่านทางการประชุมเวทีประชาคม และประชุมประจำเดือน

 โรงพยาบาล มีระบบการประเมินผลการดำเนินงาน ด้วย การติดตามรายงานความก้าวหน้าของแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ตามกรอบของการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข และ ตัวชี้วัดทั้งกระบวนการและ ผลลัพธ์ โดย มีการรายงานรายไตรมาส ในการประชุม กรรมการบริหารโรงพยาบาล

2.3 การบริหารทรัพยากร : โรงพยาบาลมี วิธีการ อย่างไร ในการ บริหารทรัพยากร เพื่อใช้ในการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 2.3 การบริหารทรัพยากร : โรงพยาบาลมี วิธีการ อย่างไร ในการ บริหารทรัพยากร เพื่อใช้ในการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ให้อธิบายระบบการ บริหารทรัพยากร ได้แก่ บุคลากร งบประมาณ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ในการดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ และอธิบายวิธีการที่ทำให้เชื่อมั่นได้ว่า บุคลากรของ โรงพยาบาลมีสมรรถนะที่เพียงพอที่จะดำเนินงานโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ 40 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการจัดสรร ทรัพยากรด้านงบประมาณเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ให้ เพียงพอ เหมาะสม เพื่อสนับสนุนแผนปฏิบัติการการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ (A,D) (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ ในการสรรหาและพัฒนา ทรัพยากร บุคคลอย่างไร ที่เอื้อต่อการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพ (A,D) (3) โรงพยาบาลมีวิธีการ (A) อย่างไรในการ เสริมสร้าง (D) ให้ บุคลากรมีผลงานด้านส่งเสริมสุขภาพ ที่ดี และเกิดแรงจูงใจให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิผล (L,I)

 โรงพยาบาลมีจัดสรรงบประมาณ ในการจัดสรร ทรัพยากรดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ซึ่ง ครอบคลุมตามพันธกิจ และ แผนปฏิบัติการ โดยคำนึงถึง ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีการ มอบหมายให้ฝ่ายบริหารงานทั่วไป รับผิดชอบในการ ติดตามการใช้งบประมาณรายไตรมาส เช่น วัสดุอุปกรณ์ ป้องกันตนเอง โทรทัศน์วงจรปิดเผยแพร่การส่งเสริม สุขภาพ กล้องโทรทัศน์วงจรปิดเพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัย ให้กับผู้มารับบริการ เจ้าหน้าที่ รวมถึงทรัพย์สิน

 โรงพยาบาล มีการจัดสรรงบประมาณ และ มีระบบการ สรรหาและพัฒนาทรัพยากรบุคลากร เพื่อ ให้มีความรู้ ความสามารถในการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ ตามพันธกิจ โดย จัดทำข้อกำหนดในการตรวจ สุขภาพบุคลากรใหม่ก่อนประจำการ การอบรมพัฒนา ตามความจำเป็นในงานครอบคลุมด้านการส่งเสริมสุขภาพ ฯลฯ

 โรงพยาบาล มีการจัดเวทีนำเสนอ และ ประกวดผลงาน ดีเด่น / นวัตกรรม / CQI ในโรงพยาบาล ตลอดจนมีการ เผยแพร่สู่เวทีนำเสนอผลงานนอกหน่วยงานทั้งระดับ จังหวัด / ประเทศ

องค์ประกอบที่ 3 และ 7.1 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 120 คะแนน 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการโครงสร้างทาง กายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อย่างไร 3.1 การจัดการโครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการโครงสร้างทาง กายภาพ และสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อย่างไร 40 คะแนน ให้อธิบายวิธีการในการจัดการด้าน โครงสร้าง อาคาร สถานที่ รวมถึงการจัดการ สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในแผนก ต่างๆ ให้เป็นไปตามกฎหมายหรือมาตรฐานว่าด้วยการจัดการ สิ่งแวดล้อม อธิบายแนวทางการถ่ายทอด เพื่อนำไปสู่การ ปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมี แนวทางการดำเนินงาน(A) การ ถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ(D) รวมทั้งทบทวนและปรับปรุง กระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดี ขึ้น (LI)ในเรื่องการจัดการโครงสร้างด้านกายภาพและ การจัดการ สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพเพื่อให้เป็นไปตาม กฎหมายหรือมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม ต่อไปนี้ อย่างไร

การกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย ตามหลัก สุขาภิบาลและ กฎกระทรวงว่าด้วยการ จัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2545 โรงพยาบาลโดยคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม (ENV) และคณะกรรมการป้องกันการติดเชื้อใน โรงพยาบาล (IC) เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการ กำหนดมาตรการต่าง ๆ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน หรือกฎหมายที่บัญญัติไว้ (A) ได้มีการชี้แจงให้ เจ้าหน้าที่ทั้งโรงพยาบาล ทั้งในรูปแบบของการ จัดอบรม การเยี่ยมประเมินหน่วยงาน (D) แล้ว นำผลการประเมินมาปรับปรุงกระบวนการทำงาน โดย …………..

การบำบัดน้ำเสียและตรวจคุณภาพน้ำตาม มาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งของ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีการดำเนินการตรวจระบบบำบัดน้ำเสีย โดยเจ้าหน้าที่จากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม ของโรงพยาบาล (ENV) ผลการตรวจสอบผ่าน มาตรฐานการตรวจวัด ปัญหาที่พบคือเครื่องเติมคลอรีนเกิดการ ชำรุดทำให้ปริมาณคลอรีนที่เติมไม่สม่ำเสมอ ส่งผลให้ค่าต่างๆ เกิดความผิดปกติ จะมีการหา สาเหตุและดำเนินการแก้ไข ………….

การจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ โรงพยาบาลมีผู้รับผิดชอบเป็น คณะกรรมการร้านอาหาร มีระบบการดูแล เรื่องมาตรฐานร้านอาหารคณะกรรมการ เป็นผู้ดูแล เช่น เรื่องความสะอาดของ อาหาร ความสะอาดของผู้ ประกอบอาหาร และผู้ขาย มาตรฐานการการตั้ง วางอาหาร และภาชนะบรรจุ และประกอบอาหารผ่าน มาตรฐาน Clean Food Good Taste ส่วนเรื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ด้านอาหารและโภชนาการ กลุ่มงานโภชนศาสตร์ได้ประเมินตนเองอยู่ ในระดับที่สามารถพัฒนาได้

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และการประเมิน ความเสี่ยงจากการทำงาน สำหรับสถานการณ์โรคและสิ่งคุกคาม สุขภาพของบุคลากรที่ปฏิบัติงานใน โรงพยาบาล ปี ๒๕๕๙ พบว่า ……………… เรื่องอุบัติเหตุจากการทำงาน พบว่า พนักงานเปลและพนักงานเข็นรถอาหาร ของกลุ่มงานโภชนศาสตร์มีปัญหาเรื่องทาง ลาดชัน ต้องใช้แรงเข็นรถมากกว่าปกติ เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้

