การแข่งขันทาง การตลาด และตัวแปรทาง เศรษฐกิจ
การแข่งขันทางการตลาด (Competition) พฤติกรรมของผู้บริโภคไทยได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ในช่วง 7 ปีที่ผ่านมา อิทธิพลของสื่อ ก็มีบทบาทสำคัญต่อการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภคด้วย เนื่องจากเป็นตัวช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ระหว่างนักการตลาดและ ผู้บริโภค Lifestyle จึงกลายมาเป็นปัจจัยสำคัญของการ กำหนดทิศทางการตลาด "Lifestyle Marketing" คือ การที่นักการตลาด นำวิถีชีวิตของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายมา ประยุกต์ใช้เป็นกลยุทธ์ทางการตลาด โดย การศึกษาในเชิงพฤติกรรมของผู้บริโภค
กลยุทธ์การ แข่งขัน ความสามารถในการแข่งขันทาง การตลาด มี 2 อย่าง คือ 1.Overall Cost Leadership 2.Differentiation 2.1 Different in Service 2.2 Different in Product
1.Overall Cost Leadership หมายถึง เป็นผู้นำทางด้านต้นทุน บริหาร ต้นทุนได้อย่างยอดเยี่ยม ทำให้ต้นทุน หากธุรกิจต้นทุนต่ำ ก็จะส่งผลให้กำไร สูงขึ้นกว่าธุรกิจที่ต้นทุนสูง แม้ว่าต้นทุนเรา ต่ำ ก็ไม่ได้หมายความว่าคุณภาพสินค้าจะ ต่ำ หรือราคาขายสินค้าจะต่ำไปด้วย การ ที่ต้นทุนต่ำ เกิดจากการทุก ๆ หน่วย ขององค์กรมีการปฏิบัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีเป้าหมาย ไปในทางเดียวกัน ที่จะช่วยกันดูแลให้ ต้นทุนการผลิตต่ำ
2.1 Different in Service การสร้างความแตกต่างให้กับบริการ เป็นผู้นำ ด้านการบริการ เยี่ยมยอดด้านความแตกต่าง แต่ ความแตกต่างนั้นก็ต้องเป็นไปในทางที่ดี ใน ทางบวก ให้ลูกค้าโดนใจ “ ความพึงพอใจ ของลูกค้าคือหัวใจห้องแรก.... บริการที่ดีคือ หัวใจห้องที่สอง.... ความสะดวกคือ หัวใจ ห้องที่สาม... ยอดเยี่ยม คือ หัวใจห้องที่สี่ ” มีนักการตลาดและ R&D ที่เก่ง ๆ ชนะได้เพราะ การยอมรับด้านความแตกต่างจากคู่แข่ง ข้อมูล ของคู่แข่งคือสิ่งที่สำคัญเอาชนะกันด้วยความ แตกต่าง เนื่องจากถ้าสินค้าเหมือนกัน เราก็ต้อง มาแข่งกันที่ราคาเพื่อดึงดูดลูกค้า และก็จะเจ็บ ตัวทั้งสองฝ่าย
2.2 Different in Product การสร้างความแตกต่าง ให้แก่สินค้า เป็นผู้นำด้านสินค้าที่แปลกใหม่และ แตกต่าง ยิ่งไม่มีใครเคยเห็น ยิ่งโดนใจลูกค้า “ สินค้าใหม่คือหัวใจห้องแรก.... สินค้าที่ดีคือ หัวใจห้องที่สอง.... ความสะดวก คือ หัวใจห้อง ที่สาม.... เจ๋งสุดสุด คือหัวใจห้องที่สี่ ” มีนักการตลาดและ R&D ที่เก่ง ๆ ชนะได้เพราะ การยอมรับด้านความแตกต่างจากผู้บริโภค ทีมงานมีความคิดสร้างสรรค์ โจทย์คือ ความ แตกต่างและมีประโยชน์ ข้อมูลสินค้าคู่แข่งมี ความสำคัญ
