สิทธิประโยชน์และ ผลกระทบของคน เชียงราย ได้อะไรจากเส้นทาง R3A
สิทธิประโยชน์และ ผลกระทบของจังหวัด เชียงรายในระเบียง เศรษฐกิจเหนือไต้ บน เส้นทาง R3A ภายใต้ โครงการจัดทำแผนปฏิบัติ งานแบบบูรณาการของ จังหวัดเชียงราย
ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนล่าง ลำปาง น่าน ลำพูน แม่ฮ่องสอน พะเยา แพร่ เชียงใหม่ ตาก เชียงราย เพชรบูรณ์ กำแพงเพชร อุทัยธานี สุโขทัย อุตรดิตถ์ พิจิตร นครสวรรค์ พิษณุโลก ลาว Laos พม่า Myanmar เชียง ของ แม่สอดมุกดาห าร ลาว ไต้หวัน จีน สิงคโปร์ พม่า บังคลาเทศ กัมพูชา เชียง แสน แม่สาย ห้วย โก๋น
ปากแบ่ง หลวงพระบาง ไซยะบุลี เมืองไซ หลวงน้ำทา บ่อเต็น เมืองลา จิงหง เชียง ตุง ต้าหลั่ว ท่าขี้เหล็ก แม่สาย เชียงของ เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา น่าน สปป. ลาว ( ยูนนาน ) จีน พม่า เชียงแสน เวียงภูคา ห้วยทราย ห้วยโก๋น ความเชื่อมโยงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษกับประเทศเพื่อน GMS แม่สาย - ท่า ขี้เหล็ก - เชียงตุง - เชียงรุ่ง ปัจจุบันใช้ใน การคมนาคมได้ และสะพานข้าม แม่น้ำสายแห่งที่ 2 จะแล้วเสร็จ มีนาคม 2547 เชียงของ - ห้วยทราย - หลวง น้ำทา - บ่อเต้น - คุนหมิง ห้วย ทราย - บ่อเต้น 250 กม. ไทย - ADB- จีนให้ความช่วยเหลือเป็น เงินกู้เงื่อนไขผ่อนปรนฝ่ายละ 1 ใน 3 แก่ลาว โดยไทยให้ 1,385 ล้าน ก่อสร้าง ห้วยโก๋น - ปากแบ่ง - หลวง น้ำทา - เชียงรุ่ง ไทยให้ความช่วยเหลือเป็น เงินให้เปล่าและเงินกู้ ดอกเบี้ยต่ำวงเงิน 840 ล้าน เริ่มก่อสร้างกลางปี 2547 แล้วเสร็จปี 2549 การเดินเรือทางลำน้ำโขง ปัจจุบันดำเนินการปรับปรุงระยะที่ 1 แล้ว 10 จุด สามารถเดินเรือ 150 ตันได้ เหลือ เพียง 1 จุด ในน่านน้ำไทย - ลาว ซึ่งชะลอไว้ เนื่องจากปัญหาเขตแดน และ ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมซึ่ง สผ. อยู่ระหว่างศึกษา
เมาะละแหม่ง ย่างกุ้ง พะ โค ลาว มัณฑะเลย์ จีน คุนหมิง วินห์ ดองฮา ดานัง พนมเปญ โฮจิมินห์ซิตี้ ไฮฟอง ทะเลจีนใต้ อ่าวไทย ทะเลอันดามัน เวียดนาม ฮานอย อรัญประเทศ กัม พูช า เชียงตุง หลวงพระบาง พิษณุโลก มุกดาหาร เชียงรุ่ง ขอนแก่น พม่า เวียงจันทน์ ปากแบ่ง กรุงเทพ สะหวันนะเขต บ่อเต็น แม่สอด ตาก การเชื่อมโยงฐานการ ผลิตในประเทศ เขตเศรษฐกิจ ชายแดน ศูนย์กลางการ พัฒนาประเทศ แนวพัฒนา เหนือ - ใต้ แนวพัฒนา ตะวันออก - ตะวันตก ระนอง
ท่องเที่ยว หัตถกรรม
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด เชียงราย ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาขีด ความสามารถในการแข่งขันด้าน การค้า การลงทุนการเป็น ศูนย์กลางคมนาคม การท่องเที่ยว และวิถีการผลิตการเกษตรยั่งยืน เชื่อโยงกับกลุ่มประเทศ GMS และ ASEAN