การจัดการให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ ที่ป้องกันและ ควบคุมโรคไข้เลือดออก การดำเนินการควบคุมและกำจัดยุงลายของ โรงพยาบาลโดยใช้กลวิธีการป้องกันโรค ไข้เลือดออกล่วงหน้าเพื่อมุ่งเน้นการเฝ้าระวัง และผสมผสานการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์และ การกำจัดยุงตัวเต็มวัยไปพร้อม ๆ กัน ทั้งในหอ ผู้ป่วย หน่วยงานในโรงพยาบาล พื้นที่ภายนอก อาคาร และบ้านพักเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล ดำเนินการควบคุม แหล่งเพาะพันธุ์และการ กำจัดยุงตัวเต็มวัย ตามข้อแนะนำของสานักงาน ป้องกันควบคุมโรค

อธิบายวิธีการในการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อ สร้าง บรรยากาศในการทำงาน ซึ่งนำไปสู่การเป็น โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพ และแนวทาง การถ่ายทอดเพื่อนำไปสู่ การปฏิบัติให้เกิด ความครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร 3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม อย่างไร 3.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม : โรงพยาบาลมี วิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมทางสังคม อย่างไร โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีแนวทางการดำเนินงาน(A) การถ่ายทอดไปสู่การ ปฏิบัติ (D) รวมทั้ง ทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงาน (LI)เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น ในเรื่องการจัดการ สิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อทำให้สิ่งเหล่านี้บรรลุผลได้อย่างไร บรรยากาศ การต้อนรับและบริการที่เป็นมิตร การจัดกิจกรรมที่สนับสนุน การมีส่วนร่วม และปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคลากรหรือระหว่างผู้ให้บริการกับ ผู้รับบริการและ บรรยากาศที่ดีในการทำงานที่ดีขึ้น 40 คะแนน

ตัวอย่างสมมติ โรงพยาบาลมีการจัดอบรมพฤติกรรมบริการให้กับเจ้าหน้าที่ ทุกระดับทุกปี และมีการประสาน ติดตาม ประเมินผลการ ดำเนินงานด้านการบริการ มีการชื่นชมผู้มีพฤติกรรมบริการที่ดี เยี่ยม โดยติดบอร์ดประชาสัมพันธ์บริเวณตึกผู้ป่วยนอก มีการจัดจุดพยาบาลสัมพันธ์ด่านหน้าของโรงพยาบาล โดย จัดพยาบาลและเจ้าหน้าที่มาปฏิบัติหน้าที่ในการคัดกรองผู้ป่วย เพื่อคัดแยกประเภทคนไข้ตามความรุนแรงและเร่งด่วนไปตาม ห้องตรวจที่เหมาะสมกับสุขภาพคนไข้ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ใน การต้อนรับ ให้ข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สื่อสารกับผู้มารับบริการ เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี…………………………………….

3.3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริม สุขภาพ : โรงพยาบาลมีวิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้น ให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ อย่างไร 3.3 การจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริม สุขภาพ : โรงพยาบาลมีวิธีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้น ให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ อย่างไร อธิบายวิธีการในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้น ให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ แนวทาง การถ่ายทอด เพื่อนำไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่ว ทั้งองค์กร อธิบายวิธีการในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้น ให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ แนวทาง การถ่ายทอด เพื่อนำไปสู่ การปฏิบัติให้เกิดความครอบคลุมทั่ว ทั้งองค์กร 40 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีแนว ทางการดำเนินงาน การถ่ายทอด ไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งทบทวนและปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อให้บรรลุผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น ในเรื่อง การจัดการ สิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ โดยพิจารณา ปัจจัยต่อไปนี้ อย่างไร (ADLI) การจัดสถานที่พักผ่อน สถานที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และ พัฒนาทักษะของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว และ ประชาชน การจัดให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ ตาม พรบ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551

การจัดสถานที่พักผ่อน สถานที่ที่ เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว และประชาชน จากผลการประชุมทีมบริหารโรงพยาบาลและ การสอบถามความคิดเห็นของบุคลากร รวมทั้งผู้ มารับบริการ จึงได้มีการปรับโครงสร้างด้าน กายภาพเพื่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ทั้งด้าน การให้บริการ การส่งเสริม สุขภาพ ภูมิทัศน์ที่สวยงาม โรงพยาบาลมี พื้นที่ที่เป็นอาคารรักษาพยาบาล อาคาร สนับสนุน และอาคารพักอาศัย

การจัดให้โรงพยาบาลเป็นพื้นที่ ปลอดบุหรี่ ตาม พรบ. คุ้มครอง สุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ. ศ.2535 พระราชบัญญัติ ควบคุมเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ พ. ศ การประเมินผลโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน มีการดำเนินการติดป้ายแสดง เขตปลอดบุหรี่ตามที่กฎหมายกำหนดทุกอาคาร นอกจากนี้โรงพยาบาลยังสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลเป็นแบบอย่างที่ดีด้านสุขภาพ โดยเฉพาะเรื่องการเลิกสูบบุหรี่ซึ่งมีตัวอย่าง เจ้าหน้าที่ที่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้เพิ่มขึ้น

องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 250 คะแนน 7.1 ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อม : ผลการ ดำเนินงาน ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นอย่างไร 7.1 ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อม : ผลการ ดำเนินงาน ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นอย่างไร สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้น ให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ โดยแสดงผลลัพธ์จำแนกใน แต่ละด้าน รวมทั้งให้แสดงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้น ให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ โดยแสดงผลลัพธ์จำแนกใน แต่ละด้าน รวมทั้งให้แสดงข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่เหมาะสม 60คะแนน

แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (2) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมทางสังคม (3) ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการ ส่งเสริมสุขภาพ

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.1(1) – (3) เป็นการแสดง ผลลัพธ์ของโรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 3 และ ผลลัพธ์ที่ควรรายงานเพิ่มเติม ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ - ผลการตรวจคุณภาพน้ำบริโภคทางห้องปฏิบัติการ - ผลการตรวจคุณภาพน้ำเสีย - ผลลัพธ์ของการจัดการสุขาภิบาลโรงอาหารโรงครัว - ผลลัพธ์ของการจัดการมูลฝอยทั่วไปและมูลฝอยติดเชื้อ สิ่งแวดล้อมทางสังคม - ผลการประเมินความพึงพอใจผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และ ข้อร้องเรียนต่างๆ สิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพ - ผลการประเมินสื่อ สถานที่ และอุปกรณ์ที่เอื้อ/กระตุ้นต่อการ ส่งเสริมสุขภาพ

แนวทางการให้คะแนน องค์ประกอบที่ 7 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน - มีการรายงานผลการดำเนินการที่ ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อและ ผลอยู่ในระดับที่ดี (Le) - แสดงถึงแนวโน้มที่ดีอย่างชัดเจนในเรื่อง ต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการบรรลุพันธกิจของ โรงพยาบาล (T) - ผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องอยู่ใน ระดับที่ดี เมื่อเทียบเคียงกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม (C) - มีการรายงานผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อปัญหา และความต้องการของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว ญาติ ชุมชน และกระบวนการเป็น ส่วนใหญ่ (I)

