เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ลักษณะของตลาด พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้ผลิต ดุลยภาพในระยะสั้นและระยะยาว การกำหนดราคาสินค้า ประสิทธิภาพของตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ตัวอย่าง
ลักษณะของตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ มีผู้บริโภคและผู้ผลิตอยู่ในจำนวนมาก ไม่มีผู้ใดมีอำนาจในการกำหนดราคาสินค้าได้ ผู้ผลิตแต่ละรายมีข้อมูลด้านการผลิตเหมือนกัน แต่ต้นทุนการผลิตแตกต่างกันได้ ความสามารถในการบริหารเป็นสาเหตุหนึ่งของความแตกต่าง ความแตกต่างของต้นทุนเสียโอกาส สินค้าของผู้ผลิตแต่ละรายเหมือนกัน อิสระในการเข้าออกจากตลาด Lecture 12 1_49 17/8/49
อุปทานระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ให้ราคาตลาดเท่ากับ P1 จะผลิตหรือไม่ จะใช้โรงงานขนาดใดจึงได้กำไรสูงสุด? เส้น LMC จากจุดต่ำสุดของ LAC คืออุปทานระยะยาว
อุปทานระยะสั้น เมื่อสร้างโรงงาน SAC1 ก็ต้องผลิตจากโรงงานนี้ในระยะสั้น ถ้าราคาตลาดเท่ากับ P1 จะผลิตในปริมาณเท่าใด ถ้าราคาเท่ากับ P1* P2 ? เส้น SMC1 จากจุดต่ำสุดของ SAVC1 คืออุปทานระยะสั้น
อุปทานฉับพลัน อุปทานระยะสั้น และอุปทานระยะยาว อุปทานฉับพลัน อุปทานระยะสั้น และอุปทานระยะยาว
ดุลยภาพในระยะสั้น ราคาตลาด P1ทำให้ผู้ผลิตมีกำไรส่วนเกิน การผลิตอยู่ในช่วงที่ 2 ดึงดูดให้ผู้ผลิตรายใหม่เข้ามาในตลาด
ความแตกต่างในต้นทุนการผลิตระหว่างผู้ผลิต ผู้ผลิตเกรดบีสามารถอยู่ได้ในระยะสั้น อยู่ไม่ได้ถ้าราคาต่ำกว่า P*
ดุลยภาพในระยะยาว เมื่อราคาปัจจัยการผลิตไม่ขึ้นอยู่กับจำนวนผู้ผลิต(constant cost) เมื่อมีกำไรส่วนเกินหรือขาดทุน จะมีการปรับในจำนวนผู้ผลิต และขนาดโรงงานจนทำให้ ราคาเท่ากับ Po และขนาดของโรงงานคือ SACo ทำให้ผู้ผลิตมีเพียงกำไรปกติเท่านั้น
เมื่อราคาปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นตามจำนวนผู้ผลิต(increasing cost) ราคาดุลยภาพระยะยาวจะสูงขึ้นตามจำนวนผู้ผลิตที่เข้ามาใหม่ การแย่งปัจจัยการผลิตทำให้ราคาปัจจัยการผลิตสูงขึ้น
เมื่อราคาปัจจัยการผลิตลดลงตามจำนวนผู้ผลิต(decreasing cost) ราคาดุลยภาพระยะยาวจะต่ำลงตามจำนวนผู้ผลิตที่เข้ามาใหม่ จำนวนผู้ผลิตที่เพิ่มขึ้นกระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าวิจัยในเทคโนโลยีการผลิต
การเปรียบเทียบแนวโน้มของราคาสินค้าในระยะยาว
ประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร ประโยชน์ของผู้บริโภค ส่วนเกินผู้บริโภค ประโยชน์ของผู้ผลิต กำไร ส่วนเกินผู้ผลิต กำไรที่ขึ้นอยู่กับปริมาณการผลิต กำไรที่ยังไม่ได้หักต้นทุนคงที่หรือกำไรจากการดำเนินการ
ส่วนเกินผู้ผลิต(producer surplus) ส่วนเกินผู้ผลิตที่ราคา OB = OBCD – OACD = ABC
ประโยชน์ของสังคมจากการซื้อขายสินค้า ประโยชน์สังคมเท่ากับ ABC Cs = P1BC PS = ABP1 P = MC หรือ marginal benefit = marginal cost ประโยชน์สูงสุด
ตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์กับแนวคิดมือที่มองไม่เห็น ผู้บริโภคแสวงหาความพอใจสูงสุด สะท้อนจากเส้นอุปสงค์ ผู้ผลิตแสวงหากำไรสูงสุด สะท้อนจากเส้นอุปทานหรือเส้น MC ทำให้สังคมได้รับความประโยชน์สูงสุดจากกลไกราคา ไม่ต้องมีการกำกับ
การแทรกแซงในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ทำให้ประโยชน์สังคมลดลง การเก็บภาษี ประโยชน์สังคมลดลงเท่ากับ BCG deadweight loss
ตัวอย่าง การควบคุมราคาก๊าซธรรมชาติ Supply: Qs = 15.90+0.72PG+0.05Po Demand: Qd = 0.02-1.8PG+0.69Po PG = ราคาก๊าซธรรมชาติ Po = ราคาน้ำมัน
การควบคุมราคาก๊าซธรรมชาติ
A= $70.04 billion B = $1.60 billion C = $4.08 billion ผู้บริโภคได้ A-B ผู้ผลิตเสีย A+C สังคมเสีย B+C
เทคโนโลยีการผลิตกับตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ ให้มีดุลยภาพระยะยาวที่ราคา Po ถ้ามีการเปลี่ยแปลงในเทคโนโลยี ทำให้ LAC* =LMC* ผู้ผลิตแต่ละรายจะขยายกำลังผลิตจนป้อนตลาดได้หมด ขัดแย้งกับตลาดแข่ง ขันอย่างสมบูรณ์