6 กลยุทธ์การตลาด เพื่อความ ได้เปรียบในการแข่งขัน 1. เมื่อความพิเศษเป็นสิ่งที่ลูกค้าต้องการ การตลาด ต้องเป็นแบบตัวต่อตัว (One-to-One Marketing) นั่นคือ การทำให้ลูกค้ารู้สึกว่า “ เรารู้จักเขาเป็นพิเศษจริง ๆ 2. อยากเข้าให้ถึงตลาดเป้าหมาย ต้องรู้จักทั้ง กายภาพและจิตใจ ประเด็นนี้คือ การเริ่มต้นตั้งเป้าหมายทางการตลาดไว้ ก่อนว่า จะเลือกตลาดไหนในการแข่งขัน 3. ต้องมีนวัตกรรม ทั้งด้านสินค้าและบริการ 4. ความภักดีและรู้คุณค่าของลูกค้า (customer Loyalty & Life Long Value) 5. มุ่งปัจเจกบุคคล (Focus on the Individual) 6. การตลาดอิเล็คทรอนิกส์ (Online Marketing)
ตัวแปรทางเศรษฐกิจที่สำคัญที่จะต้องติดตาม (Key economic variables to be monitored) 1. การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ (Changing economy) 2. ความสามารถในการจัดหาสินเชื่อ (Availablity of credit) 3. ระดับของรายได้บุคคล (propensity of credit) 4. อำนาจในการใช้จ่ายของบุคคล (Propensity of people to spend) 5. อัตราดอกเบี้ย (Interest rates) 6. อัตราเงินเฟ้อ (Inflation rates) 7. การประหยัดจากขนาดของการผลิต (Economies of scale) 8. อัตราดอกเบี้ยของตลาดเงิน (Money market rates) 9. งบประมาณขาดดุลของรัฐบาล (Federal government budget feficits) 10. แนวโน้มผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (Gross national product trend) 11. รูปแบบการบริโภค (Consumption patterns)
12. แนวโน้มการว่างงาน (Unemployment trends) 13. ระดับผลผลิตของแรงงาน (Worker productivity levels) 14. ค่าของเงินบาทและดอลล่าร์ในตลาดโลก (Value of the bath and dollar in world markets) 15. แนวโน้มของตลากหลักทรัพย์ (Srock market trends) 16. สภาพเศรษฐกิจของต่างประเทศ (Foreign countrie's econmic conditions) 17. ปัจจัยนำเข้าและส่งออก (Import/export factors) 18. การเปลี่ยนแปลงความต้องการซื้อสำหรับสินค้าและ บริการประเภทต่าง ๆ (Demand shifts for different categories of goods and services) 19. ความแตกต่างของรายได้ในภาคค่าง ๆ และกลุ่มผุ้ บริโภค (Income difference by region and consumer groups) 20. การเคลื่อนไหวของราคาสินค้า (Price fluctuations)
21. การส่งออกแรงงาน และเงินทุนเข้าในประเทศ หรือออก ต่างประเทศ (Exportation of labor and capital from the U.S.) 22. นโยบายการเงิน (monetary policies) 23. นโยบายการคลัง (Fiscal policies) 24. อัตราภาษี (Tax rates) 25. นโยบายการรวมตัวทางเศรษฐกิจของยุโรป (European Economic Community (ECC) policies) 26. นโยบายของกลุ่มประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน (Organization of Petroleum Exporting Countries (OPEC) policies) 27. การรวมกันของนโยบายประเทศที่ด้อยพัฒนา (Coalitions of Lesser Developed Countries (LDC) policies)
นักออกแบบบรรจุภัณฑ์... นอกจากจะต้องเข้าใจเรื่องการ ออกแบบและการผลิต มีความจำเป็นอย่างมากที่จะต้อง เข้าใจเข้าถึงกลยุทธ์การแข่งขัน ทางการตลาด โดยอาจจะทำงาน ร่วมกับฝ่ายการตลาด หรือติดตาม สถานการณ์ต่างๆ ด้วยตนเอง “ ต้องรู้บางสิ่งในบางอย่าง.... รู้บางอย่างในบางสิ่ง ”
Color Trend
Packaging Design Trend