องค์ประกอบที่ 4 และ 7.2 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร และผลลัพธ์การดำเนินงาน เกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร องค์ประกอบที่ 4 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 120 คะแนน 4.1 ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและพฤติกรรม สุขภาพของบุคลากร : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ด้านสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร 4.1 ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและพฤติกรรม สุขภาพของบุคลากร : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ด้านสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร 40 คะแนน ให้อธิบายกระบวนการ จัดการข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพบุคลากรของ โรงพยาบาล อธิบายที่มาของข้อมูล ระบบการจัดเก็บข้อมูล สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร

ข้อมูล (Data) : ข่าวสาร ข้อความรูปภาพ เสียง หรืออะไรต่างๆ ที่อยู่ ในหลายรูปแบบ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ผ่านการ ประมวลผล หรือจัดกลุ่มเรียบเรียงอะไรทั้งสิ้น สารสนเทศ (Information) : ข้อมูลที่ได้ผ่านการกลั่นกรอง หรือประมวลผลใน รูปแบบหรือกรรมวิธีต่างๆ ที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อให้ ได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ การจัดการสารสนเทศ (Information Management) : ระบบสารสนเทศที่รวบรวม ประมวล เก็บรักษา และ นำไปสู่ความรู้เพื่อการเผยแพร่ คำอธิบายศัพท์

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร ในการได้มาของข้อมูล และ วิธีการจัดเก็บ (A) ข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรม สุขภาพของบุคลากร (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ(A)อย่างไรใน การสื่อสาร (D) ข้อมูล และนำข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ บุคลากร ไปใช้ ในการสนับสนุน (L,I) การดูแลส่งเสริม สุขภาพบุคลากร

ตัวอย่าง 4.1 (1)โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร ในการได้มาของข้อมูล และ วิธีการ จัดเก็บ (A) ข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร ข้อมูลสุขภาพของบุคลากรโรงพยาบาลมีการดำเนินการอยู่ 3 ส่วน ส่วน แรกคือ ระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงพยาบาล เช่น ข้อมูลการเจ็บป่วย ข้อมูล รักษาพยาบาล ได้มาจากการรวบรวมสถิติการใช้บริการ ซึ่งมีปัญหาว่าข้อมูลไม่ เป็นปัจจุบัน กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมกำลังดำเนินการจัดระบบและอัพเดทข้อมูล ใหม่อยู่ ส่วนที่ 2 คือข้อมูลการตรวจสุขภาพประจำปี ได้จากข้อมูลที่กลุ่มงาน อาชีวเวชกรรมดำเนินการ และจัดเก็บในระบบ Stand Alone ของหน่วยงาน ส่วนที่ 3 คือข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพบุคลากร กลุ่มงานสุขศึกษาได้ดำเนินการ สำรวจปี 2556 เป็นปีแรก โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพเรื่อง 3 อ. ปัจจุบันประมวลผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว การจัดเก็บข้อมูลไว้ที่หน่วยงาน และ กำลังดำเนินการส่งข้อมูลไปยังคณะกรรมการบริหารและทุกหน่วยงานต่อไป ในส่วนของคณะกรรมการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจะดำเนินการจัดตั้ง คณะทำงานเพื่อรวบรวมและจัดการข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ บุคลากรอย่างเป็นระบบต่อไป

(2) โรงพยาบาลมีวิธีการ(A)อย่างไรใน การสื่อสาร (D) ข้อมูล และ นำข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของบุคลากร ไปใช้ ในการสนับสนุน (L,I) การดูแลส่งเสริมสุขภาพบุคลากร การสื่อสารข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ บุคลากรโรงพยาบาลมี 3 รูปแบบ รูปแบบที่ 1 คือ การแจ้ง ข้อมูลสุขภาพผ่านคณะกรรมการบริหารในลักษณะการ รายงานผลการตรวจสุขภาพ หรือผลการเจ็บป่วยของ บุคลากร และการประชุมคณะกรรมการฯ รูปแบบที่ 2 คือการ ประชุมชี้แจงหัวหน้าหรือผู้แทนหน่วยงานเกี่ยวกับผลการ ตรวจสุขภาพ รวมถึงการให้คะแนนเบื้องต้นในการดูแล สุขภาพ และรูปแบบที่ 3 คือการแจ้งผลเป็นการส่วนตัว ให้กับบุคลากรทุกคนที่มารับการตรวจสุขภาพ

ให้อธิบาย วิธีการกำหนด และถ่ายทอด กฎระเบียบ ข้อตกลง แนวทางการปฏิบัติที่เอื้อ ต่อการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ให้อธิบาย วิธีการกำหนด และถ่ายทอด กฎระเบียบ ข้อตกลง แนวทางการปฏิบัติที่เอื้อ ต่อการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 4.2 กฎระเบียบ ข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม สุขภาพบุคลากร : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรใน การกำหนดกฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 4.2 กฎระเบียบ ข้อตกลง ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม สุขภาพบุคลากร : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรใน การกำหนดกฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร 40 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไร ในการกำหนด กฎระเบียบ ข้อตกลง (A) ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม สุขภาพบุคลากรขั้นตอนที่สำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใครบ้าง (2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การ ถ่ายทอด (D) กฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับ การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้ เกิดการดำเนินการอย่างครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร (L,I)

ตัวอย่าง 1) โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไร ในการกำหนด กฎระเบียบ ข้อตกลง (A) ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ขั้นตอนที่สำคัญมีอะไรบ้าง ผู้เกี่ยวข้องมีใครบ้าง โรงพยาบาล ฯ มีนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพที่ เกี่ยวกับบุคคล มีการสื่อสารให้บุคลากรทุกคนทราบ ตระหนักและ ปฏิบัติตามข้อกำหนดของโรงพยาบาล เช่น การตรวจสุขภาพประจำปี การตรวจตามความเสี่ยง การส่งเสริมสุขภาพตามภาวะสุขภาพ และ ความเสี่ยงของบุคลากร รับการรักษาต่อเนื่อง กำหนดนโยบาย สาธารณะเรื่องการขับขี่ปลอดภัยด้วยการคาดเข็มขัดและสวมหมวก นิรภัย การใช้อุปกรณ์ป้องกันความเสี่ยงตามภัยคุกคามขณะ ปฏิบัติงาน เช่น ด้านการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ มีการอบรม ชี้แจงให้เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลทราบถึงการดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพของบุคลากร ทั้งด้านภาวะสุขภาพ การปฏิบัติงาน และ สิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ปัจจุบันใช้ระบบเชิญชวน ขอความ ร่วมมือและสมัครใจในการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ

โรงพยาบาลฯมีข้อกำหนดให้เจ้าหน้าที่ใหม่ที่จะเข้าทำงานใน โรงพยาบาลทุกคนต้องมีการตรวจสุขภาพร่างกายก่อนเข้าทำงาน ตามข้อกำหนดที่ระบุไว้ตามตำแหน่งหน้าที่และลักษณะของงาน และมีนโยบายตรวจสุขภาพประจำปีให้กับเจ้าหน้าที่ทุกคน และมี การนำเสนอผลการตรวจสุขภาพประจำปีบุคลากรในภาพรวมของ โรงพยาบาลให้กับผู้บริหารและหัวหน้าหน่วยงานทุกหน่วยงาน ทราบ เจ้าหน้าที่ที่เข้ารับการตรวจสุขภาพจะได้รับใบรายงานผล ตรวจสุขภาพรายบุคคล หลังการแจ้งผลการตรวจสุขภาพจะมีการ ให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและส่งพบแพทย์เฉพาะทาง กรณีผลการตรวจสุขภาพผิดปกติ มีการทำแบบประเมินความเครียด เจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลเพื่อวิเคราะห์สภาวะเครียดของบุคลากรใน โรงพยาบาล ตัวอย่าง(ต่อ)

(2) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การถ่ายทอด (D) กฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม สุขภาพบุคลากรไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการ ดำเนินการอย่างครอบคลุมทั่วทั้งองค์กร (L,I) โรงพยาบาลยังใช้ระบบการสื่อสารแบบ หนังสือเวียนและการแจ้งผ่านผู้บังคับบัญชาในการ ถ่ายทอดกฎระเบียบ ข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการ ส่งเสริมสุขภาพไปสู่ผู้ปฏิบัติ กำลังพิจารณาเพิ่ม รูปแบบและช่องทางการถ่ายทอดเพื่อให้เกิดความ ครอบคลุม เช่น การถ่ายทอดผ่านกลุ่มเฟซบุ๊คของ โรงพยาบาล เป็นต้น

ให้อธิบายวิธีการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการ ส่งเสริมสุขภาพและ การเสริมพลัง (Empowerment) บุคลากรของโรงพยาบาล อธิบายการวางแผนและวิธีการ วัดผลการจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพและปรับปรุงผลการ ดำเนินงานที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาและ/หรือ ความต้องการของบุคลากร ให้อธิบายวิธีการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการ ส่งเสริมสุขภาพและ การเสริมพลัง (Empowerment) บุคลากรของโรงพยาบาล อธิบายการวางแผนและวิธีการ วัดผลการจัดกิจกรรมส่งเสริม สุขภาพและปรับปรุงผลการ ดำเนินงานที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาและ/หรือ ความต้องการของบุคลากร 4.3 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาล : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการส่งเสริมสุขภาพ บุคลากร 4.3 การส่งเสริมสุขภาพบุคลากรโรงพยาบาล : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการส่งเสริมสุขภาพ บุคลากร 40 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการ อย่างไรใน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและ การเสริม พลัง (Empowerment) ให้กับบุคลากรของ โรงพยาบาล ข้อมูลที่สำคัญในการนำมาวางแผน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ มีอะไรบ้าง (A) (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ (A) อย่างไรในการ จัด กิจกรรม(D)ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร ให้สอดคล้อง กับปัญหา หรือความต้องการ (I) ของบุคลากร กลุ่ม ที่มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย เพื่อให้ บุคลากรเป็นแบบอย่าง (L) ด้านการส่งเสริมสุขภาพ

โดยตอบคำถามต่อไปนี้(ต่อ) ( 3) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัด (A,D) ผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ บุคลากรที่สำคัญ อะไรบ้าง (4) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการ ควบคุมกำกับ การวัดผล (I) และนำผลไป ใช้ ในการปรับกระบวนการ (L) ส่งเสริม สุขภาพบุคลากร

ตัวอย่าง (1)โรงพยาบาลมีวิธีการ อย่างไรใน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพและ การเสริม พลัง (Empowerment) ให้กับบุคลากรของ โรงพยาบาล ข้อมูลที่สำคัญในการนำมาวางแผน การพัฒนาทักษะ การเรียนรู้ มีอะไรบ้าง (A) โรงพยาบาลมีการสร้างความตระหนักในการพัฒนา คุณภาพและการสร้างเสริมสุขภาพ โดยการอบรมการ สร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม มีการให้ความรู้บุคลากรใน โรงพยาบาลเกี่ยวกับการดูแลตนเองเบื้องต้นหลังจาก ตรวจสุขภาพประจำปี และให้คำแนะนำกับบุคลากรที่ผล ตรวจสุขภาพผิดปกติพร้อมทั้งนัดมาเพื่อติดตามการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามผลการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ

มีการจัดทำโครงการพัฒนาเครือข่ายคลินิกโรคจากการ ทำงานสำหรับบุคลากรโรงพยาบาลฯ ในวันที่ 21 พฤษภาคม 2558 เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคจากการทำงานสำหรับบุคลากร ในโรงพยาบาลฯ มีการสอนและสาธิตวิธีการใช้อุปกรณ์ ป้องกันความเสี่ยงอย่างถูกวิธี และมีการจัดโครงการและ กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพสำหรับบุคลากรของโรงพยาบาล โดยกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ผู้บริหารให้การสนับสนุน ด้านงบประมาณ สถานที่ การเป็นตัวอย่างในการส่งเสริม สุขภาพ ตัวอย่าง(ต่อ)

(2) โรงพยาบาลมีวิธีการ (A) อย่างไรในการ จัดกิจกรรม(D)ส่งเสริมสุขภาพ บุคลากร ให้สอดคล้องกับปัญหา หรือความต้องการ (I) ของบุคลากร กลุ่มที่ มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วย เพื่อให้บุคลากรเป็นแบบอย่าง (L) ด้าน การส่งเสริมสุขภาพ 1. มีการรวบรวมกลุ่มที่สนใจในการออกกำลังกายอย่างเดียวกันและ จัดตั้งชมรมโดยผู้บริหารโรงพยาบาลให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ สถานที่ ได้แก่ ลานสาหรับเต้นแอโรบิค พร้อมเครื่องเสียง 2. มีการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วย ญาติ ผู้มารับบริการ และประชาชนทั่วไปโดยชมรมแอโรบิค มีสมาชิกประมาณ 50 คน รวมตัวกันเพื่ออกกำลังกายด้วยการเต้นแอโรบิคทุกวันทำการ เวลา –17.00 น. 3. ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เช่น การแข่งขัน กีฬาสาธารณสุขทั้งในระดับจังหวัด ระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ และ ในระดับกระทรวง 4. สนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพกับองค์กร ภายนอกอย่างต่อเนื่อง เช่น การแข่งขันเดิน วิ่งมาราธอน ของชมรม หรือหน่วยงานต่าง ๆ

(3) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัด (A,D) ผลการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากรที่สำคัญ อะไรบ้าง **เชื่อมโยงกับ 7.2** โรงพยาบาลได้กำหนดตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพบุคลากร เช่น บุคลากรเข้า รับการตรวจสุขภาพประจำปี ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 มี การสำรวจและเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็นต้น