การค้า : เพิ่มมูลค่าการค้าชายแดน เพิ่ม โอกาสการส่งออกสินค้าทั้งสินค้าเกษตร และสินค้าอุปโภคบริโภคไปเพื่อนบ้านและ อาเซียน ท่องเที่ยว : พัฒนาเป็นประตูเปิดด้านการ ท่องเที่ยวเชียงราย เชื่อมโยงประเทศเพื่อน บ้านและอาเซียน การเกษตร : นำเข้าผลผลิตเกษตรจาก พม่า ลาว จีน ส่งเสริมภาคเอกชนทำ Contract Farming เป็นวัตถุดิบให้ ภาคอุตสาหกรรมสู่ประเทศ GMS และ ASEAN อุตสาหกรรม : พัฒนาเป็นเขตลงทุน อุตสาหกรรมใหม่ของประเทศเชื่อมโยง ไทยกับเพื่อนบ้านและอาเซียน สิทธิประโยชน์ที่น่าสนใจ
สิทธิประโยชน์ภาษี / ไม่ใช่ภาษี สิทธิประโยชน์ภาษี / ไม่ใช่ภาษี One Stop Service เขตนิคม อุตสาหกรรมและชายแดน One Stop Service เขตนิคม อุตสาหกรรมและชายแดน การอำนวยความสะดวกการทำธุรกรรม เงินตราต่างประเทศ การอำนวยความสะดวกการทำธุรกรรม เงินตราต่างประเทศ การผ่อนปรนใช้แรงงานต่างด้าว การผ่อนปรนใช้แรงงานต่างด้าว ประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อน บ้านและ ประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อน บ้านและ ประชาสัมพันธ์เพื่อเชิญชวนนักลงทุน จากประเทศที่ 3 ประชาสัมพันธ์เพื่อเชิญชวนนักลงทุน จากประเทศที่ 3 สิทธิประโยชน์/มาตรการสนับสนุน
ด้านทรัพยากรมนุษย์ 1) โครงสร้างประชากร - ประชากรในพื้นที่เข้าสู่ตลาดแรงงาน ต่ำลง - ภาระจากผู้สูงอายุมีมากขึ้น - ภาวะประชากรต่างชาติเข้ามาสู่ ตลาดแรงงานมากขึ้น 2) การเร่งพัฒนาแรงงานใหม่เข้าสู่ ฐานเศรษฐกิจใหม่ที่มีอนาคต - ICT ธุรกิจสุขภาพ - ICT การค้าระบบออนไลน์ - แรงงานคนไทยที่สื่อสาร ภาษาต่างประเทศได้อย่างดี ประเด็นท้าทายของจังหวัด เชียงราย
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ 1) การพึ่งพาและใช้ ทรัพยากรธรรมชาติในการผลิต 2) การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ด้านเศรษฐกิจ 1) ความพร้อมการเตรียมการรองรับการ แข่งขัน การค้าเสรีและการค้าชายแดน - กลุ่มทุนใหม่ กลุ่มทุนแฝง 2) การยกระดับการพัฒนา - ฐานเศรษฐกิจของภาคเดิม การค้า ท่องเที่ยว เกษตร SMEs - มุ่งสู่ฐานเศรษฐกิจใหม่เพื่อการ แข่งขันที่มีโอกาส เช่น Software ธุรกิจสุขภาพ การค้า เขตการค้าพิเศษ จังหวัดจัดการตนเอง ประเด็นปัญหาท้าทาย
ด้านสังคม 1) การเป็นแหล่งพักและเส้นทางผ่าน ของยาเสพติด และอาชญากรรมข้าม ชาติ 2) การแก้ปัญหาความยากจน - ความแตกต่างรายได้ภาคเกษตร และนอกภาคเกษตร - ความยากจนในชนบทห่างไกล การกลายกลืนวัฒนธรรมและตาม กระแสโลกาภิวัตน์ โรคอุบัติใหม่ และโรคที่สูญหายไป กลับเข้ามาโดยไม่รู้ตัว