(4) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการควบคุมกำกับ การ วัดผล (I) และนำผลไปใช้ ในการปรับกระบวนการ (L) ส่งเสริมสุขภาพบุคลากร คณะกรรมการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต้อง เพิ่มบทบาทในการควบคุม กำกับ วัดผลและนำไปใช้ใน การวางแผนการส่งเสริมสุขภาพ ในภาพรวมของ โรงพยาบาล เพื่อให้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพ บุคลากรมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยได้กำหนดให้ ปีงบประมาณ 2559 เป็น “ปีแห่งการส่งเสริมสุขภาพ บุคลากร” โดยจะมีการจัดกิจกรรม โครงการให้ ครอบคลุมกลุ่มเจ้าหน้าที่ทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และ กลุ่มที่เป็นโรค โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของบุคลากร ในการกำหนดรูปแบบการจัดทำโครงการ

แสดงข้อมูลและสารสนเทศผลลัพธ์ ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร **เชื่อมโยง กับ 4.3 (3)** 7.2 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร : ผลการ ดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเป็นอย่างไร 7.2 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร : ผลการ ดำเนินงาน ด้านการส่งเสริมสุขภาพบุคลากรเป็นอย่างไร 65 คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ บุคลากรโดยแสดง ผลลัพธ์ด้านพฤติกรรมสุขภาพ บุคลากร และด้านภาวะสุขภาพ รวมทั้งแสดงให้เห็นระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เหมาะสม

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.2 เป็นการแสดงผลลัพธ์ของ โรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 4 และผลลัพธ์ที่ควรรายงาน เพิ่มเติม ได้แก่ ภาวะสุขภาพบุคลากร - สมรรถภาพทางกาย - ภาวะเครียด - ไขมันในเลือด ความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด - ภาวะโภชนาการ BMI/รอบเอว - การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน - อุบัติการการเกิดโรคจากการประกอบอาชีพ พฤติกรรมสุขภาพบุคลากร - การบริโภคอาหาร - การออกกำลังกาย - การเลิกบุหรี่ แอลกอฮอล์ - พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

แนวทางการให้คะแนน องค์ประกอบที่ 7 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน - มีการรายงานผลการดำเนินการที่ ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อและ ผลอยู่ในระดับที่ดี (Le) - แสดงถึงแนวโน้มที่ดีอย่างชัดเจนในเรื่อง ต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการบรรลุพันธกิจของ โรงพยาบาล (T) - ผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องอยู่ใน ระดับที่ดี เมื่อเทียบเคียงกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม (C) - มีการรายงานผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อปัญหา และความต้องการของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว ญาติ ชุมชน และกระบวนการเป็น ส่วนใหญ่ (I)

องค์ประกอบที่ 5 และ 7.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

องค์ประกอบที่ 5 องค์ประกอบที่ 5 การส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ 120 คะแนน 40 คะแนน 5.1 ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดการ ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ 5.1 ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรใน การจัดการ ข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพและ พฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ ให้อธิบาย กระบวนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ อธิบายที่มาของข้อมูล ระบบการจัดเก็บ ข้อมูลสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ ให้อธิบาย กระบวนการจัดการข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ อธิบายที่มาของข้อมูล ระบบการจัดเก็บ ข้อมูลสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ 40 คะแนน

ข้อมูล (Data) : ข่าวสาร ข้อความรูปภาพ เสียง หรืออะไรต่างๆ ที่อยู่ใน หลายรูปแบบ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล หรือ จัดกลุ่มเรียบเรียงอะไรทั้งสิ้น สารสนเทศ (Information) : ข้อมูลที่ได้ผ่านการกลั่นกรอง หรือประมวลผลในรูปแบบ หรือกรรมวิธีต่างๆ ที่เหมาะสมและถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตรง ตามความต้องการของผู้ใช้ การจัดการสารสนเทศ (Information Management) : ระบบสารสนเทศที่รวบรวม ประมวล เก็บรักษา และ นำไปสู่ความรู้เพื่อการเผยแพร่ คำอธิบายศัพท์

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการได้มาของ ข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูล (A) ด้านสุขภาพ และ พฤติกรรมสุขภาพ ของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันสมัย( L) และ พร้อมใช้ (I) (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ (A) อย่างไรในการสื่อสาร (D) และนำข้อมูลด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ ไปใช้ในการสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ (L,I)

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.1 (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการได้มาของข้อมูล และการจัดเก็บข้อมูล (A) ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ ของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ เพื่อให้ข้อมูลมีความ ถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันสมัย( L) และพร้อมใช้ (I) โรงพยาบาลมีการกำหนดข้อมูลที่จำเป็นที่ต้องจัดเก็บด้าน สุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้รับบริการทั้งกลุ่มดี... กลุ่ม เสี่ยง... และกลุ่มป่วย... ซึ่งแต่ละหน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบ รวบรวม วิเคราะห์ จัดเก็บ และรายงานอย่างเป็นระบบ เพื่อ นำไปใช้ใน การวางแผนการส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ ดังนี้

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.1 (2) โรงพยาบาลมีวิธีการ (A) อย่างไรในการสื่อสาร(D) และนำข้อมูลด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพไปใช้ในการ สนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้รับบริการ ครอบครัวและ ญาติ (L,I) โรงพยาบาลมีการสื่อสารให้ทุกหน่วยงานนำข้อมูลและ สารสนเทศด้านสุขภาพ...ไปใช้ในการวางแผนการส่งเสริม สุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติให้สอดคล้องกับปัญหา และความต้องการ โดยผ่านการประชุมหัวหน้างาน แจ้งเวียน สรุปผลการวิเคราะห์รายไตรมาส และรวบรวมไว้ที่ศูนย์ข้อมูล ข่าวสารของโรงพยาบาลเพื่อให้ทุกหน่วยงานสามารถเข้าถึงและ นำไปใช้ประโยชน์ได้

5.2 การปรับระบบบริการของโรงพยาบาล : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรใน การปรับระบบบริการ ส่งเสริมสุขภาพของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ 5.2 การปรับระบบบริการของโรงพยาบาล : โรงพยาบาลมี วิธีการอย่างไรใน การปรับระบบบริการ ส่งเสริมสุขภาพของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ ให้อธิบายถึงการปรับระบบบริการ ที่มีการบูรณาการด้าน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่สอดคล้องหรือตอบสนอง กับปัญหาความต้องการด้านสุขภาพของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ 40 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการปรับระบบ บริการ (A,D) ที่สอดคล้องหรือตอบสนองกับปัญหาและ ความต้องการของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ และ ระบบบริการเหล่านี้มีอะไรบ้าง (2) โรงพยาบาลมีการปรับระบบบริการอย่างไรที่แสดง ให้เห็นถึงการบริการแบบองค์รวม (L, I)

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.2 (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการปรับระบบบริการ (A,D) ที่สอดคล้องหรือตอบสนองกับปัญหาและความต้องการ ของผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ และ ระบบบริการเหล่านี้มี อะไรบ้าง โรงพยาบาลมีการปรับระบบบริการ....โดยนำข้อคิดเห็น/ ข้อเสนอแนะ/ข้อร้องเรียน/ผลการประเมินความพึงพอใจของ ผู้รับบริการที่ได้จากการวิเคราะห์มาจัดทำแผนพัฒนา โดย สื่อสารให้ทุกหน่วยงานนำสู่การปฏิบัติ เช่น... พัฒนาระบบการ นัดผู้รับบริการ, การสอนให้ผู้รับบริการทำอาหารตามเมนูอาหาร ที่สอดคล้องกับภาวะสุขภาพ การจัดมุมเรียนรู้ในหอผู้ป่วยเช่น หนังสือ/ VDO /บอร์ดเรื่องการดูแลสุขภาพไว้ในหอผู้ป่วย

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.2 (2) โรงพยาบาลมีการปรับระบบบริการอย่างไรที่แสดง ให้เห็นถึงการบริการแบบองค์รวม (L, I) การจัดการบริการส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลอยู่ในรูปของ คณะกรรมการสหสาขาวิชาชีพ โดยมีแพทย์เป็นประธาน และ ให้ทุกหน่วยงานมีเครือข่ายในการดูแลต่อเนื่อง เช่น มีการส่ง ต่อให้ศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และกลุ่มงานเวชกรรมสังคมดูแลต่อเนื่อง มีระบบการวางแผน จำหน่ายตั้งแต่แรกรับ เริ่มจากมีการประเมิน การรักษาและ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยอย่างเป็นระบบ เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางและมีการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์ รวม คำนึงถึงสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ สังคมและจิต วิญญาณ ตั้งแต่ด่านหน้าถึงหอผู้ป่วย กำหนดให้มีการประเมิน ภาวะสุขภาพและวางแผนจำหน่ายภายใน 48 ชั่วโมง

ตัวอย่างการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก (กลุ่มดี) การจัดการด้านอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลตั้งแต่ปี 2552 จนถึงปัจจุบัน เน้นการส่งเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ระยะ ตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด จนถึงชุมชน โดยการดูแล ร่วมกันแบบสหสาขาวิชาชีพ ทั้งแพทย์ พยาบาล โภชนากร เภสัช กร ทันตาภิบาล ผู้ให้การปรึกษาด้านสุขภาพจิตและนักสังคม สงเคราะห์ ในลักษณะทีมบุคลากรผู้ให้ความรู้และให้การช่วยเหลือ มารดาให้สามารถดูแลตนเองได้ ต่อมาโรงพยาบาลได้เปลี่ยนแนว การส่งเสริมสุขภาพโดยเน้นการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกำหนด สิ่งที่ ต้องการด้วยตนเอง เพื่อให้ตรงกับปัญหาและความต้องการของ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติมากขึ้น เช่นการจัดกิจกรรม โรงเรียนพ่อแม่ โดยมีการใช้กระบวนการกลุ่มในการทำกิจกรรม เรียนรู้ร่วมกันให้คู่สามีภรรยาและบุคคลในครอบครัว เรื่องการดูแล สุขภาพกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมของมารดาขณะตั้งครรภ์และ ทารกในครรภ์ เน้นการมีส่วนร่วมในการวางแผนการดูแลของ ครอบครัวและการดูแลต่อเนื่องถึงระดับชุมชน กลุ่มป่วย และเสี่ยง ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.2 (2) โรงพยาบาลมีการปรับระบบบริการอย่างไรที่แสดงให้เห็นถึงการ บริการแบบองค์รวม (L, I) (ต่อ)

ให้แสดงถึง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย การดำเนินงานส่งเสริม สุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ รวมถึง แผนติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการ ดำเนินงานและการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 5.3 การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ : โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไรในการส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ 40 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัด และการวัดผลการ ดำเนินการส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติที่ สำคัญอะไรบ้าง (A,D) **นำไปรายงานใน ข้อ7.3** (2) โรงพยาบาลมีการประเมิน (L) ระบบการให้บริการ ที่มี การบูรณาการ (I) งานส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายอย่างไร (3) โรงพยาบาลมีวิธีการนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับ กระบวนการ (L,I) ส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และ ญาติอย่างไร

ประสิทธิภาพ (Efficiency) : การประเมินการใช้ทรัพยากรในการดำเนินการใดๆ ก็ตาม โดยมีสิ่งมุ่งหวังถึงผลสำเร็จ และผลสำเร็จนั้นได้มาโดยการใช้ ทรัพยากรน้อยที่สุด และการดำเนินการเป็นไปอย่างประหยัด ไม่ ว่าจะเป็นระยะเวลา ทรัพยากร แรงงาน รวมทั้งสิ่งต่างๆ ที่ต้องใช้ ในการดำเนินการนั้นๆ ให้เป็นผลสำเร็จ และถูกต้อง ประสิทธิผล (Effective) : การประเมินว่ากระบวนการหรือมาตรการที่ใช้สามารถ ตอบสนองเจตจำนงที่ตั้งไว้ได้ดีเพียงใด การประเมินประสิทธิผล ต้องประเมินว่า (1) แนวทางนั้นมีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน กับความต้องการขององค์กร และองค์กรสามารถถ่ายทอดเพื่อนำ แนวทางสู่การปฏิบัติได้ดีเพียงใด (2) ประเมินผลลัพธ์ของมาตรการที่ใช้ คำอธิบายศัพท์

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.3 (1) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัด และการวัดผลการดำเนินการ ส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติที่สำคัญอะไรบ้าง (A,D) **นำไปรายงานใน ข้อ7.3** โรงพยาบาลนำนโยบายและตัวชี้วัดของกระทรวง กรม และของจังหวัด มา กำหนดเป็นตัวชี้วัดหลักของโรงพยาบาล โดยเน้นประเด็นตัวชี้วัดที่เป็น ปัญหาสำคัญของพื้นที่และของโรงพยาบาล ซึ่งตัวชี้วัดดังกล่าวมีทั้งด้าน พฤติกรรมสุขภาพและด้านสภาวะสุขภาพ ตัวอย่างเช่น.. ตัวชี้วัดที่สำคัญในการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ซึ่งเป็นผู้รับบริการ กลุ่มดี ได้แก่ อัตราการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์, อัตราการฝากครรภ์ ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน อัตราการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กแรกเกิด - 6 ปี อัตราตายของ มารดาที่ตั้งครรภ์ อัตราตายปริกำเนิด อัตราตายทารก อัตรามารดาอายุต่ำ กว่า 20 ปี อัตราการเกิดภาวะ Birth Asphyxia อัตราทารกแรกเกิดน้า หนักน้อยกว่า 2,500 กรัม และอัตราเด็กแรกเกิดถึง 5 ปีมีพัฒนาการสมวัย เป็นต้น

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.3 (1) โรงพยาบาลมีการกำหนดตัวชี้วัด และการวัดผลการดำเนินการ ส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติที่สำคัญอะไรบ้าง (A,D) **นำไปรายงานใน ข้อ7.3** - ตัวชี้วัดที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นผู้รับบริการกลุ่ม ป่วย ได้แก่ อัตราของผู้ป่วย DM ที่สามารถเลือกรับประทานอาหารได้ เหมาะสม, อัตราของผู้ป่วยDM ที่สามารถออกกำลังกายได้เหมาะสม 30 นาที/ครั้ง อย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์, อัตราผู้ป่วย DMที่สามารถตรวจ และดูแลเท้าด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง, อัตราผู้ป่วยDM ที่สามารถฉีด ยาด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง, อัตราผู้ป่วยDM ที่สามารถควบคุมระดับ น้ำตาลได้ในระดับที่เหมาะสม (FBS ไม่เกิน 70–130 mg/dl), อัตรา ผู้ป่วย DM ที่มีค่า HbA1c ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 7%, อัตราผู้ป่วย DM ที่มี ค่า LDL ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 100 mg/dl, อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน เรื้อรังในผู้ป่วยDMทางตา, อัตราผู้ป่วยDMที่ได้รับการตัดนิ้วเท้า เท้า หรือขา, อัตราการadmittedจากภาวะแทรกซ้อนระยะสั้นของ DM (Hypo/hyper), อัตราการ Re-admitted ด้วยโรค DM หรือ ภาวะแทรกซ้อน DM เป็นต้น

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.3 (2) โรงพยาบาลมีการประเมิน (L) ระบบการให้บริการ ที่มีการบูรณา การ (I) งานส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และ ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายอย่างไร โรงพยาบาลใช้กรอบของการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล และ มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ เป็นแนวทางในการ ประเมินการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งกำลังดำเนินการให้ เกิดความชัดเจน มีความเชื่อมโยงกับทุกหน่วยงานทั้งใน โรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาล มีการประเมินผลลัพธ์ของการ ให้บริการในผู้รับบริการแต่ละกลุ่มเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมาย ของโรงพยาบาลในแต่ละปี และวิเคราะห์แนวโน้มเปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลัง (บางเรื่องอยู่ระหว่างดำเนินการหาคู่เทียบจาก โรงพยาบาลใกล้เคียง) เพื่อหาโอกาสพัฒนางานให้ดียิ่งขึ้น และ เป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ

ตัวอย่าง ร.พ.สมมติ 5.3 (3) โรงพยาบาลมีวิธีการนำผลการประเมินไปใช้ในการ ปรับกระบวนการ (L,I) ส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติอย่างไร ผลการประเมินที่ได้นำไปปรับระบบการให้บริการการ ส่งเสริมสุขภาพ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ … เช่น ผู้ป่วย เบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสม (FBS ไม่เกิน 70–130 mg/dl) ได้ เมื่อ วิเคราะห์สืบค้นสาเหตุ พบว่า ผู้ป่วยมีอาการตามัว ทำ ให้ปริมาณยาที่ฉีดมีความคลาดเคลื่อน นำสู่การปรับ ระบบบริการ โดยให้ญาติมีส่วนร่วมรับรู้ความสามารถ ของผู้ป่วยและช่วยฉีดยาให้ผู้ป่วยแทน เป็นต้น....

7.3 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัว และญาติ : ผลการดำเนินงานการส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติเป็นอย่างไร แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ ผลลัพธ์การส่งเสริมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและ ญาติ **เชื่อมโยงกับ 5.3 (1)** 65 คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านการส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ โดยแสดงผลลัพธ์ ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพ รวมทั้งแสดงให้เห็น ระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เหมาะสม สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านการส่งเสริมสุขภาพ ผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ โดยแสดงผลลัพธ์ ด้านพฤติกรรมสุขภาพ และภาวะสุขภาพ รวมทั้งแสดงให้เห็น ระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เหมาะสม

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ 7.3 (1) เป็นการแสดงผลลัพธ์ของ โรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 5 และผลลัพธ์ที่ควร รายงานเพิ่มเติม ได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ - พฤติกรรมสุขภาพในแต่ละกลุ่ม (กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย) เช่น การบริโภค หรือการออกกำลังกาย - Exclusive Breast Feeding - การสูบบุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ภาวะสุขภาพผู้รับบริการ ครอบครัวและญาติ - Low Birth weight - พัฒนาการสมวัย - อัตราการป่วยซ้ำ - อัตราการเกิดโรคแทรกซ้อน - ไขมันในเลือด ความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด - ภาวะโภชนาการ BMI/รอบเอว

แนวทางการให้คะแนน องค์ประกอบที่ 7 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน - มีการรายงานผลการดำเนินการที่ ตอบสนองต่อข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อและ ผลอยู่ในระดับที่ดี (Le) - แสดงถึงแนวโน้มที่ดีอย่างชัดเจนในเรื่อง ต่างๆ ที่มีความสำคัญต่อการบรรลุพันธกิจของ โรงพยาบาล (T) - ผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องอยู่ใน ระดับที่ดี เมื่อเทียบเคียงกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม (C) - มีการรายงานผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อปัญหา และความต้องการของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว ญาติ ชุมชน และกระบวนการเป็น ส่วนใหญ่ (I)

องค์ประกอบที่ 6 และ 7.4 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน และผลลัพธ์การดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ (HPHNQC)

องค์ประกอบที่ 6 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน องค์ประกอบที่ 6 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน 150 คะแนน 6.1 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน : โรงพยาบาลมี วิธีการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างไร 6.1 การส่งเสริมสุขภาพในชุมชน : โรงพยาบาลมี วิธีการส่งเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างไร ให้อธิบายวิธีการวางระบบส่งเสริมสุขภาพในชุมชน โดยเน้น การสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างโรงพยาบาล ภาคีเครือข่าย ภาครัฐ ภาคเอกชน องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และ ประชาชนในชุมชน 70 คะแนน

โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีการวางระบบบริการส่งเสริมสุขภาพ จาก โรงพยาบาล ลงสู่ชุมชนที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นๆ (A) อย่างไรที่สอดคล้อง(I)กับปัญหาและความต้องการ ของ ชุมชน (2) โรงพยาบาล ภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมีการ ดำเนินการ อย่างไร(D)ในการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

ตัวอย่างองค์ประกอบ 6.1 (1) โรงพยาบาลมีการวางระบบบริการส่งเสริมสุขภาพ จาก โรงพยาบาล ลงสู่ชุมชนที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นๆ (A) อย่างไรที่สอดคล้อง(I)กับปัญหาและความต้องการ ของชุมชน โรงพยาบาลได้มีการวางระบบบริการส่งเสริมสุขภาพ จากโรงพยาบาลลงสู่ชุมชน ด้วยการวิเคราะห์ความต้องการ และปัญหาของชุมชนโดยใช้ข้อมูลจากการติดตามเยี่ยม ประเมินสภาวะสุขภาพครอบครัวและพฤติกรรมสุขภาพใน ชุมชน มีการรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เสียงสะท้อนจาก ชุมชน จากการสำรวจความพึงพอใจ จากการประชุมกลุ่มผู้นำ ชุมชน อสม และการรับฟังความคิดเห็น ในรูปแบบที่เป็น ทางการและไม่เป็นทางการ ทั้งนี้ได้นำข้อมูลมาจัดทำกิจกรรม ส่งเสริมสุขภาพให้สอดคล้องกับปัญหา ความต้องการของ ชุมชน และเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่

(2) โรงพยาบาล ภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมีการ ดำเนินการ อย่างไร(D)ในการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในชุมชน ตัวอย่างองค์ประกอบ 6.1(ต่อ) โรงพยาบาล ภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนมีการบูรณาการงานส่งเสริม สุขภาพในชุมชน ด้วยการวิเคราะห์ชุมชน วินิจฉัยชุมชน และจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดแผนงาน โครงการ ในการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน โดยการมีส่วน ร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องจากภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและตัวแทนจากภาคประชาชน ค้นหาศักยภาพ ของชุมชนในพื้นที่ หาจุดแข็ง จุดอ่อนของชุมชน โดยมี เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบชุมชน ร่วมศึกษาและตั้งเป้าหมาย ร่วมกัน

6.2 การสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง : โรงพยาบาลมี วิธีการสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง อย่างไร ให้อธิบายถึงการสนับสนุน ส่งเสริมให้ชุมชนเกิดการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและ ภาคีเครือข่ายต่างๆ โดยตอบคำถามต่อไปนี้ (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร (A) ที่สนับสนุน(D)ให้ชุมชนมี ฐานข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในชุมชนที่ เป็นปัจจุบัน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้(L,I) (2) โรงพยาบาลมีแนวทางอย่างไร(A)ในการสนับสนุนให้เกิดแผนงาน ส่งเสริมสุขภาพ ถ่ายทอดนำสู่การปฏิบัติ(D) และประเมินผลการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ (L) โดยชุมชนมีส่วนร่วมทุก ขั้นตอน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน (I) 80 คะแนน

ตัวอย่างองค์ประกอบ 6.2 (1) โรงพยาบาลมีวิธีการอย่างไร (A) ที่สนับสนุน(D)ให้ชุมชน มี ฐานข้อมูลด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ในชุมชนที่เป็นปัจจุบัน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้(L,I) โรงพยาบาลใช้วิธีการสำรวจข้อมูลโดยใช้ Family Folder ทุกครัวเรือน ร่วมกับ อสม. ลงวินิจฉัยชุมชน ตรวจคัดกรองประชาชนทุกกลุ่มอายุ อาทิ กลุ่มผู้มีอายุ 20 ปีขึ้นไป สำรวจประเมินพฤติกรรมสุขภาพ (3 อ.2ส.) กลุ่มผู้มี อายุ 35 ปีขึ้นไป ค้นหาโรคเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาและพบมากในพื้นที่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็งปากมดลูกฯ กลุ่มแม่และเด็ก ค้นหา หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ สำรวจพัฒนาการและภาวะทุพโภชนาการกลุ่มเด็ก ปฐมวัย เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีข้อมูลจากการทำประชาคมหมู่บ้าน การตรวจ เยี่ยมประเมินภาวะสุขภาพคอบครัวและพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน หลังจาก นั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพแบ่งกลุ่มประชาชนเป็น กลุ่มปกติ มีสุขภาพดี กลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค กลุ่มที่ป่วยด้วยโรคและกลุ่มด้อยโอกาส (ผู้พิการ สุขภาพจิต)เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพให้ตรงกลุ่ม รวมทั้งประสานองค์ท้องถิ่น เทศบาล แกนนำชุมชน อสม. มีส่วนเพื่อร่วมพลัง ผลักดันให้ชุมชนปฏิบัติจริง

ตัวอย่างองค์ประกอบ 6.2(ต่อ) โรงพยาบาลใช้กลไกการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน การทำประชาคม การระดมความคิดเห็น วิเคราะห์หา จุดอ่อน จุดแข็ง ค้นหาต้นทุนของสังคม และมีการกำหนดเป้าหมายร่วมกัน โดยการรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นชมรมต่างๆ การมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพื่อกำหนดแผนงาน โครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาในแต่ละ หมู่บ้าน รวมทั้งการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชนให้กินดี อยู่ ดี จัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มี อยู่มาใช้เพื่อให้เป็นชุมชนที่เข้มแข็ง อาทิ โครงการส่งเสริมสุขภาพดูแล ภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี โครงการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ หลังคลอด และการดูแลป้องกันโรคด้วยวัคซีนในเด็ก0-5 ปี โครงการลดอุบัติเหตุเพื่อ ลดความเสี่ยงต่อความพิการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ฯลฯ (2) โรงพยาบาลมีแนวทางอย่างไร(A)ในการสนับสนุนให้ เกิดแผนงาน ส่งเสริมสุขภาพ ถ่ายทอดนำสู่การปฏิบัติ(D) และประเมินผลการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ (L) โดย ชุมชนมีส่วนร่วมทุก ขั้นตอน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและ ยั่งยืน (I)

7.4 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน : การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน เป็นอย่างไร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน : การดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน เป็นอย่างไร แสดงข้อมูลและสารสนเทศต่อไปนี้ (1) ผลลัพธ์ด้านการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน (2) ผลลัพธ์ด้านความเข้มแข็งของชุมชน 60คะแนน สรุปผลการดำเนินงานที่สำคัญด้านการส่งเสริมสุขภาพใน ชุมชนและการสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็งโดย แสดง ผลลัพธ์จำแนกในแต่ละด้าน รวมทั้งแสดงให้เห็นระดับ แนวโน้ม และการเปรียบเทียบที่เหมาะสม

หมายเหตุ ผลลัพธ์ที่รายงานในหัวข้อ7.4 (1) – (2) เป็นการแสดงผลลัพธ์ ของโรงพยาบาล ตามตัวชี้วัดในองค์ประกอบที่ 6 และผลลัพธ์ที่ควร รายงานเพิ่มเติม ได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพของคนในชุมชน - การสูบบุหรี่ และการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - การออกกำลังกาย - พฤติกรรมการบริโภค ปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน - DM/HT - ไข้เลือดออก - ภาวะอ้วน การสร้างเสริมชุมชนให้เข้มแข็ง - ข้อมูลของชุมชนที่เชื่อถือได้ - ชมรมสร้างเสริมสุขภาพ - การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ - มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพในชุมชน

แนวทางการให้คะแนน องค์ประกอบที่ 7 50%, 55% 60% หรือ 65% คะแนน - มีการรายงานผลการดำเนินการที่ตอบสนองต่อ ข้อกำหนดโดยรวมของหัวข้อและผลอยู่ในระดับที่ดี (Le) - แสดงถึงแนวโน้มที่ดีอย่างชัดเจนในเรื่องต่างๆ ที่ มีความสำคัญต่อการบรรลุพันธกิจของโรงพยาบาล (T) - ผลการดำเนินการในปัจจุบันบางเรื่องอยู่ในระดับ ที่ดี เมื่อเทียบเคียงกับตัวเปรียบเทียบ และ/หรือ ระดับเทียบเคียงที่เหมาะสม (C) - มีการรายงานผลลัพธ์ที่ตอบสนองต่อปัญหาและ ความต้องการของบุคลากร ผู้รับบริการ ครอบครัว ญาติ ชุมชน และกระบวนการเป็นส่วนใหญ่ (I)